Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 35. social 1. 21001

35. social 1. 21001

Description: 35. social 1. 21001

Search

Read the Text Version

92 เกียรติใหจัดการประชุมสัมมนาหญาแฝกนานาชาติข้ึนท่ีจังหวัดเชียงราย เพ่ือเปนการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชในโอกาสท่ที รงครองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 50 ป แนวพระราชดํารเิ รื่องทฤษฎใี หม แนวพระราชดาํ รทิ ฤษฎใี หม มจี ุดมงุ หมายทจี่ ะใหเปน แนวปฏิบัติ สาํ หรบั เกษตรกรรายยอ ยทม่ี พี นื้ ทที่ ํากนิ จํากัด เพื่อใหเกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได โดยเฉพาะใหมีความ มัน่ คงในเรอ่ื งอาหาร คอื ใหสามารถผลิตขาวไดอ ยา งพอเพียงตอ การบรโิ ภค เหตุที่เรียกวาทฤษฎีใหมเพราะมี การบริหารจัดการแบงที่ดินแปลงเล็กออกเปนสัดสวนท่ีชัดเจน เพ่ือประโยชนสูงสุดของเกษตรกร ซึ่งไมเคยมีใครคิดมากอน มีการคํานวณโดยหลักวิชาการและมีการวางแผนท่ีสมบูรณแบบสําหรับเกษตร รายยอ ย ดงั นี้ การจัดสรรพืน้ ที่อยูอาศัยและที่ทํากิน ใหแบงพื้นท่ีออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10 ซ่ึงหมายถงึ พ้นื ท่ีสวนท่ี 1 ประมาณรอยละ 30 ใหขุด สระเก็บกักนํ้า เพื่อใชเก็บกักนํ้าฝนในฤดูฝน และใชเสริม การปลูกพชื ในฤดแู ลง ตลอดจนการเล้ยี งสัตวน้ําและพืชนํ้า ตา ง ๆ พน้ื ท่สี วนท่ี 2 ประมาณรอ ย 30 ใหป ลูกขาวในฤดูฝน เพ่ือใชเปนอาหารประจําวันสําหรับครอบครัวใหเพียงพอ ตลอดป เพ่ือตัดคาใชจายและสามารถพ่ึงตนเองได พื้นท่ี สวนท่ี 3 ประมาณรอยละ 30 ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพ่ือใชเปนอาหารประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย พ้ืนที่สวนที่ 4 ประมาณรอยละ 10 เปนท่ีอยอู าศัย เล้ยี งสัตวและโรงเรือนอน่ื ๆ โครงการสว นพระองคสวนจติ รลดา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงคนควาทดลองและวิจัยดานการเกษตรเปนโครงการสวนพระองคมาตั้งแต พ.ศ. 2505 ท่ีสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ทรงแบงโครงการสว นพระองคใ นสวนจติ รลดาเปน 2 แบบ คือ โครงการแบบไมใชธุรกิจ และ โครงการกึ่งธุรกิจ โครงการแบบไมใชธุรกิจ เกี่ยวของกับการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร โดยทรงใหความสําคัญกบั การเพ่มิ พนู คณุ ภาพชวี ิตของเกษตรกร ในระยะยาว เพ่ือใหเกษตรกรสามารถพึ่งตนเองไดทางดาน อาหาร และสนับสนุนใหมีรายไดเพิ่มขึ้นนอกเหนือจากรายได จากภา คเกษตร อีก ท้ังยัง เนนก ารพัฒน าและ อนุรัก ษ ทรัพยากรธรรมชาติดวย เชน นาขาวทดลอง การเลี้ยงปลานิล การผลิตแกสชีวภาพ หองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร เพ่ือใช ตรวจคุณภาพของผลิตภัณฑตาง ๆ ท่ีผลิตจากโครงการ สว นพระองคส วนจิตรลดา หอ งปฏิบตั ิการเพาะเล้ยี งเน้อื เยื่อพืชเพื่อขยายพันธุไม โครงการบําบัดนํ้าเสีย และ โครงการสาหรายเกลยี วทอง ซงึ่ นํามาผลิตเปนอาหารปลา

93 สว นโครงการก่ึงธุรกิจ ซ่ึงเปนโครงการท่ีมีการจําหนายผลิตภัณฑในราคายอมเยาว โดยไมหวังผล กําไรอันเปนที่รูจักกันโดยท่ัวไป เชน โรงโคนมสวนจิตรลดา โรงนมผงสวนดุสิต ศูนยรวมนมสวนจิตรลดา โรงสขี า วตวั อยา งสวนจติ รลดา โรงนมเมด็ สวนดุสิต โรงเนยแขง็ โรงกล่ันแอลกอฮอล โรงเพาะเหด็ โรงนํา้ ผลไม กระปอง โครงการตาง ๆ เหลานี้เนนการนําทรัพยากรธรรมชาติและปจจัยทางการเกษตรที่มีอยูมาใชอยาง ประหยดั และเนนประโยชนสูงสดุ เพอื่ นาํ ผลการทดลองออกเผยแพรเ พื่อเปน ตวั อยางแกเ กษตรกร โครงการหลวง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงกอต้ังโครงการหลวงข้ึน โดยเริ่มจากการเสด็จพระราชดําเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน และได ทอดพระเนตรความเปน อยูของชาวเขาทม่ี ีฐานะยากจน ปลูกฝน และทําลายปาไม ตนนํ้าลําธาร จึงทรงริเริ่ม สงเสริมการเกษตรแกชาวเขาโดยพระราชทานพันธุพืช พันธุสัต ว เพื่อ ทดแทน การปลู กฝน ใ น พ.ศ. 251 2 ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหกอ ตั้งโครงการสวนพระองคข้ึน ชื่อโครงการพระบรมราชานุเคราะหชาวเขา ซึ่งตอมา เปลีย่ นเปนโครงการหลวงพัฒนาชาวเขา โครงการหลวงไดให ทุนสนับสนุนนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม หนวยราชการตาง ๆ ใหทําการวิจัย จํานวนมาก โครงการวจิ ัยตาง ๆ ลวนเกี่ยวของกับการเกษตร เชน โครงการวิจัยไมผล โครงการวจิ ัยพชื ผัก โครงการวจิ ัยไมดอกไมประดับ โครงการวิจัยพืชไร โครงการวิจัย ศัตรูพืช โครงการวิจัยงานเล้ียงสัตว โครงการวิจัยงานขยายพันธุพืช นอกจากการวิจัยแลว โครงการหลวง ยังขยายผลไปสกู ารปฏิบัติโดยชกั ชวนเกษตรกรชาวเขาเขา มารวมมือดาํ เนินการเชิงการคา พรอมไปกับงานวิจัย ปญหาตาง ๆ ท่เี กดิ ข้ึนในแปลงเกษตรไดร บั การแกไ ขเพ่มิ เติมติดตอ กนั ไป สง ผลใหงานสง เสริมปลูกพืชทดแทน ฝนทําไดอยางรวดเร็วขึ้น พรอมกับการแกไขปญหาในพื้นท่ีของเกษตรก็สามารถทําไดอยางจริงจัง งานของ โครงการหลวงไดร ับการยอมรบั วา เปน วธิ ีการแกป ญหาพื้นท่ปี ลูกฝน ท่ีทําไดอ ยา งสนั ติวิธีท่ีสุด และยังเปนการ ชว ยชาวเขาใหม อี าชีพม่นั คง มลู นธิ ิแมกไซไซ แหงประเทศฟลิปปนสจึงประกาศใหโครงการหลวงเปนองคกร ท่ีไดรับรางวัลแมกไซไซในดาน International Understanding เมื่อ พ.ศ. 2531 ตอมาพระบาทสมเด็จ- พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงโปรดเกลาฯ ใหเปล่ียนสถานภาพของโครงการหลวงเปนมูลนิธิ โครงการหลวง โครงการหลวงเกิดขนึ้ ดว ยพระราชหฤทยั มงุ มั่นของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่จะทรงพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของราษฎรโดยเฉพาะอยางย่ิงเกษตรกร ทําใหเกษตรกรในชนบทมีอาชีพที่มั่นคง โดยใชเทคโนโลยีทางการเกษตรชวยพัฒนาการเกษตรของประเทศไดเปนอยา งดี 2. ดานสาธารณสุข พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณยี กิจในฐานะพระบิดา ของปวงชน โดยตัง้ พระทัยมัน่ ทจี่ ะพระราชทานส่งิ จําเปนสําหรบั ชวี ิตทดี่ แี กพ สกนกิ ร ผูใดจะยากดมี จี น อยใู นเมือง

94 หรอื ชนบท หรอื จะเปน ชนกลุมนอย หรอื จะนบั ถือศาสนาความเชื่อใด ลวนไดรับพระมหากรุณาธิคุณโดยทั่วหนา ซง่ึ ปรากฏเปน บริการสาธารณะตา ง ๆ เพือ่ มวลชน ทงั้ ดา นอาหาร นา้ํ ด่มื นาํ้ ใช การศกึ ษา การทํามาหากินเลี้ยงชีพ และการสาธารณสขุ บรกิ ารสาธารณสขุ ดานการแพทยและสุขอนามัย สําหรับประชาชนท่วั ไปทั้งประเทศเรม่ิ มาต้งั แตระยะแรก ๆ ของรชั สมัยของพระองคท าน งานดานน้กี เ็ หมอื นงานพัฒนา ดานอ่ืน ๆ ท่ีทรงทํา คือมีการออกแบบและวางแผนเปน อยางดี ไมวาจะเปนเรื่องแนวคิด การเตรียมการหรือ การลงมือปฏิบัติงาน ลวนเพื่อประโยชนของประชาชน เปนใหญ โครงการดานสุขภาพหลาย ๆ โครงการของ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ชวยบรรเทาทุกขเข็ญของราษฎรเหลานี้ เปนท้ังความชวยเหลือแบบทันทีหรือแบบระยะสั้น และมีที่เปน ความชวยเหลือระยะยาวดว ย ในการเสด็จพระราชดําเนินทรงเย่ียมเยียนราษฎรในภูมิภาคตาง ๆ ไดพบวาราษฎรสวนหนึ่งที่มี รา งกายและสุขภาพไมส มบูรณเ นือ่ งจากขาดทุนทรพั ยในการรักษา ขาดผูรักษา หรืออยูหางไกลสถานที่รักษา และจํานวนไมน อ ยขาดอาหาร จงึ ทรงจัดหนว ยแพทยเ คล่อื นท่ีพระราชทาน ตั้งแต พ.ศ. 2497 ทําใหราษฎร ในเขตทุรกันดารไดรบั การบาํ บัดรักษา บางครั้งราษฎรที่ปว ยหนกั หรอื ปวยเร้อื รงั พระบาทสมเด็จพระปรมินทร- มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงรับสงั่ ใหผ นู นั้ เปนคนไขในพระบรมราชานเุ คราะห ทาํ ใหผ ูปวยและครอบครัวพน จาก ความทุกขทรมานทั้งกายและใจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงเปนท่ีเคารพรักของ ปวงชนชาวไทยในทกุ ภูมิภาคท่วั ประเทศ 3. โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชหฤทัยมุงมั่นท่ีจะแกไขปญหา ความเดือดรอนของราษฎร และทรงเพียรพยายามที่จะพัฒนาความเปนอยูของราษฎร ดวยเหตุนี้จึงเกิด โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริขึ้นจํานวนมากและครอบคลุมการพัฒนาในดานตาง ๆ ท้ังทรพั ยากรธรรมชาติและคุณภาพชีวิตของประชาชน โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ล ว น แ ต มี จุดมุงหมายท่ีจะใหราษฎรมีความผาสุกอยางแทจริง มีดงั น้ี โครงการตามพระราชประสงค คือ โครงการที่ทรง ศึกษา ทดลอง ปฏิบัติเปนการสวนพระองค ทรงใช พระราชทรพั ยส ว นพระองค เม่ือไดผ ลดีก็จะให หนว ยงานของรัฐเขารบั ดําเนนิ การตอ ไป

95 โครงการหลวง คอื การพฒั นาชวี ติ ตามความเปนอยูข องชาวไทยภเู ขาใหด ขี ึ้น ชักจงู ใหเลิก ปลกู ฝน งด การตดั ไมท าํ ลายปา และทาํ ไรเลื่อนลอย โครงการตามพระราชดําริ คือ โครงการท่ีทรงวางแผนพัฒนาและเสนอแนะใหรัฐบาลเขารวม ดําเนินงานตามพระราชดาํ ริ ปจ จุบันเรยี กวา “โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ” ซ่ึงมอี ยทู ว่ั ทุกภาคของ ประเทศไทย “โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ร”ิ เปนโครงการที่ทรงวางแผนเพ่ือการพัฒนา ซงึ่ เกิดจาก การท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดําเนินเย่ียมราษฏรในภูมิภาคตาง ๆ ทัว่ ประเทศ และทรงพบเหน็ ปญ หาทีเ่ กดิ ข้นึ โดยเฉพาะอยางยิง่ ปญ หาเกษตรกรรม จงึ ไดพ ระราชทานคาํ แนะนาํ เพื่อนําไปปฏิบัติจนไดผลดี และไดรับการยอมรับจากผูปฏิบัติงานท้ังหลายวาสมควรยิ่งท่ีจะดําเนินตาม พระราชดําริ พระราชดําริเริ่มแรกซึ่งเปนโครงการชวยเหลือประชาชนเริ่มข้ึนตั้งแต พ.ศ. 2494 โดยทรง พระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหกรมประมงนาํ พันธุปลาหมอเทศจากปนัง ซ่ึงไดรับจากผูเชี่ยวชาญดานการประมง ขององคก ารอาหารและเกษตรแหง สหประชาชาตเิ ขา ไปเลย้ี งในสระน้ํา พระที่นั่งอัมพรสถาน และเม่ือวันท่ี 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 กท็ รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ พระราชทานพันธุปลาหมอเทศแกกํานันและผูใหญบาน ท่วั ประเทศ นาํ ไปเล้ยี งเผยแพรขยายพนั ธุแกราษฏรในหมบู านของตน เพ่อื จะไดม ีอาหารโปรตนี เพิ่มข้นึ 4. ศูนยศ กึ ษาการพฒั นาอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มพี ระราชดาํ รใิ หจดั ตง้ั ศนู ยก ารศึกษาพัฒนา อันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ รขิ ึน้ โดยมีวัตถุประสงคท่ีสําคัญ คือ การเปนแหลงหาความรูใหแกราษฎร เพ่ือให เปน ตัวอยางนาํ ไปประยุกตใชก ับงานอาชีพของตน โดยเฉพาะอยางย่ิงเรื่องท่ีเกี่ยวกับการเกษตรกรรมตาง ๆ ทที่ ําใหเกษตรกรมรี ายไดใ นการเลยี้ งตนเองและครอบครวั เพิม่ ขึน้ ศูนยศ ึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ไดจัดต้ังข้ึนตามแนวพระราชดําริในทุกภาค จํานวน 6 ศูนย ไดแก (1) ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จังหวัดฉะเชิงเทรา (2) ศูนยศึกษาการพัฒนา หวยทราย จังหวัดเพชรบุรี (3) ศูนยศึกษาการพัฒนา อาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี (4) ศูนยศึกษาการ พัฒนาภูพาน จังหวดั สกลนคร (5) ศูนยศ กึ ษาการพัฒนา หว ยฮองไคร จังหวดั เชยี งใหม (6) ศูนยศึกษาการพัฒนา พิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส เพ่ือเปนสถานที่ศึกษา ทดลอง ทดสอบ และแสวงหาแนวทางวิธีการพัฒนา ดานตาง ๆ ใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอม ทแ่ี ตกตา งกนั ศนู ยศ ึกษาฯ จงึ เปรยี บเสมอื น “ตัวแบบ” ของความสําเร็จท่ีจะเปนแนวทาง และตัวอยางของ ผลสาํ เร็จใหแ กพื้นท่อี ่นื ๆ เปนศูนยบริการแบบเบด็ เสรจ็ คอื สามารถที่จะศกึ ษาหาความรูไดทุกเร่ือง ทั้งดาน การปรับบํารุงดิน การปลูกพืชสวน พืชไร การเล้ียงสัตว การประมง ปาไม ตลอดจนการชลประทาน งานศลิ ปาชพี ฯลฯ ซ่งึ ผลสาํ เร็จเหลา น้ไี ดจ ัดสาธิตไวในลักษณะของ พพิ ิธภณั ฑธ รรมชาติทมี่ ีชวี ติ

96 พระอจั ฉริยภาพ เปนท่ีทราบกันดีกวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีฝพระหัตถ เปน เยย่ี มในดา นการชา ง ไมว าจะเปนงานชา งไม ชา งโลหะ หรอื ชางกล ซึง่ เปน งานพืน้ ฐานทางวิศวกรรมศาสตร จึงไดทรงคดิ คนส่ิงประดิษฐใ หม ๆ เพ่ือใชใ นการพฒั นาประเทศและชว ยเหลือประชาชนของพระองค ดงั นี้ 1. งานดานการประดิษฐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงหวงใย สภาพแวดลอมตามธรรมชาติที่จําเปนตอการมีชีวิตอยูอยางผาสุกของประชาชนชาวไทยที่เส่ือมโทรมลง โดยเฉพาะอยางย่ิงปญหาเร่ืองน้ําเสีย ท่ีนับวันมีเพ่ิมมากข้ึนทุกที และทําความเสียหายแกแหลงนํ้าสะอาดตามธรรมชาติ ทําใหสัตว ตา ง ๆ เชน กุง หอย ปู ปลา และ อ่นื ๆ ที่อยูในแหลงน้ําน้ัน หากไม ตายก็เลี้ยงไมโตหรือพิกลพิการจนไมอาจใชบริโภคเปนอาหาร ไดอ ยา งปลอดภยั เปนอนั ตรายตอสุขภาพอนามัยและความเปนอยู ของผูคนอยางรายแรง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- อดุลยเดช จงึ พระราชทานแนวพระราชดาํ รวิ า หากเราสามารถเติม ออกซเิ จนลงไปในนาํ้ เสียได โดยทําเครื่องกลเติมอากาศที่มีข้ันตอนการประดิษฐที่คนไทยสามารถทําไดดวย ตนเอง เสยี คา ใชจา ยนอย กจ็ ะชวยแกไ ขสภาพน้าํ เสยี ได ดว ยพระอจั ฉริยภาพดานการประดิษฐ พระองคทรง กาํ หนดเคร่อื งตน แบบ และเปน ท่มี าของ กังหันนํ้าชัยพัฒนา นํามาใชในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าตามสถานท่ี ตา ง ๆ ทัว่ ทกุ ภมู ภิ าค 2. งานดานวรรณกรรม ผลงานดานวรรณกรรมของพระองคมีท้ังพระราชนิพนธที่ทรงแตงและแปล ซ่ึงมีอยหู ลายเรือ่ งดวยกนั เชน - พระราชนิพนธเรื่อง“พระราชานุกจิ รัชกาลที่ 8 ” ตามคาํ กราบบังคมทลู ขอพระราชทานของ หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล ซึ่งโปรดเกลาฯใหพิมพพระราชทานในการพระราชกุศล 100 วัน พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล เม่ือวนั ที่ 20 กนั ยายน 2489 พระราชนิพนธเรื่องนี้เปนเร่ืองราวกิจวัตรของรัชกาลท่ี 8 ทั้งในสวนพระองค พระราชกิจและ พระราชานุกิจขณะเสด็จประพาสสถานทต่ี าง ๆ ทรงใชภ าษาทส่ี ้นั กระชับและไดใ จความชดั เจน - พระราชนิพนธเรื่อง “เม่ือขาพเจาจากสยามสูสวิตเซอรแลนด” ไดพระราชทานเปนพิเศษแก หนงั สอื วงวรรณคดี ฉบบั เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2490 ใชร ูปแบบบันทกึ ประจําวนั ตั้งแตเสดจ็ ฯ จากประเทศไทย เพ่ือไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนดชวงกอนเดินทางจากเมืองไทยไปยังตําหนักวิลลาวัฒนา ระหวา งวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ซึ่งพระราชนิพนธน้ีทรงพรรณนาความรูสึก ของพระองคขณะจากเมืองไทย สะทอนใหเห็นถึงความรัก ความผูกพันและความหวงใยในพสกนิกรของ พระองค

97 - พระราชนพิ นธเรอื่ งพระมหาชนก หลังจากท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ไดท รงสดบั พระธรรม- เทศนาของสมเดจ็ พระมหาวีรวงศ แหง วดั ราชผาตกิ าราม เม่ือป พ.ศ. 2520 เรื่องพระมหาชนกเสด็จทอดพระเนตร พระราชอทุ ยานในกรงุ มถิ ิลา จากนนั้ จงึ ทรงคนควา เร่อื งพระมหาชนเพ่ิมเตมิ ในพระไตรปฎ กและทรงแปลเปน ภาษาองั กฤษ ในป พ.ศ. 2539 และแปลเปน ภาษาสันสกฤตอีกภาษาหน่งึ กอนจะแปลเปนฉบบั การตนู ในป พ.ศ. 2545 เพือ่ ใหอ านเขาใจงายขนึ้ อันเปน แนวการดําเนนิ ชวี ติ ทเ่ี ปนมงคลทางหนง่ึ - พระราชนิพนธเรื่องทองแดง เปน หนงั สอื ทแี่ ฝงขอคดิ คตธิ รรมทีม่ ีคุณคา โดยเฉพาะความกตัญู รคู ณุ ของทองแดง สุนัขทรงเล้ยี ง ตีพิมพครง้ั แรกเมื่อ พ.ศ. 2541 3. งานแปล - ติโต เปนผลงานแปลชิ้นแรกของพระองค โดยทรงแปลจาก Tito ของ Phyllis Auty ในป พ.ศ. 2519 เพ่อื ใหข า ราชบริพารไดทราบถึงบุคคลท่ีนาสนใจคนหนึ่งของโลก ติโตเปนผูที่ทําประโยชนใหประเทศ ยูโกสลาเวีย ซงึ่ มีประชาชนมาจากหลากหลายชนเผา มคี วามแตกตา งกันท้ังในเร่อื งเชอ้ื ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม และประวัติศาสตร แตสามารถรวมตัวกันไดเปนปกแผนในยามท่ีประเทศชาติมีวิกฤติเพื่อรวมกันรักษา ความเปนปกแผน และความเจรญิ ของประเทศไว หนังสอื ตโิ ตนวี้ างจาํ หนาย ในป พ.ศ. 2537 - เศรษฐศาสตรตามนัยของพระพทุ ธศาสนา นายอินทรผูปดทองหลังพระ เปนงานแปลชิ้นที่สองของพระองคทาน โดยทรงแปลจากหนังสือ A Man Called Intrepid ของ William Stevenson ใชเ วลาแปลกวา 2 ป จดั พมิ พ ในป พ.ศ. 2536 4. งานดา นดนตรี ความสนพระราชหฤทยั ดานดนตรี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยดนตรีมาตั้งแตยัง ทรงพระเยาว ทรงอา นหนังสอื เกี่ยวกับการดนตรีตงั้ แตทรงศึกษาอยูท่ีประเทศสวิตเซอรแลนด ทรงไดรับการ ฝกฝนตามแบบฉบับการศึกษาวิชาดนตรีอยางแทจริง คือ การเขียนโนตและบรรเลงแบบคลาสสิกเคร่ืองดนตรีท่ีโปรด คือ เครอ่ื งเปา แทบทกุ ชนิด เชน แซกโซโฟน คลารเิ นต็ ทรมั เปต ท้ังยัง ทรงกีตารและเปยโน นอกจากนี้ทรงเลนดนตรีรวมกับวงดนตรี ไดทกุ วงทั้งไทยและตางประเทศ ยังทรงดนตรีไดท้ังชนิดมีโนตและ ไมต อ งมโี นต เม่ือคร้ังเสด็จพระราชดาํ เนนิ เยือนนครนวิ ยอรค ประเทศ สหรัฐอเมริกา เมื่อปพุทธศักราช 2503 นักดนตรีที่มีชื่อเสียงของ

98 โลกลวนถวายการยกยองพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชในฐานะทท่ี รงเปนนักดนตรีแจส ทม่ี ี อัจฉริยภาพสูงสง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงเปนนักดนตรีท่ีมีพระปรีชาสามารถสูง พระองคห น่ึง และไดทรงใชพระปรชี าสามารถนี้ใหเ ปน ประโยชนต อการสรางสมั พนั ธภาพอันดีใหเ กิดข้นึ ในมวล มนุษยชาติ เปนหน่ึงในตัวอยางของการท่ีทรงนําพระอัจฉริยภาพดานดนตรีมาใชเปนส่ือกลางในการสราง ความสมานฉนั ทส ําหรับในระดบั ชาติ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงประสบความสําเร็จในการใชดนตรีเปน ภาษาสากล สรางมติ รภาพ ระหวา งประเทศไดอ ยางงดงาม เชน เม่อื คราวเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ เยอื น สหรัฐอเมรกิ า ในป 2503 ระหวางงานถวายเลย้ี งพระกระยาหารคํ่าท่ี วอชิงตันเพลส ทรงไดรบั การกราบบงั คมทลู เชญิ ใหร วมบรรเลงดนตรี กบั วงดนตรที ่จี ดั แสดงถวายหนาพระที่นั่ง โดยไมไดเตรยี มพระองค มากอน สรา งความประทบั ใจแกผ ูร วมงานในวันนน้ั อยา งยิง่ รางวลั และพระเกียรติยศ - พ.ศ. 2519 ประธานรฐั สภายโุ รปและสมาชิกรว มกันทลู เกลา ฯ ถวาย “เหรยี ญรฐั สภายุโรป” - พ.ศ. 2529 ประธานคณะกรรมาธิการเพอ่ื สนั ติของสมาคมอธิการบดรี ะหวา งประเทศทลู เกลา ฯ ถวาย “รางวัลสันติภาพ” - พ.ศ. 2530 สถาบนั เทคโนโลยแี หงเอเชีย ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญทองเฉลิมพระเกียรติ คณุ ในการนาํ ชนบทใหพัฒนา” - พ.ศ. 2535 ผอู ํานวยการใหญโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญทองประกาศพระเกียรติคุณดานส่ิงแวดลอม” และผูอํานวยการใหญองคการอนามัยโลก (WHO) ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรยี ญทองสาธารณสุขเพ่ือมวลชน” - พ.ศ. 2536 คณะกรรมการสมาคมนิเวศวิทยาเชิงเคมีสากล (International Society of Chemical Ecology) ทูลเกลา ฯ ถวาย “เหรียญรางวัลเทดิ พระเกียรติในการสงวนรกั ษาความหลากหลายทาง ชวี ภาพ” และหัวหนา สาขาเกษตร ฝายวชิ าการภมู ภิ าคเอเชียของธนาคารโลก ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัลหญา แฝกชุบสํารดิ ” สดดุ พี ระเกียรติคุณในฐานะทีท่ รงเปน นักอนรุ ักษดินและน้าํ - พ.ศ. 2537 ผูอํานวยการบริหารของยูเอ็นดีซีพี (UNDCP) แหงสหประชาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรยี ญทองคาํ สดดุ พี ระเกียรตคิ ณุ ดานการปอ งกนั แกไ ขปญ หายาเสพตดิ ”

99 - พ.ศ. 2539องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญสดุดี พระเกียรติคุณในดา นการพฒั นาการเกษตร” - พ.ศ. 2549 สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (UNDP) ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัล ความสําเร็จสูงสุดดานการพัฒนามนุษย” จากการที่ไดทรงอุทิศกําลังพระวรกายและทรงพระวิริยอุตสาหะ ในการปฏิบัติพระราชกรณยี กิจนอ ยใหญนานัปการ เพ่อื ยงั ประโยชนและความเจริญอยา งย่ังยืนมาสูประชาชน ชาวไทยทั้งประเทศมาโดยตลอด นายโคฟ อนั นนั เลขาธิการสหประชาชาติ ไดกลาวในโอกาสทูลเกลาฯ ถวายรางวัลดังกลาวไววา “หากการพัฒนาคน หมายถึง การใหความสําคัญประชาชนเปนลําดับแรก ไมมีสิ่งอื่นใดแลวที่ยิ่งใหญไปกวา การพัฒนาคน ภายใตแ นวทางการพัฒนาคนขององคพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีได ทรงอุทิศพระวรกาย ทรงงาน โดยไมรูสึกเหน็ดเหน่ือย ไมเลือกเชื้อชาติ วรรณะ และศาสนา ทรงเปน พระมหากษัตริยนักพัฒนา ดวยพระปรีชาสามารถในการเปนนักคิดของพระองค ทําใหนานาประเทศต่ืนตัว ภายใตแ นวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง การเดินสายกลาง รางวลั ความสําเร็จสงู สดุ คร้ังนี้ เปนการจุดประกายแนวคดิ การพัฒนาแบบใหมส นู านาประเทศ”

100 - พ.ศ. 2551 องคการทรัพยสินทางปญญาโลก (WIPO) ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล WIPO Global Leaders Award แดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เน่ืองดวยงานทรัพยสินทางปญญา สงเสรมิ และพัฒนาประเทศรวมถึงชีวิตความเปนอยขู องพสกนิกรชาวไทยใหดีข้ึนอยางโดดเดนเปนที่ประจักษ แกสายตาชาวโลก อีกทั้งยังทรงเปนผูนําประเทศพระองคแรกที่ไดรับทูลเกลาฯ ถวายรางวัลน้ี นอกจากนี้ จากการหารือกันของสหพันธสมาคมนักประดิษฐระหวางประเทศ (International Federal Inventor Association : IFIA) ซงึ่ มีสมาชกิ 84 ประเทศท่ัวโลกยงั มิไดมมี ติใหว ันท่ี 2 กมุ ภาพันธของทุกป ซงึ่ เปนวันทที่ รง ไดรับการจดสทิ ธิบัตรกงั หนั นาํ้ ชัยพฒั นาเปน วันนักประดษิ ฐโ ลกดวย ไมใ ชเพยี งแคน น้ั หากยอนกลบั ไปในอดีตจะพบวา หลายองคกรท่ีเก่ียวของกับทรัพยสินทางปญญา ไดเคยทูลเกลาฯ ถวายเหรียญรางวัล และประกาศนียบัตรตาง ๆ แดพระองคมากมาย ไดแก IFIA ประเทศ ฮังการีทูลเกลาฯ ถวายถวยรางวัล IFIA Cup 2007 สําหรับผลงานกังหันน้ําชัยพัฒนา เหรียญ Genius Prize สําหรับผลงานทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอเพียง และสมาคมสงเสริมการประดิษฐแหงสาธารณรัฐเกาหลี (korea Invention Promotion Association : KIPA) ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล Special Prize พรอม ประกาศนียบัตรซ่ึงถือเปนรางวลั อนั ทรงเกียรติของนักประดิษฐใ นระดบั โลก ถงึ แมวา รางวัลเกยี รตยิ ศตา ง ๆ เหลา นจ้ี ะมใิ ชเ ปา หมายสาํ คัญในการตรากตรําทรงงานอยา งหนักของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และประกาศเกียรติคุณจํานวนนับไมถวนที่ทรงไดรับมา ตลอดระยะเวลาแหงการครองราชยจะเทียบมิไดกับพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญของพระองคทานที่มีตอ ปวงชนคนไทย แตก็มิอาจมีใครปฏิเสธไดวาพระองคทรงเปนองคพระประมุขที่นําพาประเทศไทยกาวไป ขางหนา เพื่อใหโลกหันมามองประเทศไทยในแงมุมใหมที่มีเสนหและความงดงามลํ้าคาตามแบบฉบับของ ตนเองมากกวาท่ีจะเปน เพยี งแคจ ุดเล็ก ๆ จดุ หนึ่งบนแผน ทข่ี องภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อป พ.ศ. 2549 ในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ซ่ึงยาวนานกวา พระมหากษัตริยพ ระองคใดในประวัตศิ าสตรชาติไทยและในโลกปจจุบนั ประเทศท่ีมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขจํานวน 25 ประเทศ จากทั้งสิ้น 29 ประเทศท่วั โลก ไดตอบรับคาํ เชิญของรัฐบาลไทยมารวมเปนเกียรติ ในพระราชพธิ ีอนั ย่ิงใหญ นอกจากจะนับเปน การชมุ นุมของพระประมขุ จากประเทศตา ง ๆ มากท่สี ุดในโลกแลว ยังเปนการแสดงใหเห็นวานานาประเทศทั่วโลกลวนแลวแตช่ืนชมในพระบารมีอันแผไพศาลของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและไมใชเพียงแตบุคคลระดับประมุขของประเทศตาง ๆ เทา นน้ั จากบทความและขาวตางประเทศจํานวนมากมายที่ปรากฏสูสาธารณชนก็เปนเครื่องยืนยันไดวา มิได มแี ตร าษฎรของพระองคเ ทานั้นทีป่ ระจักษแจง ในนํ้าพระทัยอนั หาท่สี ดุ มิไดของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร- มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช

101 สมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ิติ์ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จพระนางเจาสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ เปน พระธิดาพระองคใหญข องหมอมเจา นักขตั รมงคล กิติยากร (ภายหลังเปน พระวรวงศเธอ พระองคเจานักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) กับหมอมหลวงบัว กิติยากร (สกุลเดิม สนิทวงศ) ประสูติเมื่อวันศุกรที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 และเขา พระราชพธิ ีราชาภเิ ษกสมรสกบั พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช เม่ือวนั ท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2493 ณ วังสระปทมุ และเม่ือวนั ท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ใหป ระกาศสถาปนาเฉลมิ พระเกียรติยศสมเด็จพระราชนิ สี ริ กิ ิต์ิ ข้ึนเปน สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินี และเมอื่ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดเสด็จฯ ออกผนวชเปนพระภิกษุ ในพระพทุ ธศาสนาระหวางวันท่ี 22 ตลุ าคม ถงึ วนั ท่ี 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2499 เปนระยะเวลา 15 วัน จึงทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค ตอ มาจงึ ไดร ับการสถาปนาเปนสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ิติพ์ ระบรมราชนิ ีนาถ พระราชกรณยี กจิ สงั เขป สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจนอยใหญนานัปการ เพอ่ื สนองพระบรมราโชบายในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยเฉพาะอยางย่ิงภารกิจ ในการสงเสริมคุณภาพชีวิต อาชีพ และความเปนอยูของผูยากไรในชนบทหางไกล โดยไดตามเสด็จพระราช ดําเนนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชไปท่วั ทุกหนแหง ในแผน ดินไทย พระราชกรณียกจิ ที่สาํ คัญมดี ังนี้ 1. ดานการสงเสริมศิลปาชีพ เปนโครงการที่สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงกอ ตัง้ ขึน้ เมอื่ วนั ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 เพ่ือชวยเหลือราษฎรท่ียากไรในชนบท โดยสงเสริมอาชีพ แกช าวบา น เพ่ือใหม รี ายไดท ดแทนกรณีที่ผลผลิตทางการเกษตรเสียหายจากภัยธรรมชาติ โครงการสงเสริม ศลิ ปาชพี ขยายสาขาไปท่ัวประเทศ ตอมาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกอตั้งเปนมูลนิธิ พระราชทานนามวา \"มูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ\" และเม่ือ พ.ศ. 2528 ไดเปลี่ยนช่ือเปน มูลนิธิสงเสริม ศิลปาชพี ในสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งนอกเหนือจากการสงเสริมอาชีพแลว ยังเปน การอนรุ กั ษและสง เสรมิ งานศิลปะหัตถกรรมพื้นบานในหลากหลายสาขา อาทิ การปน การทอ การจักสาน เปนตน 2. ดา นการสาธารณสขุ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ยังทรงเอาพระทัยใสในกิจการดานสาธารณสุข โดยไดทรงดาํ รงตําแหนง สภานายกิ าสภากาชาดไทย และหากเสดจ็ ฯ เยือนตา งประเทศ กม็ กั จะทรงถอื โอกาส เสด็จฯทอดพระเนตรกจิ การกาชาดของประเทศนน้ั ๆ เพ่ือทรงนํามาปรับปรงุ กจิ การสภากาชาดไทยอยูเสมอ สมเดจ็ พระนางเจา สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงมพี ระราชหฤทัยอันมุงมั่นท่จี ะบรรเทาทกุ ขใหแก ราษฎรอยางจริงจงั และตอ เนื่อง ในระยะแรกของการเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในตางจังหวัด เม่อื ทรงพบเห็นวาราษฎรท่มี าเฝาทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จมีอาการเจ็บปวย สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์-

102 พระบรมราชนิ นี าถไดมีพระราชเสาวนยี ใหแ พทยท ต่ี ามเสด็จไปในขบวนตรวจอาการ จายยาและใหคําแนะนํา แกราษฎรในการดูแลรักษาตนเองหากไมสามารถวินิจฉัยโรคไดในขณะนั้นหรือเปนโรคที่รายแรงจะมี พระราชเสาวนยี ใ หส ง ไปรบั การรกั ษาท่โี รงพยาบาลซง่ึ อยใู กลทองถิ่นนั้น โดยพระราชทานหนงั สอื รบั รองวา เปน คนไขในพระบรมราชานเุ คราะหพ รอมคาเดินทางและคาใชจายท่ีจําเปน สวนคารักษาพยาบาลและคายานั้น จะพระราชทานแกโ รงพยาบาลโดยตรง หากผปู ว ยไมส ามารถไปเองไดจ ะทรงจดั เจาหนา ที่นาํ ไป ถา โรงพยาบาล ที่อยูใกลทองถิ่นนั้นขาดบุคลากรทางการแพทยหรือเคร่ืองมือเคร่ืองใชในการรักษา ก็ใหสงไปรับการรักษา ทโี่ รงพยาบาลในกรุงเทพฯ ในการเสดจ็ พระราชดาํ เนินไปทรงเยย่ี มราษฎรตา งจงั หวดั หรอื ขณะแปรพระราชฐานไปประทับ ทีพ่ ระราชนเิ วศนในภมู ภิ าคตา ง ๆ มีราษฎรทเ่ี จ็บไขมาขอรบั พระราชทานความชวยเหลอื เปน จํานวนมากตอ งมี แพทยแ ละพยาบาลอาสาไปชวยปฏิบัติงานเพ่ิมขึ้น หลายคร้ังท่ีสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ และพระราชโอรส พระราชธิดาทรงชว ยซักถามประวตั ิและอาการของผูป ว ย ตลอดจนชว ยแพทยใ นการจายยา การบันทึกเพื่อตดิ ตามผล นอกจากน้โี รงพยาบาลในทอ งถิน่ มักมคี วามจาํ กัดในเคร่อื งเวชภณั ฑแ ละยารักษาโรค สมเด็จพระนางเจาสิริกติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ จึงพระราชทานพระราชทรัพยเพ่ือจัดซื้อเครื่องมือเคร่ืองใชและ ยาเพมิ่ ขน้ึ 3. ดา นการอนรุ ักษท รพั ยากรธรรมชาติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงสนพระราชหฤทัยในเรื่องการอนุรักษนํ้า ทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือใหชุมชนอยูรวมกับธรรมชาติโดยพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทําใหราษฎรทุกหมูเหลา ตางสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ไดรวมแรงรวมใจกันอนุรักษทรัพยากรปาไม ใกลชุมชน เปนผลใหปาไมใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มรักษาไวไดมากขึ้น นอกจากน้ีไดพระราชทานแนวพระราชดําริใหราษฎรอยูรวมกับ ปา ไมอ ยางสันติสขุ พึ่งพาอาศัยซง่ึ กันและกัน โดยชุมชนหรือหมูบานไดม กี ารจัดต้งั องคการในการรว มกันดูแลรักษา ปา ตน นาํ้ ลาํ ธารและสภาพแวดลอม โดยมกี จิ กรรมหลัก 2 โครงการ คือ 1. โครงการฝก อบรมราษฎรอาสาสมคั รพิทักษป า สมเดจ็ พระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชดําริให \"คน\" กับ \"ปา\" อยูรวมกันได อยา งสนั ติสขุ โดยพงึ่ พาอาศยั ซ่ึงกนั และกัน เพื่อเปนแนวทางในการพิทักษ อนุรักษและฟนฟูสภาพปาใหดํารงอยู อยางย่ังยืนดวย พระราชดํารินี้ทําใหราษฎรตางสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ไดรวมแรงรวมใจกันอนุรักษ ทรัพยากรปาไมใกลชุมชน ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหดําเนินการฝกอบรมตามโครงการราษฎรอาสาสมัคร พทิ กั ษป า (รสทป.) เปน การฝก อบรมราษฎรในชุมชนใหมีความรูความเขา ใจในการอนรุ กั ษท รพั ยากรปาไม ปลูกฝง ความรักและหวงแหนทรัพยากรปา ไมในทอ งถิ่นของตน รวมทง้ั คอยดูแลสอดสอ งมใิ หม กี ารบุกรุกและลกั ลอบตัดไม ทาํ ลายปาแทน เจา หนา ทขี่ องรฐั ซงึ่ มกี าํ ลังไมเพียงพอ 2. โครงการธงพทิ ักษปาเพื่อรักษาชวี ิต เปน การคดั เลือกหมบู านและชมุ ชนทใี่ หค วามรว มมอื ในการอนุรกั ษทรพั ยากรปาไม ใหมีสภาพ อุดมสมบูรณ ไมม กี ารลักลอบตัดไม ทําลายปา หรือบุกรุกพ้ืนท่ีปา ซึ่งทําการคัดเลือก โดยคณะอนุกรรมการ ดําเนินโครงการธง \"พิทักษปา เพ่ือรักษาชีวิต\" แลวทูลเกลาฯ ถวายสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์-

103 พระบรมราชนิ นี าถ เพอื่ ขอพระราชทานธง \"พทิ ักษป า เพื่อรกั ษาชีวิต\" ใหก ับชุมชน ลักษณะของธง มีภาพชาง อยใู นปา อยภู ายใต พระปรมาภไิ ธยยอ “สก” สมเด็จพระนางเจา สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถทรงพระราชทานธง \"พิทักษปา เพ่ือรักษาชีวิต\" นี้ ใหแกราษฎรเปนหมูบานและชุมชนที่ไดรวมกันดูแลหวงแหนอนุรักษทรัพยากรปาไมภายในหมูบานและ ชมุ ชนโดยไดรว มแรงรว มใจกันอนุรักษปา ไม ไมเ ขา ไปตดั ไมทาํ ลายปา แผว ถางทาํ ไรเ ลื่อนลอยหรอื ลาสัตว 4. ดานการทหาร พระราชกรณียกิจดานการทหารน้ัน ทรงดํารงตําแหนงพันเอกผูบังคับการพิเศษ กรมทหาร ราบท่ี 21 รักษาพระองค ทรงใหความสนพระทัยตอการดําเนินงานของกรมทหารราบท่ี 21 รักษาพระองค ตลอดมา โดยผบู ังคับการกรมทหารราบที่ 21 จะเขามาถวายรายงานถึงผลการปฏิบตั ิงานพรอ มกบั รบั พระราช- เสาวนยี ตลอดจนคาํ แนะนําไปดําเนินการปฏิบตั อิ ยเู ปนประจํา ในดา นความม่ังคงของประเทศ พระองคไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเย่ียมทหารท่ีปฏิบัติการ สูรบตอสูกับผูกอการรายตามชายแดนถึงฐานปฏิบัติการตาง ๆ แมเปนท่ีเส่ียงภยันตรายก็ทรงพระอุตสาหะ เสด็จฯ ไปทรงดูแลทุกขสุข ปลอบขวัญถึงฐานปฏิบัติการตาง ๆ เปนขวัญกําลังใจแกเหลาทหารหาญที่ตอสู ปกปองผืนแผนดิน นําความรมเย็นเปนสุขมาสูอาณาประชาราษฎรใหสามารถทํามาหากินไดอยางสงบสุข จนกระทง่ั ภัยจากผูกอการรายคอมมวิ นสิ ตไ ดสลายลงในทุกภูมภิ าค ดวยเดชะพระบารมีแหงพระบาทสมเด็จ- พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจา สริ ิกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 5. ดานการเกษตรและชลประทาน ในดานการเกษตร สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จะทรงเนนในเรื่องการคนควา ทดลอง และวจิ ัยหาพนั ธุพชื ใหม ๆ ทั้งพืชเศรษฐกิจ พืชสมนุ ไพร รวมถึงการศึกษาเก่ียวกับแมลงศัตรูพืชและพันธุ สัตวต า ง ๆ ท่เี หมาะสมกบั สภาพทองถนิ่ น้ัน ๆ ซง่ึ แตละโครงการจะเนนใหสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง มีราคาถูก ใชเทคโนโลยีงาย ๆ ไมสลับซับซอน เกษตรกรสามารถดําเนินการเองได นอกจากนี้ ยังทรงพยายามไมให เกษตรกรยดึ ติดกบั พืชผลทางการเกษตรเพยี งอยางเดยี ว เพราะอาจเกิดปญหาอันเนอ่ื งมาจากความแปรปรวน ของสภาพดินฟาอากาศ หรือความแปรปรวนทางการตลาด แตเกษตรกรควรจะมีรายไดจากดานอ่ืน นอกเหนือไปจากการเกษตรเพมิ่ ขน้ึ ดว ย เพอ่ื จะไดพ่ึงตนเองไดในระดับหนง่ึ การพฒั นาแหลงน้าํ เพ่อื การเพาะปลกู หรอื การชลประทาน นับวาเปนงานที่มีความสําคัญและมี ประโยชนอยา งยิ่งสาํ หรบั ประชาชนสว นใหญข องประเทศ เพราะเกษตรกรจะสามารถทําการเพาะปลกู ไดอ ยา ง สมบรู ณตลอดป เนือ่ งจากพน้ื ที่เพาะปลูกในปจจบุ นั สว นใหญเปนพ้ืนที่นอกเขตชลประทาน ซ่ึงตองอาศัยเพียง นํา้ ฝนและนํา้ จากแหลงนํา้ ธรรมชาตเิ ปน หลัก ทาํ ใหพ ชื ไดร บั น้าํ ไมส มา่ํ เสมอ และไมเพียงพอ พระบาทสมเด็จ- พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงใหค วามสนพระราชหฤทยั เกยี่ วกบั การพฒั นาแหลง นํา้ มากกวา โครงการ พัฒนาอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ รปิ ระเภทอ่ืน 6. ดา นการศึกษา สมเดจ็ พระนางเจา สิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถสนพระราชหฤทัยในดานการศึกษาและทรงยึดม่ัน ในคําสอนของสมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจาวา \"ปญญาทําใหมนุษยเ ปนมนุษยท่ีสมบูรณ\" สติปญญาเกิดขึ้นได

104 ดว ยการศึกษาหาความรูโดยเฉพาะอยางย่ิงจากการอานหนังสือพระราชกรณียกิจดานการศึกษานานัปการ ท่ีพระราชทานแกพ สกนิกรชาวไทยน้ันประกอบดว ยทรงสงเสริมการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น เชน พระราชทาน ทนุ การศกึ ษาแกน ักเรียน สรางโรงเรียน พระราชทานพระราชทรัพยอุดหนุนโรงเรียน พระราชทานอุปกรณ การเรียน ทรงรับโรงเรียนไวในพระบรมราชินูปถัมภ เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเย่ียมโรงเรียน เปนตน ดานการศึกษานอกโรงเรียน เชน ทรงสอนหนังสือชาวบาน ทรงสรางศาลารวมใจ ทรงสงเสริมการอาชีวศึกษา ทรงอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนางานศิลปาชีพ นอกจากน้ียังทรงสงเสริมการศึกษาของพระภิกษุสามเณรและ ทรงรับมูลนิธิแมชีไทยไวในพระบรมราชินูปถัมภและพระองคทานยังทรงรับนักเรียนยากจนขาดโอกาส ทางการศึกษาท่ีทรงพบดวยพระองคเ องระหวางการเสดจ็ พระราชดําเนนิ ไปทรงเย่ียมราษฎรไวในพระบรมราชา นุเคราะหเกือบสองพันคน มีพระราชเสาวนียใหกองราชเลขานุการในพระองคสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์- พระบรมราชินนี าถ ติดตามดแู ลความประพฤติ และความเปนอยขู องนกั เรยี น นสิ ติ นกั ศึกษาท่ไี ดร ับทนุ เหลานี้ อยางใกลช ดิ เปนตน 7. ดานการศาสนา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปนพุทธมามะกะและเปนอัคร- ศาสนปู ถัมภก ประชาชนมสี ิทธแิ ละเสรภี าพในการนบั ถือศาสนาตามท่ีตนเช่ือและศรัทธา สมเด็จพระนางเจา สริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงตระหนกั วา ศาสนาเปนเครอื่ งยึดเหนย่ี วจิตใจมนุษยมิใหประพฤติปฏิบัติในส่ิงท่ี เปนความชว่ั และเปน แนวทางใหมนุษยเ ลอื กกระทําแตความดี จึงทรงตระหนักถึงความสําคัญในการอุปถัมภ ศาสนา นอกจากจะทรงเปนพุทธศาสนิกชนท่ีปฏิบัติพระราชกรณียกิจทางศาสนาโดยสมํ่าเสมอแลว ยังทรง ทะนุบํารุงศาสนาตาง ๆ ในประเทศไทย ไมวาจะเปนศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม พราหมณ ฮินดู และซิกข เพราะทรงถือวาทุกศาสนาตางก็มีความสําคัญในฐานะเปนเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชนเชนเดียวกัน ดังน้ัน คราวใดทพ่ี ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดําเนินไปในงานพระราชพิธี หรอื ทรงประกอบพระราชกรณียกิจเกยี่ วกับศาสนาสมเด็จพระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถมกั จะโดยเสดจ็ ฯ เสมอไมว าจะเปน พิธขี องศาสนาใด บางครั้งก็เสด็จพระราชดําเนินโดยลําพังพระองคเองทรงปฏิบัติพระราช- กรณียกิจดว ยความเคารพในประเพณีของศาสนาน้ัน ๆ อยางดียิ่งดังพระราชเสาวนียท่ีวา “....ฉันรูสึกวา ชีวิต ของฉันทัง้ โดยฐานะสว นตัว และในฐานะทีเ่ ปนพระราชนิ ีถาเผ่ือไมไดพระพุทธศาสนา ก็คงจะแข็งแรงอยูไมได อยา งน”้ี สมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพยายามทุกวิถีทางและทุกโอกาสท่ีจะทรง แนะนําใหพ สกนิกรเห็นวา ความเจริญทางดานจิตใจเปนสิ่งจําเปนและสําคัญที่สุดไมนอยไปกวาความเจริญ ทางดานวตั ถุ เพราะจะชว ยใหช ีวิตมนษุ ยส มบรูณแ ละมีคาดังพระราชดํารสั ทพี่ ระราชทานแกน กั ศกึ ษาพยาบาล ณ หอประชมุ ราชแพทยาลัยโรงพยาบาลศิริราช เม่อื วันที่ 31 กรกฏาคม พ.ศ. 2510 ความตอนหนง่ึ วา “ความเจริญทางดานวัตถุจําตองควบคูไปกับความเจริญทางดานจิตใจจะทําใหชีวิตมนุษย สมบรูณและมคี า บุคคลแมจะเปน ผทู ่ขี าดความม่นั คงทางวัตถุแตร่ํารวยในดา นคุณธรรม มีความรักและหวงใย ในเพอ่ื นมนุษยจ งึ นับวาเปน ผทู พ่ี ระพทุ ธศาสนายกยองแลววาเจริญแท. ..”

105 พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่ีทรงดําเนินการอยาง ตอ เน่ืองเปน เวลานานจนองคกรระหวา งประเทศตา งพากันยกยอ งและทลู เกลาถวายรางวัลและปริญญาดุษฎี- บัณฑติ กติ ตมิ ศกั ดเ์ิ ปน จาํ นวนมาก ดงั เชน 1. องคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ทูลเกลาฯ ถวายเหรียญซีเรส เทิดพระเกียรติในฐานะที่ทรงยกฐานะของสตรีใหมีระดับสูงข้ึนและทรงเปนผู \"ใหโดยไมเลือกท่ีรักมักท่ีชัง\" (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2522) 2. มหาวิทยาลัยทฟั ส จากรัฐแมสซาชูเซตส สหรัฐอเมรกิ า ทูลเกลาฯ ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตตมิ ศกั ด์ิ สาขามนษุ ยธรรมในฐานะท่ีทรงยกระดับฐานะการครองชีพของประชาชน และชวยบรรเทาทุกข ของเดก็ (พ.ศ. 2523) 3. สหพันธพิทักษเด็ก แหงนครนิวยอรก สหรัฐอเมริกา ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลบุคคลดีเดน ดา นพิทักษเด็ก (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524) 4. สถาบนั เอเชียโซไซตี้ แหงกรงุ นิวยอรก สหรฐั อเมรกิ า ทูลเกลาฯ ถวายรางวลั ดา นมนษุ ยธรรม (14 มีนาคม พ.ศ. 2528) 5. มูลนิธิคมุ ครองสัตวป าของโลก สดดุ เี ทิดพระเกียรติ ในฐานะบุคคลดีเดนดานอนุรักษสัตวปา (19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2529) 6. ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ไดทูลเกลาฯ ถวายสมาชิกภาพ กิตติมศกั ด์ิ ซ่งึ สถาบันแหง นี้เคยมอบใหแตเฉพาะผูท เ่ี ปน แพทยแ ละนักวิทยาศาสตรดีเดนเปนที่รูจักระดับโลก เทานั้น (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2531) 7. ศนู ยศ กึ ษาการอพยพ ที่มีสํานกั งานใหญอ ยูที่รัฐนิวยอรก กราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ ไปทรง รบั รางวัลความชวยเหลือผลู ภ้ี ัยประจําป ณ วอชิงตนั ด.ี ซี. (29 มีนาคม พ.ศ. 2533) 8. กลมุ ผูสนบั สนุนพิพิธภัณฑเด็กในสหรัฐอเมริกา ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลมนุษยธรรมระหวาง ประเทศ ณ กรุงวอชงิ ตัน ดี.ซี. (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534) 9. องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ทูลเกลาฯ ถวาย เหรยี ญทองโบโรพุทโธ ในฐานะทรงบําเพญ็ พระราชกรณียกิจอนุรักษและพัฒนางานศิลปหัตถกรรม ณ ศาลา ธรรมจงั หวัดเชยี งใหม (30 มกราคม พ.ศ. 2535) 10.กองทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลเกียรติคุณพิเศษ ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ในฐานะทรงอทุ ศิ พระองคประกอบพระราชกรณียกิจอันเปน ผลใหแ มแ ละเดก็ นบั ลา นไดร ับบริการข้ันพน้ื ฐาน (2 สงิ หาคม พ.ศ. 2535) 11.กองทุนพัฒนาเพอ่ื สตรแี หง สหประชาชาติ ทูลเกลา ฯ ถวายรางวัลแหงความเปนเลิศในฐานะ ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกจิ พฒั นาสตรีไทย (2 สิงหาคม พ.ศ. 2535) 12.มหาวิทยาลัยจอนสฮอปกินส รัฐแมร่ีแลนด สหรัฐอเมริกา ทูลเกลาฯ ถวายปริญญาดุษฎี บัณฑิตกิตตมิ ศักด์ิ สาขามนษุ ยธรรม (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2538)

106 2.2 ยุคสงครามเย็น ยุโรปยุคสงครามเยน็ สงครามเยน็ (Cold war) เปน สงครามท่ีเกดิ จากการปะทะกนั ระหวา งสหรัฐอเมรกิ า (เสรีประชาธปิ ไตย) และสหภาพโซเวียต (คอมมิวนสิ ต) ซงึ่ จะขอรวมเอาไวท งั้ หนวยงานสําคญั , สถานท่ีตา ง ๆ เปนตน สงครามเย็น เปน ลักษณะการเผชิญหนา ภายหลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง คําวาสงครามเย็นเปน คําใหม ทีเ่ กดิ ขน้ึ กอ นสงครามยตุ ลิ ง และเรยี กตอ มาเปน การอธิบายลักษณะความตงึ เครยี ดระหวางประเทศ หรือ ระหวางกลุมที่ดําเนินไปอยางตอเนื่อง โดยไมมีการจับอาวุธขึ้นตอสู เพราะถามีการใชอาวุธ สถานการณ จะเปล่ียนไปเปนสงครามรอน (hot war) ซ่ึงจะมีขอบเขตกวางขวางและกออันตรายอยางใหญหลวง แกม นุษยชาติ วิธกี ารทใ่ี ชม ากในสงครามเยน็ คือ การโฆษณาชวนเชื่อ สงครามจติ วทิ ยา การแขงขันกนั ทางกําลงั อาวธุ และการสรางความนยิ มลทั ธขิ องตน ในประเทศเลก็ ๆ ทอ่ี าจถูกรวมเขามาเปนประเทศบรวิ ารของแตละฝาย สมยั เริ่มตนสงครามเย็น นา จะอยใู นสมยั วกิ ฤตการณทางการทตู ในตอนกลางและปลาย ค.ศ. 1947 เมื่อสหรฐั อเมริกากับสหภาพโซเวียตเกดิ ขัดแยงเร่ืองการจัดต้ังองคการสันติภาพในตุรกี ยุโรปตะวันออกและ เยอรมนี ซง่ึ ทาํ ใหสหรฐั อเมริกาเรม่ิ ตระหนักวา เปน หนา ทข่ี องตน ที่จะตอ งเปนผูน าํ ตอ ตาน แผนการยดึ ครองโลก ของสหภาพโซเวยี ต ทีเ่ ปนผูนาํ ฝา ยคอมมิวนสิ ต การแบง สถานภาพของประเทศตาง ๆ ในสมยั สงครามเย็น คือ 1) ประเทศมหาอํานาจ (Big Powers) คอื ประเทศพัฒนาแลว หมายถึง ประเทศท่ีมีการพัฒนา อุตสาหกรรม มีภาระหนาที่นาํ อารยธรรมไปเผยแพรย ังประเทศท่ีลาหลัง ทั้งหมดเปน การสรางลกั ษณะจักรวรรดิ นิยมใหมในคริสตศตวรรษที่ 19 คือ การลาเมืองข้ึนและยึดครองประเทศอาณานิคมในแอฟริกาและเอเชีย มีจดุ ประสงคคือความตอ งการตลาดระบายสินคา ตอ งการแรงงานราคาถกู และตองการทรัพยากรในประเทศนน้ั มาใชประโยชนในงานอุตสาหกรรมของตน 2) ประเทศดอยพัฒนา (Underdeveloped Countries) คือประเทศที่ยังไมมีการพัฒนา อุตสาหกรรม หรือมกี ารพฒั นาในระดับตา่ํ ประเทศเหลา น้จี ะมีความลาหลงั ทางเทคโนโลยีมีฐานะเปน ประเทศ พึ่งพา (dependent) และตอ งเผชญิ หนา การลา อาณานิคมของชาตติ ะวันตก สวนมากเปน ประเทศในเอเชยี และ แอฟรกิ า 3) ประเทศอภิมหาอํานาจ (Super Powers) คือ ประเทศที่ปรากฏความสําคัญขึ้นมาแทน มหาอํานาจตะวันตก ภายหลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง มีลักษณะเปนประเทศภาคพ้ืนทวีป (Continental Character) มีการพัฒนาเทคโนโลยีระดับสูง และเปนผูนําลัทธิการเมืองสองฝายคือ ฝายโลกเสรีและ ฝายคอมมวิ นิสต ระยะสงครามเยน็ 1) ค.ศ. 1947 - 1949 เปน ระยะความตงึ เครียดเนือ่ งจากการเผชิญหนา กันระหวา งอภิมหาอํานาจ แตยังไมมีการประกาศสงครามหรือใชกําลัง เปนสมัยการประกาศแผนการทรูแมน (Truman Doctrine)

107 วนั ที่ 12 มนี าคม ค.ศ. 1947 กบั การประกาศแผนการมารแชลล เพื่อฟนฟูบูรณะยุโรป (The marshall Plan) การขยายอทิ ธพิ ลของสหภาพโซเวียตในยุโรปตะวันออก และการแบง แยกเยอรมนี เปนตน 2) ค.ศ. 1950 - 1960 เปนระยะท่ีสาธารณรัฐประชาชนจีนไดเขามามีบทบาทในวงการเมือง ระหวางประเทศ เกิดวิกฤตการณหลายอยาง เชน สงครามเกาหลี สงครามเวียดนามและการรกุ รานทเิ บตของจนี เปนตน 3) ทศวรรษท่ี 1960 เปนระยะการอยูรวมกันโดยสนั ติ (Peaceful Co-existence) คอื การสราง ความสมั พนั ธแบบไมเ ผชิญหนา ซ่ึงเปน นโยบายของ นายนิกิตา ครุสชอฟ ทาํ ใหเ กิดความคิดแตกแยกระหวาง สหภาพโซเวยี ตกบั สาธารณรัฐประชาชนจนี 4) ทศวรรษท่ี 1970 เปน ระยะการผอ นคลายความตึงเครียด (Détente) คือ การแตกขั้วอํานาจ ระหวา งสองคายประชาธปิ ไตย และคอมมวิ นิสตทีส่ หรฐั อเมริกากับสหภาพโซเวียตเผชิญหนากันอยูไดเพ่ิมข้ัวจีน คอมมิวนิสตเขา มา เร่ิมจากการไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ในป ค.ศ. 1972 ของประธานาธิบดีริชารด นิกสนั ของสหรฐั อเมรกิ า เยือนสหภาพโซเวียต ในป ค.ศ. 1973 และตอ มาประธานาธิบดีเบรสเนฟ ของสหภาพ โซเวียตก็เดนิ ทางไปเยอื นสหรัฐอเมริกาดว ย 5) ค.ศ. 1985 - 1991 นายมิคาอิล กอรบาชอฟ (Mikhail Gorbachev) เสนอนโยบาย กล็าสนอสต-เปเรสทรอยกา (Glasnost-Perestroika) หรอื นโยบายเปด-ปรับ (openness-reconstructuring) ทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ของสหภาพโซเวยี ต จนถึง ค.ศ. 1989 เริม่ มกี ารทาํ ลายกาํ แพงเบอรล ิน และเยอรมนี ตะวันออกกบั ตะวนั ตกสามารถรวมประเทศสาํ เรจ็ ใน ค.ศ. 1990 - 1991 ประเทศกลมุ บอลตกิ (ลิทัวเนีย ลัตเวีย เอสโตเนยี ) ก็ขอแยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต นายมิคาอลิ กอรบ าชอฟ ไดเปนประธานาธบิ ดจี ากการเลอื กตงั้ ในสภาแทนการแตง ตัง้ โดยพรรค คอมมิวนิสตดังท่ีผานมา มีการประชุมสุดยอดที่กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เปนการยุติสงครามเย็น แตเกิด รัฐประหารใน ค.ศ. 1991 เปด ทางใหน ายบอริส เยลตซ นิ โดง ดังในฐานะผสู ามารถปราบกบฏ และเตรยี มการตงั้ เปน ประเทศเครอื รัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States) ในเดอื นธนั วาคม นายกอรบ าชอฟ ลาออกจากตําแหนงประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต เปนการยุติความคงอยูของสหภาพโซเวียต คงให สหรฐั อเมริกาเปน อภมิ หาอาํ นาจผูน ําโลกเพียงชาตเิ ดยี วและ ถือวา เปนการยุติสงครามเยน็ ดว ย จากเหตุการณประวัติศาสตรที่ผานมาสงผลใหประเทศตาง ๆ ในเอเชียมีการเมืองการปกครอง ในรูปแบบประชาธิปไตยมากยิ่งขึน้ และแมแตประเทศสงั คมนยิ ม เชน สหภาพโซเวยี ต รัสเซียไดพ ัฒนาการเมือง การปกครองมาเปน สงั คมนยิ มสมยั ใหมม ีการเปดประเทศและพฒั นาประเทศใหแ ขง็ แกรง ดานเทคโนโลยีและ เศรษฐกิจย่งิ ขึ้น การสิ้นสดุ สงครามเยน็ ในทวีปเอเชีย ประเทศทวีปเอเชียอยูภายใตอิทธิพลของสังคมเย็น ระหวางรัสเซียและอเมริกาซ่ึงพยายามขยาย อิทธิพลมายังประเทศตาง ๆ ในเอเชีย เปนการแยงชิงทรัพยากรของมหาอํานาจทั้งสองแตรัสเซีย ซึ่งเปน ตนแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสตท่ีจีนรับมาและพัฒนาใหเหมาะสมกับตนเอง จีนจึงเปนประเทศ มหาอํานาจในเอเชยี ท่มี ีอทิ ธิพลตอ ประเทศตา ง ๆ แทนรัสเซียดังน้ัน สงครามเย็นที่เริ่มมีในเวียดนาม กัมพูชา

108 เกาหลี จนปะทุ มาเปนสงครามเย็นชิงประชาชนเพ่ือลัทธิการเมืองการปกครองจึงมีประเทศผูสนับสนุน คือ อเมริกา และจีน คนละฝายจนกระท่ังเวียดนามแบงประเทศเปน 2 ฝาย และมารวมกันเปนประเทศเดียว ในทส่ี ดุ แตเกาหลยี งั แบงแยกเปน 2 ประเทศอยู คือ ลัทธิการเมืองแบบประชาธิปไตยและสังคมนิยม จึงเปน การสนิ้ สุดสงครามเยน็ ในเอเชีย

109 บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร สาระสําคญั เศรษฐศาสตรเ ปนวิชาทีว่ า ดว ยเรื่องเก่ยี วกับการกระจายทรพั ยากรทีม่ อี ยอู ยา งจํากัดใหสามารถสนอง ตอ ความตอ งการของคนในสงั คมอยางเปน ธรรม การพฒั นาเศรษฐกจิ เปน การเปลย่ี นแปลงโครงสรา งทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ใหอยูในภาวะทเี่ หมาะสม โดยแตละประเทศจะมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ ท่ไี มเ หมือนกนั ท้งั นขี้ ้นึ อยกู บั ทรัพยากรการผลติ สภาพภูมิศาสตร ตลอดจนพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมท่ีแตกตาง กัน โดยมีเปาหมายเหมือนกัน คือ ตองการใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประชากรของประเทศ มมี าตรฐานการครองชีพสูงข้นึ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตรมหภาคและจลุ ภาคได 2. อธบิ ายพรอมยกตวั อยางระบบเศรษฐกิจไทยได 3. เปรยี บเทียบเศรษฐกิจของไทยกบั ประเทศในอาเซียนได 4. ยกตวั อยา งผลกระทบของการเปลีย่ นเศรษฐกจิ ท่ีมตี อประเทศไทยได 5. รแู ละเขา ใจสทิ ธิพนื้ ฐานของผบู รโิ ภคได 6. นาํ เสนอผลการเปรยี บเทียบสภาพเศรษฐศาสตรข องประเทศในทวีปเอเชีย 7. รูและเขาใจบทบาทและความสําคัญของการรวมกลุมประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ขอบขา ยเนอื้ หา เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของเศรษฐศาสตรม หภาคและจลุ ภาค เรอ่ื งท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย เรื่องที่ 3 คณุ ธรรมในการผลติ และการบริโภค เรอ่ื งท่ี 4 กฎหมายและขอ มลู การคุมครองผบู ริโภค เร่อื งที่ 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในเอเชีย เรอ่ื งที่ 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน

110 เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรมหภาคและจลุ ภาค ความหมาย เศรษฐศาสตร เปนวิชาวาดวยการผลิต การจําหนาย จายแจก และการบริโภค ใชสอยส่ิงตาง ๆ ของชุมชนมี 2 สาขา คือ เศรษฐศาสตรจุลภาค ไดแก เศรษฐศาสตรภาคท่ีศึกษาปญหา เศรษฐกิจสวนเอกชน หรือปญหาการหาตลาด เปนตน และเศรษฐศาสตรมหภาค ไดแก เศรษฐศาสตรภาค ที่ศึกษาปญหา เศรษฐกิจของประเทศโดยสวนรวม เชน ปญหาเรื่องรายไดของประชาชาติ การออมทรัพย ของประชากรปญหาการลงทุน (พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 : http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp) เศรษฐศาสตร เปน ศาสตรห รอื สาขาความรูท ี่วาดวยการจดั สรรทรพั ยากรทม่ี จี าํ กดั อยา งมีประสทิ ธภิ าพ เพือ่ ประโยชนสงู สดุ ของสงั คม ดังนั้น ไมว า จะเปน ดา นธรุ กิจ การผลติ การขาย การตลาด ดานสุขภาพ ดา นการ กอ สรา ง ดา นสถาปตยกรรม วิศวกรรม ดานการคา การขนสง จะเก่ียวของกับการจัดสรรทรัพยากรอยางไร จะใชอยางไร จะระดมและแบงทรัพยากรอยา งไรใหเกดิ ประสทิ ธิภาพ คุมคาสูงสุด จะเปนเรื่องท่ีเก่ียวของกับ เศรษฐศาสตรทั้งสิ้น เศรษฐศาสตรจึงนํามาใชอยางกวางขวาง นอกเหนือจากการใชเพื่อดําเนินนโยบายและ มาตรการเพื่อการบริหารจัดการประเทศ เพื่อใหเกิดผลดีตอเศรษฐกิจและสังคม นอกจากน้ีเศรษฐศาสตร เปนศาสตรท่ีมีพลวัตและการพัฒนาเสมอ เรียกวาเปนศาสตรที่ไมตาย ทั้งดานเทคนิค ทฤษฎี และการ ประยุกต จึงเปนศาสตรท่ีจะอยูคูโ ลกเสมอ และที่สําคัญนักเศรษฐศาสตรตองเปนผูใฝรู ใชสติปญญา และมี ดา นคุณธรรม จริยธรรม ความเปน ธรรม กเ็ ปน ประเดน็ ทนี่ ักเศรษฐศาสตรไ มล ะเลย เพราะจะจดั สรรทรัพยากร เพ่ือใหสังคมไดประโยชนส ูงสดุ ตอ งใชท้ังหลกั ประสิทธิภาพและเสมอภาคดว ย ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรสามารถจาํ แนกไดเ ปน 3 ลักษณะ ดงั นี้ 1. ผูบรโิ ภค ชวยใหผูบริโภคสามารถปรบั ตัวใหเ ขา กับสถานการณท างเศรษฐกิจของประเทศและของ โลกได รแู ละเขา ใจในนโยบายทางเศรษฐกจิ ทร่ี ัฐบาลกาํ หนดจะสง ผลกระทบผบู รโิ ภคอยา งไร ชว ยใหเตรียมตัว ในการวางแผนใชจ าย หรอื ออมภายในครอบครวั หรอื การประกอบอาชพี ได 2. ผูผลิต ชวยใหผูผลิตสินคาและบริการสามารถวิเคราะหและวางแผนการผลิตไดวาจะผลิตอะไร จํานวนเทาไร ผลิตอยางไร สําหรับใคร ซึ่งตองคํานึงถึงในทุกข้ันตอนกอนสินคาและบริการถึงมือผูบริโภค เพ่ือใหสามารถแขงขนั ในตลาดได 3. เศรษฐศาสตร ชวยใหรัฐบาลเขาใจพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน ผูผลิต ปจจัยในการ กําหนดสนิ คา ตาง ๆ ความสมั พันธระหวา งตลาดตา ง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ การกําหนดนโยบายและมาตรการ เพื่อมาใชแกป ญหาและพฒั นาเศรษฐกจิ เศรษฐศาสตรจุลภาค เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจยอยซึ่งเปนสวนหน่ึงของระบบเศรษฐกิจ ทงั้ ระบบ เชน การศกึ ษาพฤตกิ รรมในการบรโิ ภค ความชอบ การเลือก ความพงึ พอใจ ตอสนิ คาและบริการ เพอ่ื นาํ ผลการศึกษามากาํ หนดราคา การคดิ ตนทุน การกระจายสนิ คา และบริการ เปน ตน

111 ขอบขา ยของเศรษฐศาสตร แบงเปน 2 ดานใหญ ๆ คือ 1. เศรษฐศาสตรมหภาค เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจเปนสวนรวม เชน การผลิต รายได การบริโภค การออม การลงทุน การจางงาน การภาษีอากร การธนาคาร รายไดประชาชาติ การคา ระหวางประเทศ เปนตน 2. เศรษฐศาสตรจุลภาค (Micro Economics) หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจ สว นยอ ย ซงึ่ เปน สวนประกอบของระบบเศรษฐกจิ สวนรวม เชน ศกึ ษาพฤติกรรมของผูบริโภคแตละราย หรือ กลุมของผูบริโภคสินคาแตละชนิด พฤติกรรมของผูผลิตแตละราย กลุมผูผลิตสินคาแตละชนิด การกําหนด ปริมาณซ้ือของผูบริโภค การกาํ หนดปริมาณการผลติ ของผผู ลติ การกาํ หนดราคาปจจยั การผลิต ตลอดจนการ ทาํ งานของกลไกราคา เศรษฐศาสตรมหภาค (Macro Economics) เปนการศึกษาพฤติกรรมของระบบเศรษฐกิจ โดยสวนรวม ศกึ ษาถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะหน่ึง เชน ศึกษาเรอื่ งรายไดป ระชาชาติ การจา งงาน การออม การลงทุน การเงนิ การธนาคาร การคลังรัฐบาล การคา ระหวางประเทศ การพฒั นาเศรษฐกจิ เปนตน เศรษฐศาสตรท้ังสองแนวน้ีมีความสําคัญเทาเทียมกัน การศึกษาแขนงใดแขนงหน่ึง จะทําให ความเขา ใจในการทาํ งานของระบบเศรษฐกจิ เปน ไปอยางไมค รบถว น เพราะทงั้ สองแขนงตางเปน สวนประกอบ ซึ่งกนั และกัน ฐานความรูของการศึกษาเศรษฐศาสตร ในการศึกษาเศรษฐศาสตรควรเขาใจแนวคิดและคําศัพท เพ่อื เปน พนื้ ฐานในการศึกษาดังนี้ 1. ความตองการ (Wants) หมายถึง ความปรารถนาที่จะไดส่ิงตาง ๆ มาบริโภค เพ่ือตอบสนอง ความจาํ เปน ในการดํารงชวี ติ และเพือ่ อาํ นวยความสะดวกตาง ๆ ซ่ึงความตอ งการจะเปนกลไกสําคัญเบ้ืองตน ท่ีกอ ใหเ กิดกิจกรรมตา ง ๆ ทางเศรษฐกจิ ตามมาอกี มากมาย 2. ทรัพยากร หมายถึง สิ่งทั้งหลายท่ีสามารถนํามาใชในการผลิตหรือสรางใหเกิดเปนสินคาและ บรกิ าร ทรพั ยากร แบง ออกไดเปน 2 ประเภท คือ 2.1 ทรพั ยากรมนษุ ย เปน ทรพั ยากรทสี่ ําคัญเปน อยา งยงิ่ ในการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ 2.2 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละทรัพยากรท่ีมนุษยสรางขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติเปนทรัพยากรที่มีอยู อยา งจาํ กดั เชน แรธาตุ ท่ีดิน นา้ํ มนั ปา ไม แหลง น้าํ เปน ตน ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้นเปนทรัพยากรที่ผลิตขึ้นจากการใชทรัพยากรธรรมชาติเปนวัตถุดิบ เชน เครื่องมอื เครอ่ื งใช เคร่ืองจักร อาหาร เสือ้ ผา เปน ตน ตวั อยา งเชน ถารัฐบาลใชจา ยงบประมาณแผน ดิน สรา งถนน 1 สาย ใชเงนิ 20,000 ลา นบาท การใช จา ยของรฐั บาลผานบริษทั ธุรกจิ ที่รับเหมากอสรางถนน ทําใหมีการจางงานมากขึ้น ซือ้ วัสดุกอสรางมากขนึ้ ทาํ ใหป ระชาชนทเ่ี กี่ยวขอ งมีรายไดมากข้ึน เมื่อมีรายไดมากข้ึนก็จะมีอํานาจซ้ือสินคาและบริการมากขึ้น คือ จะมอี ปุ สงคตอสินคาบรกิ ารมากขน้ึ

112 เรือ่ งที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย ระบบเศรษฐกจิ กอ นทีจ่ ะเรยี นรถู ึงระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เราควรเขาใจถึงความหมายของระบบเศรษฐกิจ กนั กอ น ระบบเศรษฐกิจ คือ กลุมหรือหนวยธุรกิจท่ีรวมตัวกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยอยูภายใต รปู แบบของการปกครอง จารีตประเพณี สงั คม และวฒั นธรรมของแตล ะประเทศ เพ่ือกําหนดวาจะผลิตอะไร ปรมิ าณมากนอยเทาใด และใชว ิธีการผลิตอยา งไร เพือ่ ตอบสนองความตองการของหนวยครัวเรือน หรือกลุม ผูบรโิ ภคหรือประชาชนนนั่ เอง ระบบเศรษฐกิจของแตละประเทศในโลก มคี วามแตกตา งกนั ทัง้ นข้ี น้ึ อยูกับรูปแบบการปกครองและ จารีตประเพณี โดยท่ัวไปแลวแตละประเทศไดมีการพัฒนาระบบเศรษฐกิจแบบตาง ๆ ข้ึน เพ่ือแกไข ขอ บกพรองของระบบเดมิ ท่ีมอี ยู ดังน้นั จะเห็นวา ในปจจบุ นั จะมรี ะบบเศรษฐกจิ อยู 3 แบบ คือ ระบบเศรษฐกิจ แบบเสรีนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ ม และระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจท่ีเอกชนหรือประชาชนทั่วไป มีเสรีภาพในการ ตัดสินใจทํากิจกรรมตาง ๆ ทางเศรษฐกิจ มีท้ังการผลิต การบริโภค การซ้ือขาย แลกเปล่ียน การประกอบ อาชพี การจดั ตงั้ องคการทางเศรษฐกิจ รวมทัง้ การเปน เจาของทรพั ยสิน โดยรฐั บาลจะไมเ ขามาเกี่ยวขอ ง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลจะเปนผูกําหนดและวางแผน ในการทํากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ โดยรัฐบาลเปน ผูตดั สนิ ใจในการดาํ เนินเศรษฐกิจท้งั หมด เอกชนไมมีเสรีภาพ ในการตดั สนิ ใจในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจแบบผสมนี้เกิดข้ึนเนื่องจากปญหาและ ขอบกพรองของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและแบบสังคมนิยม โดยจะมีทั้งการใชกลไกราคา เปนการ กําหนด และการวางแผนมาจากรัฐบาลสวนกลาง กลาวคือ มีท้ังสวนที่ปลอยใหประชาชนตัดสินใจดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง และสวนที่รัฐบาลพรอมทั้งเจาหนาท่ีเขาไปควบคุมและวางแผนการทํากิจกรรม ตาง ๆ ทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในยุคปจจุบันมีแนวโนมจะเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบผสมมากขึ้น จะเหน็ ไดจ ากการท่ีรฐั บาลไดใ หโอกาสประชาชนมเี สรภี าพทํากิจกรรมทางธุรกิจไดมากข้ึน โดยอาศัยกลไกราคา เปนเครอ่ื งมือในการตดั สินใจแตก ิจกรรมทางธรุ กิจในบางลักษณะกย็ งั มีความจําเปนตองใชวิธีการควบคุมหรือ ดาํ เนนิ การโดยรัฐ เชน กิจการไฟฟา ประปา โทรศัพท ถนน เปนตน

113 อยางไรกต็ ามระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทยนับต้ังแตสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1892) ซึ่งเปน ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม มีการสงเสริมใหมีการคาโดยเสรีและกวางขวาง พอมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - 2310) จะเปนระบบเศรษฐกจิ แบบศักดินา ทาํ การเกษตรเปน พน้ื ฐาน ประชาชนทําการผลิตแบบ พอยงั ชพี รายไดห ลกั ของรฐั บาลมาจากสวยและภาษีอากร และเรม่ิ เปลย่ี นแปลงเปนระบบเศรษฐกิจแบบผสม ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. 2325 - 2398) โดยลักษณะระบบเศรษฐกิจจะเปนแบบกํ้ากึ่งกัน ระหวางเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ และเศรษฐกิจแบบตลาด กลา วคอื มกี ารทาํ การเกษตรเพอื่ บริโภคเอง และทํา เกษตรเพื่อการคา แตการทําเพ่ือการคาจะเปนลําดับรอง นอกจากการทําการเกษตรแลว ในสมัยกรุง- รัตนโกสินทรต อนตนนี้ ยังไดเ ริ่มมีการอุตสาหกรรมขนั้ ตน เกดิ ขนึ้ ดว ย เชน อุตสาหกรรมเหมอื งแร และนํา้ ตาล- ทราย เปน ตน ตอจากนน้ั หลงั ชว งการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ระหวาง พ.ศ. 2475 - 2504 ระบบเศรษฐกิจไทย เปลย่ี นแปลงไปมาก เนอื่ งจากประเทศไทยไดเ ปด การคาเสรีกับประเทศตะวันตกตามขอ ตกลงใน “สนธิสัญญา เบาวร ่ิง” เปนผลใหพลังการผลติ ไมพัฒนา และไมสามารถจะแขงขันกับคูแขงทางการคาท้ังหลายได ผลผลิต ที่พอจะกาวหนาและมีคุณภาพสูง ก็ถูกจํากัดดวยนายทุนตางชาติ และนายทุนเหลานั้นสามารถควบคุม เศรษฐกิจไทยได นอกจากนภ้ี ายหลงั จากสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 (พ.ศ. 2488) ส้นิ สุดลง ประเทศไทยตองประสบ กับปญหาทางเศรษฐกิจหลายประการ เชน ปญหาการขาดแคลนสินคาอุปโภคบริโภค ปญหาเงินเฟอ ปญหา การขาดแคลนเงินตราตางประเทศ และปญ หาจากการท่ีตองปฏิบัติตามขอตกลงตามสัญญาสมบูรณแบบกับ ประเทศอังกฤษ ดังน้ันในชวงน้ีประเทศไทยไดมีการแกปญหา โดยมีการออกกฎหมายควบคุมราคาสินคา หา มกักตนุ สินคา ใหใ ชข องท่ีผลติ ขึน้ ในประเทศ มีการเปดธนาคารของคนไทยเพมิ่ มากข้ึน และใหธนาคารเปน แหลงเงินทุนไปทําธุรกจิ รัฐบาล จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ไดใชนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม และการขยายตัว ของทนุ นิยมโดยรัฐ เชน รฐั เขามาสง เสรมิ ใหมกี ารประกอบการอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม สาธารณูปโภค ฯลฯ

114 สงเสริมใหคนไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจมากข้ึน เชน มีการสงวนอาชีพบางประเภทใหคนไทย สวนดาน อุตสาหกรรม รัฐบาลก็จะเขา ไปดําเนินการเอง นับตั้งแต พ.ศ.2504 เปนตนมา ระบบเศรษฐกิจของไทยเปล่ียนแปลงมากอันเนื่องมาจาก การเจริญเติบโตทางดา นประชากร และปญหาดานทรัพยากรซึ่งมีจํากัด โดยรัฐบาลซ่ึงเปนตัวแทนของสังคม ตองเขามาทาํ หนา ทีเ่ ปนผจู ดั ทําเพือ่ แกไขปญหาตา ง ๆ ในชวงนีเ้ องจึงทําใหประเทศไทยใหความสําคัญในการ วางแผนการพฒั นาเศรษฐกจิ โดยรฐั บาลและประชาชนรวมกันดําเนินการ ซึ่งอาจกลาวไดวาระบบเศรษฐกิจ ไทยไดเขาสรู ะบบเศรษฐกจิ แบบผสม โดยมกี ารวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและไดเริ่มจัดทําเปนแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาตขิ ้ึน โดยเริม่ ต้งั แตฉบับที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2504 มาจนถึงปจจุบัน คือ ฉบับท่ี 11 ซ่ึงมี กําหนดวาระของแผน ดังน้ี (1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2504 - 2509 (2) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2510 - 2514 (3) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2515 - 2519 (4) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2520 - 2524 (5) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 5 พ.ศ. 2525 - 2529 (6) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530 - 2534 (7) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 7 พ.ศ. 2535 - 2539 (8) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 8 พ.ศ. 2540 - 2544 (9) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 9 พ.ศ. 2545 - 2549 (10) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 10 พ.ศ. 2550 – 2554 (11) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 11 พ.ศ. 2555 – 2559 ปญหาเศรษฐกจิ ของไทย ประเทศไทยไดชื่อวาเปนประเทศท่ีกําลังพัฒนา (Developing country) เหมือนกับประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชยี อีกหลายประเทศ ท้ังน้ี เน่อื งจากประเทศไทยประสบปญ หาทางเศรษฐกิจหลายประการท่สี าํ คัญ คอื 1. ความแตกตา งของรายได ผลจากการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศในอดตี ที่ผา นมา มกี ารขยายตวั ทางเศรษฐกิจเปนไปในลักษณะท่ีขาดความสมดุล ระหวางประชาชนในเมืองกับชนบทยังผลใหเกิดปญหา ความแตกตางทางรายไดอยางเห็นไดชัด ประชาชนในชนบทยังยากจนมากกวา 10 ลานคน หรือประมาณ รอยละ 90 ของประชาชนในชนบท จากการสํารวจพบวาผูประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีรายไดต่ํากวาผูท่ี ประกอบอาชีพอุตสาหกรรม 6 เทาตัว พาณิชยกรรม เกือบ 10 เทาตัว และดานบริการกวา 4 เทาตัว อีกท้ัง ยงั ตํ่ากวารายไดเฉลี่ยของประชาชนในชาติดวย ความแตกตางของรายได ผูประกอบอาชีพดานตาง ๆ ยังคง ปรากฏอยใู นปจ จบุ ัน ประชาชนท่มี รี ายไดเ ฉลี่ยตํ่าสดุ ของประเทศอยูใ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. สนิ คาข้ันปฐม เปนสินคาพ้ืนฐานของคนไทย อันไดแก สินคาดานการเกษตร เปนสินคาผลิตผล จากการทาํ นา ทาํ ไร ทําสวน เลี้ยงสัตวแ ละการประมง ลกั ษณะสนิ คาเกษตรไทย ในปจจุบันราคาผลผลติ ตกต่ํา

115 เปน สาเหตใุ หเ กษตรกรมรี ายไดน อย รายไดไมค อ ยจะพอกับรายจาย ถาเปนเกษตรกรรายยอย มักจะประสบ ปญหาเกีย่ วกบั ราคาผลผลติ เสมอ อยางไรก็ตามสนิ คาผลผลิตขน้ั ปฐมของคนไทย ถาพิจารณาในภาพรวมของประเทศสินคาประเภทนี้ ยังเปน สนิ คาสง ออกที่สาํ คัญของประเทศ และทาํ รายไดใหก ับประเทศปล ะมาก ๆ 3. การตลาด เปนกลไกท่ที าํ ใหผูซ ้ือและผขู ายมาพบกัน และเกิดมีการแลกเปล่ยี นกันในกระบวนการ แลกเปลี่ยนนั้น ตลาดตองทําหนาที่เก่ียวกับการจัดซ้ือสินคา การเก็บรักษาสินคา การขายสินคาและบริการ การจาํ หนา ยมาตรฐานสนิ คา การขนสง การยอมรับความเสีย่ งภยั และการเงนิ ลักษณะทางการตลาดของไทยมที งั้ เปนตลาดแบบผกู ขาดและตลาดแบบก่ึงแขง ขัน กึ่งผูกขาด ทว่ี าเปน ตลาดแบบผกู ขาดนั้น เปนตลาดท่มี ผี ูซื้อและผขู ายเพยี งรายเดยี ว เชน การผลติ บุหร่ขี องโรงงานยาสูบ ลักษณะ ของตลาดแบบนี้ ผขู ายเปนผูกําหนดราคาสนิ คา แตเ พยี งผูเดียว โดยไมตอ งระมัดระวังวาจะมีผูแขงขัน สําหรับ ลักษณะของตลาดอกี แบบหนึง่ ที่เปน ก่ึงแขงขันกึ่งผูกขาดนั้นเปนลักษณะของผลผลิตที่มาจากผูผลิตรายใหญ เพียงไมก ่ีราย เชน บริษัทผูผลิตเครื่องดื่ม บริษัทผูผลิตสุรา บริษัทผูผลิตเหลานี้จะมีผูผลิตนอยราย และมีการ แขง ขันกันในการที่จะขายสนิ คา ของตน แตจ ะรวมตัวกนั เพือ่ ขึ้นราคาสนิ คา หรอื กาํ หนดราคาสินคา ไดง าย ตลาดสินคาไทยอกี อยา งหนงึ่ เปนตลาดสนิ คา ที่มีผูซื้อและผขู ายจาํ นวนมาก ซง่ึ ตลาดเหลา นมี้ ีอยทู ่ัวไป ทกุ จงั หวดั อําเภอ ตําบลและหมูบาน การตลาดของไทยยังมีปญหาสินคาสวนใหญตกอยูในกลุมบุคคลเพียง ไมก่ีกลุม การท่ีมีกลุมผลประโยชนเหลานี้ข้ึน ถาเปนกลุมท่ีมีคุณธรรมก็จะกระจายรายไดโดยกําหนดราคา ท่ีเหมาะสม ไมคิดกําไรมาก แตถากลุมบุคคลเหลานี้เปนบุคคลท่ีเห็นแกได กลุมเหลานี้ก็จะรวมกันบีบผูผลิต

116 ใหขายผลผลิตในราคาตํ่า ซ่ึงสรางความเดือดรอนใหแกประชาชน นอกจากน้ัน การกําหนดราคาสินคาของ เมอื งไทยเรายังไมมีมาตรฐานโดยเฉพาะอยา งย่ิง สินคา ดา นการเกษตร 4. การขาดดลุ การคา และดุลการชําระเงิน คําวา ดุลการคา หมายถึง รายรับรายจายจากการคา ระหวา งประเทศ ดุลการคาเปนเพียงสวนหน่ึงของดุลการชําระเงินเทาน้ัน เพราะดุลการชําระเงิน หมายถึง รายงานที่แสดงถึงยอดรายได - รายจาย ที่ประเทศไดรับหรือรายจายใหแกตางประเทศในระยะเวลา 1 ป ฉะน้ันประเทศอาจมีดุลการคาขาดดุล แตมีดุลการชําระเงินเกินดุลก็ได สําหรับดุลการคาของประเทศไทย ในชว งทม่ี ีการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ จะขาดดุลการคากบั บางประเทศ เพราะจะตองเสียคาใชจายในการสั่งซ้ือ เครื่องจกั ร 5. การวา งงาน การวางงานยอ มมผี ลกระทบตอเศรษฐกจิ สงั คม และรวมถึงการเมอื งดวยผลกระทบ ทางเศรษฐกจิ เชน กอ ใหเ กิดความยากจน เปน ผลกระทบถึงปญ หาครอบครวั ปญหาอาชญากรรม ฯลฯ และมี ผลถึงการฝกใฝในลัทธิเศรษฐกิจและลัทธิการเมือง ทําใหเกิดปญหาผูกอการรายได ในทางเศรษฐศาสตร มีการศกึ ษาและกาํ หนดไววา ถาประเทศใดมีอัตราการวางงานเกิน 4% ของจํานวนแรงงานทั้งหมดแลว จะมี ผลกระทบตอ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศนั้นอยางรุนแรง อยางไรก็ตาม ถึงแมอัตราการวางงานจะไมถึง 4% ดังกลา ว กส็ ามารถทําใหเกิดปญ หาสังคมขนึ้ ได 6. การเงินและการชําระหน้ี การกําหนดและควบคุมปริมาณเงินใหพอดีกับความตองการและ ความจําเปนในการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ เปนสิ่งจําเปนท่ีรัฐบาลจะตองกําหนดเปนนโยบายไว เพราะถาปริมาณเงินทใ่ี ชห มนุ เวียนในระบบเศรษฐกจิ มีมากเกนิ ไป หรือนอ ยเกินไป เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ปรมิ าณ สินคา หรือบรกิ าร รัฐบาลจะตอ งเขาไปแกไข โดยมอบหมายใหธ นาคารแหงประเทศไทยเปนผูควบคุมปริมาณเงิน ทาํ ได 3 ทาง คือ

117 1. การนาํ หลักทรพั ยออกขายสูตลาด ถารัฐบาลตองการเก็บเงินก็ขายหลักทรัพยรัฐบาล ถาเงิน ในมอื ฝด ลงรฐั บาลกร็ บี ซอื้ หลกั ทรพั ยก ลบั มาอีก ซง่ึ จะเปน การปลอ ยเงินไปสปู ระชาชนเพื่อใหเกิดเงินหมุนเวยี น 2. การเพ่ิมหรือลดอัตรารับชวงซื้อลดตั๋วเงิน ทําใหธนาคารพาณิชยกูยืมเงินจากธนาคารแหง ประเทศไทยเพมิ่ ขนึ้ หรือลดลง ดวยวิธีใหเงินสดในทองตลาดลดลง หรือถาใหเงินสดในทองตลาดมีหมุนเวียน คลองตัวกต็ อ งกูเ งนิ จากธนาคารกลางเพิ่มขนึ้ เงนิ สดในมือประชาชนจะมีมากขึ้น 3. การเพิ่มหรือลดอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย เมื่อพิจารณาฐานะการคลังของรัฐบาล ปง บประมาณ 2540 - 2541 เปน ชว งทเ่ี ศรษฐกจิ ของประเทศตกต่ํามาก จะพบวาสถานภาพเงินคงคลังยังไมมี ความมั่นคง รัฐบาลตองประหยัดและจะตองกูเงินจากตางประเทศมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ซึ่งปจจุบันประเทศไทยเปนหนี้ตางประเทศจํานวนมาก รัฐบาลตองตั้งงบประมาณชดใชหน้ีสินปละนับเปน หม่ืนลา นบาท ซง่ึ ยังผลใหงบประมาณที่จะนาํ มาใชในงานพัฒนามนี อ ยมาก 7. เงินเฟอ (Inflation) เงินเฟอ หมายถงึ ภาวะที่ราคาของสินคาสูงข้ึน หรือหมายถึงภาวะท่ีคาของ เงนิ ลดลง สงิ่ ทจี่ ะทาํ ใหเ ห็นชดั ถงึ ภาวะเงนิ เฟอ คอื ดชั นผี ูบริโภค เงินเฟอมี 2 ประเภท คือ 1. เงินเฟออยางออน คือ ภาวะท่ีราคาของสินคาและบริการสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในอัตราเล็กนอย ราวปล ะ 2.3 % และไมเ กนิ 5 % 2. เงินเฟออยางรุนแรง คือ ภาวะท่ีราคาสินคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ดัชนีราคา จะสูงข้ึนกวา รอยละ 10 ตอป การทเี่ กดิ ภาวะเงนิ เฟอนั้น ยอ มจะทาํ ใหเกิดผลกระทบกระเทือน ดงั นี้ คอื 1. ทาํ ใหเกดิ ผลเสยี หายแกก ารพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของชาติ 2. ทําใหเกดิ ภาวะชะงักงนั ทางเศรษฐกจิ เพราะคาของเงนิ ลดลง 3. เจาหนีท้ วั่ ไปจะเสยี ประโยชนจากมูลคาหนท้ี เ่ี ปล่ยี นแปลง คอื 4. ผูมีรายไดจากคาจาง เงินเดือน และผูมีรายไดคงท่ีอ่ืน ๆ จะเดือดรอนจากการครองชีพ เพราะรายไดไ มท ันกับรายจา ย 5. รัฐบาลประสบปญหามากข้ึนในการบริหารประเทศเพราะรัฐบาลตองกูเงินมากขึ้นรัฐบาล ตอ งหาเงินมาใชใ หพ อกับอัตราการเฟอ ของเงนิ ทาํ ใหเ งนิ ทุนสํารองทีเ่ ปนเงนิ ตราตางประเทศลดลง ผลจากการท่รี ัฐบาลกําหนดใหค า เงินบาทลอยตัวเม่ือเดือนกรกฎาคม 2540 ทําใหสินคา มีราคา สงู ขนึ้ คา ของเงนิ บาทลดลง ทาํ ใหเ กดิ เงนิ เฟอ ปจจบุ นั เงนิ เฟอ เร่ิมลดลง การเกดิ เงินเฟอมไิ ดม ีแตผ ลเสียอยางเดียว ยังมปี ระโยชนอ ยูบาง กลา วคอื 1. เปน ผลดแี กล กู หนี้ ลกู หนีจ้ ะใชเงนิ ลดลงเมอ่ื เปรียบเทยี บกับภาวะเงินปจ จุบัน 2. เกษตรกรมรี ายไดเ พ่ิมขึ้น เพราะเมื่อเกิดเงนิ เฟอ ราคาผลผลิตทางการเกษตรจะมีราคาสงู ข้ึน 3. ผปู ระกอบธุรกจิ การคา จะไดร บั ผลประโยชนเน่อื งจากเงินเฟอ จะชว ยสงเสรมิ การลงทนุ การคา ทั่ว ๆ ไปใหข ยายตวั มากข้นึ

118 แนวทางพฒั นาเศรษฐกจิ ของไทย การพัฒนาอาชีพและรายได การประกอบอาชีพของคนไทยมีความหลากหลาย มีทั้งขาราชการ พลเรือน ขาราชการตํารวจ ทหาร ลูกจางของทางราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พอคา แมคา ฯลฯ อาชีพ ตา ง ๆ เหลา นีถ้ า จะจัดเปน กลุมอาชีพจะได 3 กลุมอาชีพ ไดแก อาชีพเกษตรกรรม อาชีพอุตสาหกรรม และ อาชพี บริการ 1. อาชีพเกษตรกร ประชากรสว นใหญป ระกอบอาชีพทางการเกษตร ดงั น้นั อาชพี เกษตรจงึ มี ความสําคัญยิ่งสาํ หรบั คนไทย อาชพี เกษตรมที ั้งการทาํ นา ทาํ สวน ทาํ ไร และเลี้ยงสตั ว สินคาเกษตรเปนสินคา ขัน้ ปฐมของไทย และเปน สนิ คาทส่ี งไปขายตางประเทศปล ะหลายหม่นื ลานบาท รฐั บาลพยายามสง เสริมอาชีพ เกษตรมากขึน้ และพยายามเชิญชวนใหเ กษตรกรไทยเปลยี่ นแปลงการปลูกพชื บางชนดิ เม่ือเห็นวา พืชนัน้ มีผูผลิตมากและลน ตลาด ทาํ ใหส ินคาราคาถูก 2. อาชีพอุตสาหกรรม จากขอมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรมพบวา โรงงานอุตสาหกรรม ในประเทศไทยเปน อุตสาหกรรมขนาดใหญเ พียงรอยละ 6 อีกรอยละ 94 เปนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดยอม อุตสาหกรรมขนาดใหญแทนทจ่ี ะจา งคนงานมาก แตกลบั จางคนงานนอย เพราะมีการใชเครือ่ งจกั รแทนแรงคน ฉะน้ันความหวังทีจ่ ะเขาไปรับจางทํางานในโรงงานอตุ สาหกรรมจงึ เปน เร่ืองยาก แนวโนม ของการขยายตวั ทางอุตสาหกรรมนั้น รฐั บาลไดพยายามสง เสรมิ ให เอกชนลงทุน โดยรัฐบาล ใหหลกั ประกัน พรอมทั้งเชิญชวนใหชาวตางประเทศมาลงทุนในประเทศไทยมากข้ึน ถึงกับมีการจัดตั้งเขต อุตสาหกรรมขึ้นท่ี อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยางไรก็ตามการสรางโรงงานขนาดใหญ ไมส งผลตอการ จา งงานเพม่ิ ข้นึ รฐั บาลจงึ พยายามท่ีจะสง เสริมใหมกี ารลงทนุ ในอุตสาหกรรมขนาดยอมเพม่ิ ขน้ึ และขยายการ ลงทนุ ไปยงั ตางจงั หวดั ใหม าก เพื่อหวงั จะใหมีการจางงานในสวนภูมิภาค มีแผนขยายเมืองหลักทั้ง 4 ภาคของ ประเทศ และขยายเขตอุตสาหกรรมไปยังจงั หวดั ใหญ ๆ ดว ย 3. อาชพี บรกิ าร ถาจะแบงเปนกลุมยอ ยจะได 3 กลมุ คอื กลุมท่ีหนึ่ง ประกอบดวย ขาราชการและลูกจางหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ขาราชการ หมายรวมถึง ทหาร ตํารวจ ดวย กลุม อาชีพนีม้ หี นาท่ใี หบ ริการแกประชาชนเพราะเปนลกู จางของรัฐ กลุมที่สอง เปนพวกที่เปนลูกจางหนวยงานเอกชน ตามโรงงานอุตสาหกรรม ไร สวน และตาม บริษัทหางรานตางๆ การจางงานจากสถานบริการเหลานี้ จะอยูในวงจํากัดรับไดจํานวนไมมาก และจาก ความเจรญิ กา วหนาทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหค วามจาํ เปน ในการจา งงานลดลง กลุมท่ีสาม เปนกลุมท่ีประกอบอาชีพอิสระ แนวทางพัฒนาอาชีพในอนาคตน้ัน เนื่องจากทาง ราชการรับบุคคลเขาทํางานนอย หนวยงานเอกชนก็มีการจางงานนอยลง ดวยเหตุนี้แนวโนมตอไป ในแผนพัฒนา ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) อาชีพอิสระมีความจําเปนมากสําหรับประชาชน รัฐบาลก็ได กาํ หนดเปนนโยบายไววา “ใหจดั การศึกษาใหต รงกับความตองการของตลาดแรงงานและใหสามารถประกอบ อาชีพสว นตวั หรอื สรา งงานดวยตนเองใหมากขนึ้ เนน การพฒั นาคุณภาพของประชากรเปน สําคัญ”

119 การพฒั นาตลาดแรงงาน ในป พ.ศ. 2540 ปญหาแรงงานในประเทศไทยเริ่มรุนแรงมากข้ึน โรงงานตาง ๆ หยุดกิจการ มีการ เลิกจางงานมากขึน้ ทําใหเ กิดปญหาการวา งงานท้งั ในลักษณะทีเ่ ปน การวางงาน โดยเปดเผย การวางงานของ ผูมีความรูแตทํางานต่ํากวาระดับรายไดและความสามารถ ตลอดจนปญหาแรงงานเด็ก รัฐบาลจึงไดเรงหา แนวทางและมาตรการตา ง ๆ ทีจ่ ะลดความรนุ แรงดานปญหาใหนอยลง ตลอดจนกําหนดนโยบายที่จะพัฒนา เศรษฐกจิ เพ่อื ใหมงี านทํามากขึน้ ดว ยวธิ กี ารตา ง ๆ เชน 1. การพัฒนาการเกษตรในรูปการเกษตรครบวงจร ต้ังแตการพัฒนาผลผลิตการเกษตร อตุ สาหกรรมท่ีตอ เนอ่ื ง ตลอดจนการจัดการเรื่องตลาดและเสถียรภาพของราคาในพืชหลักท่ีมีอยู การพัฒนา การเกษตรแบบผสมผสานที่เปน การขยายชนดิ พืชและใชพื้นท่ีมากขึ้นในเขตชลประทานและเขตน้าํ ฝน 2. การสรา งงานเกษตรในฤดแู ลง เปนทที่ ราบกนั ทั่วไปวาปญหาในเขตชนบทสวนใหญน ั้นเกดิ ขน้ึ ในฤดูแลง มาตรการที่จะชวยสรางงานทางการเกษตร ไดแก การนําเทคโนโลยีคิดคนมาไดไปปฏิบัติ เชน การทําฝนเทียม ซ่ึงสวนใหญเปนพื้นที่ชนบทยากจน เทคโนโลยีใหม ๆ เหลานี้ไดแก การเพ่ิมประสิทธิภาพ การเพาะปลกู พชื การเลยี้ งสัตว การใชประโยชนจ ากแหลง นํา้ ใหม นี ้ําพอเพยี งในฤดูแลง สงผลใหเกิดผลดีในดาน การประมง การเล้ียงสัตว การเพาะปลูก ตลอดจนการเพ่ิมมาตรการเก่ียวกับไมยืนตนไมโตเร็ว เพื่อใชสอย ในระดับหมูบาน การสนับสนุนเร่ืองตาง ๆ เหลานี้อยางพอเพียง จะกอใหเกิดงานที่มีผลผลิตและรายไดข้ึน อยา งกวา งขวางโดยเฉพาะในฤดูแลง ซึ่งเปนฤดูที่มีปญ หา การวา งงานสงู 3. การสรางงานโดยการสนบั สนนุ อตุ สาหกรรมชนบท สง เสรมิ อตุ สาหกรรมชนบทท่ีใชวัตถุดิบ ทางการเกษตร การสรางงานใหมากข้ึนในตางจังหวัดจะเปนการรองรับแรงงานจํานวนมาก และลดความ จาํ เปนทจ่ี ะอพยพเขามาหางานทาํ ในกรุงเทพมหานคร หรอื นอกทอ งถ่นิ ในขณะนไี้ ดม ีการทดลองการใหบ รกิ าร สนับสนุนอุตสาหกรรมตา งจงั หวัดโดยวิธีระดมสรรพกาํ ลงั ภาครฐั บาลทมี่ ีอยใู นดานทุน เทคโนโลยี การจัดการ และการตลาดในหลายจงั หวัด คอื พิษณโุ ลก สงขลา ขอนแกน และกาญจนบรุ ี 4. การสรางงานโดยการพัฒนาอาชีพนอกการเกษตร การขยายการจางงานในสาขาเกษตร จําเปนที่จะตองขยายงานนอกการเกษตรภายในชนบท เชน โครงการสงเสริมหัตถกรรมและอุตสาหกรรม ในครัวเรอื น ซ่งึ เปน สนิ คาออกทส่ี ําคัญประเภทหนง่ึ ของประเทศไทย โดยเนนการใชวัตถุดิบในทองถ่ินใหมาก ท่ีสุด โดยรัฐบาลตองใหความชวยเหลือ จัดใหมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของท่ีเขาไป ดาํ เนนิ การสง เสรมิ ในเรอ่ื งน้ี ฝก อบรมผทู สี่ นใจใหม คี วามรพู ิจารณาแหลง สินเชือ่ สาํ หรับผปู ระกอบกจิ กรรมและ การตลาด อยา งไรกด็ ีการท่จี ะขยายการผลติ ในกจิ กรรมนอกการเกษตร จาํ เปนตองคาํ นึงถงึ การเตรียมคนและ ฝก คนใหม ฝี มือสอดคลอ งกับความตอ งการของงานนอกการเกษตร แมจะมีแนวนโยบายที่ชัดเจนดังกลาวขางตนแลวก็ตาม แตปญหาเรื่องการวางงานในชนบท จะยงั คงเปนปญหาอยูตอ ไปอกี นาน ดังนน้ั การปรับปรุงนโยบายการพฒั นาการเกษตร เพื่อใหสามารถรองรับ แรงงานชนบทไดเ พ่ิมขึ้น รวมทั้งการเรง รัดขยายอุตสาหกรรมตางจังหวดั เพือ่ จางแรงงานจากภาคชนบทเปนส่ิง ที่จะตอ งดาํ เนินการอยางเอาจริงเอาจงั มากข้ึน

120 5. การเตรียมตัวเขาสูตลาดแรงงาน ถานักศึกษาติดตามขาวทางหนังสือพิมพ จะพบขาว อยเู สมอเกยี่ วกบั การที่มเี ด็ก ๆ ไปทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม ท้ังท่ีอายุยังนอย ยังไมพรอมท่ีจะเขาสูตลาด งาน เด็กเหลา น้จี ะไดคา จา งตาํ่ และบางคร้ังตองประสบภยั อนั ตรายจากการทํางาน ท้ังน้ีเน่ืองจากเด็กเหลาน้ัน ยังไมพรอมที่จะเขาสูตลาดแรงงาน การเตรียมตัวเขาสูตลาดแรงงานนั้นจะตองพยายามใหการศึกษา ดานวิชาชีพแกเด็ก ๆ โดยการปลูกฝงใหเด็กมีความรูสึกท่ีดีตอการประกอบอาชีพการฝกทักษะอาชีพ ทเ่ี หมาะสมกบั วัย มีผลงานอาชพี ของผูเรยี นที่กอใหเ กดิ รายได ซึ่งทาํ ไดโดยการใหการศึกษา ขยายการศึกษาให กวา งขวางทัว่ ถงึ ใหเด็กไดเ รียนอยางนอ ย 12 ป การใหก ารศกึ ษาแกเ ดก็ น้ัน ตอ งจัดหลกั สูตรวิชาชพี เขา ไวใ นหลักสูตรในโรงเรียนดวย ซ่ึงปจจุบัน ก็ไดมีการจัดหลักสูตรวิชาชีพใหเด็กไดเรียนแลว ถาเปนผูท่ีไมไดเรียนอยูในโรงเรียนก็ควรตองขยายการ ฝกอบรมวิชาชพี ระยะสน้ั โดยใชวิชาการทางการศึกษานอกโรงเรียน จัดบรกิ ารฝกอบรมใหทวั่ ถงึ ทั้งในเมือง และชนบทหางไกล เพ่อื ประชาชนเหลานนั้ จะไดมีความรแู ละทกั ษะพรอ มทจ่ี ะประกอบอาชพี ได การพฒั นาผลผลิตและการใชเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม ในการพฒั นาผลผลิตการเกษตรนัน้ เทคโนโลยีมคี วามสําคญั เทคโนโลยี (Technology) คือ วิทยาการซึ่งไดมาโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร รวมท้ังสิ่งท่ีเปน หลกั การ วิธีการ และเครือ่ งมือตา ง ๆ เทคโนโลยีที่ไดนํามาใชเกี่ยวกับการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร ในประเทศไทยเรามีมากมาย เชน การรจู ักใชเครื่องทุนแรง รูจักการใชปุยชนิดตาง ๆ รูจักการปรับปรุงดิน รูจักการผสมพันธุพืชและพันธุสัตว ทัง้ นเี้ พื่อชวยเพม่ิ ปรมิ าณและคณุ ภาพของผลผลติ ทางการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง สิ่งท่ีไดจากการทําเกษตรกรรม และรวมถึงผลิตภัณฑที่ทําจาก ผลติ ผลนัน้ ๆ ดวย ชาวนามอี าชพี ในการทาํ นา โดยการเพาะปลกู ขา วในนา จะเปนโดยการปกดําหรือการหวานก็ได จนขาว ออกรวงและไดเก็บเกยี่ วเพ่ือนํามานวด เมลด็ ขาวท่ีไดน เี้ รยี กวาขา วเปลอื ก ถาเรานําขา วเปลอื กไปสใี นโรงสหี รือ เอาไปดาํ กจ็ ะไดเปน เมลด็ ขา วสีขาว เรียกวา ขาวสาร คนเราจึงไดน าํ เอาขาวสารน้ีไปหุงตมหรือน่ึงเสร็จแลวนี้ จึงเรยี กวา ขาว ดงั นน้ั ขาวจึงเปน ผลผลติ ทางการเกษตร ชาวไรก ม็ ีอาชพี ในการทาํ ไร เชน การทาํ ไรขา วโพด ไรมันสาํ ปะหลัง ไรพ รกิ ในการทําไรน ้ัน ก็ตองเร่ิม ตั้งแตการคัดเลือกพันธุ การเตรียมดินเพ่ือการเพาะปลูก การบาํ รุงรักษาพืชไรจนกวาพืชชนิดนั้น ๆ จะได ดอกไดผ ล เชน ขาวโพดจะตองใหฝ กแลว ชาวไรก ็เกบ็ ฝก ขา วโพดมาสีนําไปเปน อาหารของสตั ว ดงั นัน้ ขาวโพด ท่ไี ดอ อกมาจึงเปน ผลผลิตทางการเกษตร

121 ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรประมาณรอยละ 75 มีอาชีพทางการเกษตร ดังนั้น รายไดสว นใหญข องประเทศจึงไดม าจากการนําผลิตผลทางการเกษตรออกไปจาํ หนายในตา งประเทศ เชน ขาว ขาวโพด ยางพารา มันสาํ ปะหลงั เปน ตน จากหลักฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ บอกวา ประเทศไทย มีเน้ือที่ในการเพาะปลูกเพียงรอยละ 20 ของเน้ือท่ีทั้งหมด ท่ีเหลือนอกนั้นก็เปนที่อยูอาศัย แมนํ้าลําคลอง ถนนหนทาง ปาเขา ปาก็จาํ เปน อยา งย่งิ ทต่ี อ งสงวนไวเพอ่ื เปนการรักษาตน นาํ้ ลาํ ธาร ปอ งกนั นา้ํ ทว ม และเปน การสงวนพันธุสัตวปา อกี ดว ย ผลผลิตทางการเกษตร มีประโยชนมากมาย หรือแทบจะกลาวไดวาผลผลิตทาง การเกษตรเปน ปจจัยสาํ คัญในการดาํ รงชีวิตของมนษุ ยเลยทีเดยี ว ซึ่งอาจจะจําแนกไดดังน้ี 1. อาหาร จะเห็นวามนุษยบริโภคอาหารท่ีไดมาจากผลิตผลทางการเกษตร ดังจะเห็นไดจาก มนุษยบริโภคขาว ขาวสาลี ขาวโพด เปนอาหาร ถึงแมวามีบางประเทศท่ีประชากรของเขาบริโภคอาหาร จาํ พวกขนมหรอื ขนมปง แตขนมเหลานน้ั ก็ทาํ มาจากขาว หรอื ขาวสาลี ดังทเ่ี ราเคยเหน็ แปงชนดิ ตา ง ๆ ทท่ี าํ มา จากขาว เชน แปงสาลีก็ทํามาจากขาวสาลี แปงขาวจาวก็ทํามาจากขาวเจา เปนตน แปงเหลานี้ก็นําไปผลิต เปนพวกขนมตาง ๆ ได หรืออาจจะเปนพวกเครื่องด่ืมตาง ๆ เชน กาแฟ น้ําสม ลวนไดมาจากผลิตผลทาง การเกษตรทัง้ สน้ิ 2. เครื่องนุงหม กเ็ ปนปจจัยสําคญั ของมนษุ ย โดยที่มนุษยส ามารถนาํ ผลิตผลทางการเกษตรท่ีให เสนใยมาทอเปนผา แลวทําเปนเครื่องนุงหมได พืชท่ีใหเสนใย ไดแก ฝาย ปอ และอ่ืนๆ ผลิตผลทางเกษตร ที่นํามาใชเ ปน เครอื่ งนุง หมนี้ ถือวาเปน เครือ่ งอุปโภค 3. ยารักษาโรค ผลิตผลทางการเกษตรบางชนิดสามารถนาํ มาสกดั ทาํ เปนยารกั ษาโรคตาง ๆ ได เชน กระเทยี ม ขิง ขา และอื่น ๆ เมื่อจํานวนประชากรเพิ่มมากข้ึนเรื่อย ๆ ความจําเปนในการผลิตยารักษา โรคยิง่ มมี ากขนึ้ ในสภาพของการดําเนนิ ชวี ิตและมนุษยแลว จะหนไี มพ น การเกิด แก เจ็บ ตาย ไปได

122 4. ทอี่ ยูอาศยั การสรา งสถานที่อยอู าศยั มีความจําเปนตอ ชีวิตมนษุ ยม าก ในสมยั โบราณคนเราได อาศยั อยตู ามถาํ้ พอนานเขา ก็มวี วิ ฒั นาการไปเร่อื ย ๆ รูจักการกอ สรางท่ีอยอู าศัยเอง ซงึ่ อาจจะเริ่มจากการนาํ เอา ใบไมใบหญา มามุงหลังคา หรืออาจจะเปน การนําเอาหนงั สัตวมาทาํ เปน ทีอ่ ยอู าศัย ตอ มากร็ ูจกั การนาํ เอาตนไม มาแปรรูป เพ่อื ใชกอ สรา งอาคารบา นเรือน เพ่ือใหค งทนและถาวรตอไป เมือ่ คนใชต น ไมม ากเขาตนไมก็นอยลง ทกุ ที จนถงึ ปจ จุบนั นีก้ ็ไดม ีการปลกู ปา ขึน้ ซึ่งการปลูกปาหรือปลูกตนไมนี้ลวนแตเปนผลผลิตทางการเกษตร ทั้งสิน้ 5. ผลิตภณั ฑ เปน ผลติ ภัณฑท ี่ไดจากผลิตผลทางการเกษตรแทบทง้ั สิ้น อันไดแ ก อาหารกระปอง ไมอ ัด นมผง และเครื่องหนงั ตาง ๆ เปนตน การอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรม หมายถงึ การผลิตสิง่ ของปริมาณมากเพื่อจําหนายเปนสินคา อุตสาหกรรมไดแบงออก ตามลักษณะและขนาดของกจิ การไดเ ปน 3 ประเภท คอื 1. อุตสาหกรรมขนาดใหญ หมายถึง อุตสาหกรรมท่ีตองใชเคร่ืองจักรกล อุปกรณและเงินทุน จํานวนมาก เชน โรงงานผลิตปูนซีเมนต โรงงานผลติ เครอ่ื งดม่ื เปน ตน 2. อุตสาหกรรมขนาดยอ ม เปน อตุ สาหกรรมที่มีขนาดเล็ก ใชคนงานต้ังแต 7 คนขึ้นไป แตไมเกิน 50 คน และใชเงนิ ทุนไมเกนิ 2 ลานบาท อตุ สาหกรรมขนาดยอ มนใี้ ชวัตถุท่ีไดจากอุตสาหกรรมขนาดใหญมาผลิต ของสาํ เรจ็ รูปอกี ตอหนงึ่ เพอ่ื จะไดเปน เคร่อื งอปุ โภคบริโภค เชน การทํานํ้าตาล การฟอกหนัง การทําน้ําแข็ง การทํารองเทา เปนตน 3. อตุ สาหกรรมในครอบครัว หมายถึง อตุ สาหกรรมขนาดเล็กท่ีทํากันในครอบครัว ใชแรงงาน ของคนในครอบครัวเปนสวนใหญ ทําผลิตภัณฑท่ีใชความชํานาญทางฝมือแลวนําออกจําหนาย เชน การประดิษฐดอกไม การทําอาหารหมักดอง การทําขนม เปนตน ประเทศท่ีเจริญกาวหนาทางดาน อุตสาหกรรมได จะตอ งเปนประเทศทีม่ ีความเจริญทางดานวิชาการสูง สามารถผลิตสินคาที่มคี ุณภาพดีออกไป จําหนายแขงขันกับประเทศอ่ืน ๆ ได ในกรณีของประเทศไทยยังมีอุตสาหกรรมประเภทนี้อยูไมมากนัก และอุตสาหกรรมท่มี อี ยแู ลวสว นใหญก เ็ ปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กลงทนุ ไมมาก แนวโนม ในการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ประเทศไทยไดเริม่ มกี ารวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ เปนครัง้ แรกเม่อื พ.ศ. 2504 ปจ จบุ ันเนน การพัฒนา คน โดยกําหนดยุทธศาสตรใ นการพฒั นาไว ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรก ารเพมิ่ ศักยภาพของคนทุกกลุมเปา หมาย อายแุ ละเพศ ใหคนมีทางเลอื กในชีวติ และ เขา มามีสว นรวมในการพัฒนาประเทศอยา งยงั่ ยนื โดย 1.1 ปรับปรงุ กระบวนการเรยี นรูแ ละฝก อบรมใหค ิดเปนทาํ เปน มีการเรยี นรูจ ากประสบการณและ ของจริง ไดรับการศึกษาอยางตอเน่ืองหลากหลาย สนับสนุนใหเกิดความเชื่อมโยงองคความรูสากลเขากับ ภูมิปญญาไทยท่ีมีวิวัฒนาการจากพ้ืนฐานสังคมการเกษตรภายใตบริบทของวัฒนธรรม คานิยมด้ังเดิมที่ไม

123 แปลกแยกจากธรรมชาติ สรางแนวการดํารงชีวิตที่ประชาชนรูเทาทันการพัฒนาและสามารถรักษาระดับ การพฒั นาท่เี หมาะสมไดด ว ยตนเองอยางตอ เน่ืองและยืนนาน 1.2 สนับสนนุ ใหเกดิ การกระจายอาํ นาจการศกึ ษาเพ่อื เปด โอกาสใหค รอบครวั ชุมชน และทอ งถิ่น เขามามบี ทบาท สามารถจัดการศึกษาไดพ รอม ๆ ไปกบั ผอ นคลายกฎระเบยี บขอบังคับตาง ๆ และใหส่ิงจูงใจ เพ่ิมเตมิ แกภาคเอกชนใหเขา มามีบทบาทในการจัดการศกึ ษามากขึน้ 1.3 ใหค วามสําคญั เปนลําดับสูงในการปฏิรปู การฝกหัดครเู พ่อื ใหค รูเปน วิชาชพี ท่มี ีเกียรติมศี กั ดศิ์ รี สามารถดึงดูดคนเกงคนดีเขาเรียนวิชาครู รวมทั้งเรงรัดการพัฒนาครูประจําการและบุคลากรทางดาน การศกึ ษาและปฏริ ูปการเรยี นการสอนในการผลติ ครอู ยา งจริงจงั 1.4 เสริมสรางศักยภาพของส่ือสารมวลชน เพื่อใหสนับสนุนการพัฒนาโดยเปนยุทธศาสตร ท่สี ามารถดาํ เนนิ การไดทันทอี ยา งตอ เนื่องไปพรอ ม ๆ กบั การเพม่ิ ทักษะของการเปนผูรับสารหรือผูบริโภคส่ือ ที่มีคณุ ภาพ โดยเนนบทบาทของสอื่ มวลชนในการสง เสริมกระบวนการเรยี นรูและการสรางปญญาท้ังในระดับ ทอ งถ่ินและในกระแสโลกาภิวัตน 1.5 สรางบรรยากาศแวดลอ มทีเ่ อ้ือตอการพัฒนาเดก็ และเยาวชน 1.6 สนับสนุนใหมีการพัฒนาจิตใจคนใหเปนคนดีมีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม ตลอดจน สง เสริมวัฒนธรรมไทย โดยเนนศักดศ์ิ รีและศกั ยภาพของคนไทยในการสรางสรรคผลงานศิลปะ 1.7 ปรับปรงุ ระบบบริการสาธารณสุข ใหสามารถบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพและ บรรลุเปา หมายของการมสี ขุ ภาพดถี ว นหนา โดยเนน การปองกนั โรคและสง เสรมิ สขุ ภาพ รวมท้งั ใหมกี ารพัฒนา ภูมปิ ญญาทางดานการรกั ษาพยาบาลแบบพนื้ บา น เชน แพทยแ ผนโบราณ สมุนไพร เปนตน 2. ยทุ ธศาสตรก ารเสรมิ สรางการมีสว นรวมของคนในกระบวนการพัฒนา โดย 2.1 สงเสริมความเขมแข็งของสถาบันครอบครัว และชุมชนใหมีบทบาทและสวนรวมในการ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สงิ่ แวดลอ ม และการเมืองการปกครอง โดยใหความสาํ คัญในการสรางความ เขม แข็งและมคี วามตอ เน่ือง 2.2 สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของผูดอยโอกาสในสังคมให สามารถมีรายไดและพง่ึ ตนเองได เพื่อชวยลดชองวา งระหวางรายได 2.3 สง เสริมบทบาทของสตรีใหเปน พลงั ในการพฒั นา และเปน ผมู ีสวนรวมในการตัดสินใจใน ทุกระดบั ทั้งน้ี เพ่ือบูรณาการและสรางความสมดุลของการพัฒนา 2.4 เรง รัดการพฒั นาชนบทและกระจายความเจริญไปสภู มู ภิ าค โดยเนนใหมโี ครงสรางข้นั พ้ืนฐาน ทง้ั ทางเศรษฐกจิ และสังคมเพ่อื กระตุนใหเกิดการพัฒนาชนบททีย่ ่ังยืน 2.5 เพมิ่ บทบาทของประชาชนในการเรยี นรูการพิทกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ และจดั การสิ่งแวดลอม ควบคูไ ปกับการเตรียมคนและชุมชนเพอ่ื รองรับผลกระทบของการพฒั นาจากภาคนอกชนบท 2.6 พัฒนาและปรบั ปรุงระบบประกันสังคมใหส ามารถเขาถึงกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวาง ยิง่ ขึ้น

124 2.7 พฒั นาระบบการเมอื งใหม อี ุดมการณป ระชาธิปไตยอยา งเปนวิถีชีวิต ใหมีคานิยม วัฒนธรรม กติกา และวิธีการบริหารจัดการท่ีดี มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสังคมไทยเพ่ือสนับสนุนการพัฒนา ดานเศรษฐกจิ และสังคมใหย ่งั ยืน สรุป ในปจจบุ นั นี้ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ จะมที ง้ั ภาครฐั และเอกชนตางมีสวนเปนเจาของ ทรพั ยากรและปจ จัยการผลิตตาง ๆ โดยเอกชนใชก ําไรเปน สงิ่ จงู ใจเขา มาทาํ การผลิตและอาศัยกลไกราคาในการ จัดทรัพยากร และมีบางกิจกรรมท่ีควบคุมโดยรัฐ ท้ังนี้เพ่ือแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและคุมครอง ผลประโยชนข องสังคมโดยรวม นอกจากนี้รฐั จะเขา มามบี ทบาทในกจิ กรรมทางเศรษฐกิจเทาทจ่ี ําเปน ไดแ ก 1) ดาํ เนนิ การเกย่ี วกับการปองกนั ประเทศ เชน ดานการทหาร ตาํ รวจและศาล เปนตน 2) ดาํ เนินการดานเศรษฐกจิ พน้ื ฐาน เชน สรา งสะพาน ถนน เขื่อน เปนตน 3) ควบคมุ และดําเนนิ การดา นการศึกษาและสาธารณสขุ 4) ดาํ เนนิ กจิ การดานสาธารณปู โภค เชน การรถไฟ การประปา สอื่ สารไปรษณยี  เปน ตน 5) ดําเนนิ การเพ่อื พฒั นาเศรษฐกจิ เพ่อื กระจายรายไดและทรพั ยากรจากชุมชนเมืองไปยังชนบท โดยกําหนดเปนนโยบายสําคัญ ๆ เชน การกระตุนเศรษฐกิจ ไดแก กองทุนหมูบาน SME วิสาหกิจชุมชน โครงการพัฒนาการศกึ ษา โครงการพฒั นาแหลง นาํ้ และการสรา งงานในรปู แบบตา ง ๆ โดยรฐั บาลไดก าํ หนดเปน นโยบายไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 8 - 9 เปน ตน หลักการ และวธิ กี ารเลอื กใชทรัพยากรเพอ่ื การผลิต ในการผลติ เพ่อื สนองตอความตองการของมนษุ ย ผผู ลิตตอ งคํานงึ ถงึ สงิ่ ตอ ไปน้ี ปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิต หมายถึง ทรัพยากรที่ใชเพื่อการผลิตเปนสินคาและบริการ ในความหมายทางเศรษฐศาสตรแบง ปจจยั การผลิตเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1. ท่ดี ิน หมายรวมถงึ ที่ดนิ และทรัพยากรธรรมชาตทิ งั้ หมด เชน ปาไม สัตว น้ํา แรธาตุ ปริมาณ นาํ้ ฝน เปน ตน สง่ิ เหลานี้จะมีอยูต ามธรรมชาติ มนุษยสรางขึน้ เองไมไ ด แตสามารถพฒั นาปรับปรงุ คุณภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติไดบาง เชน การปรับปรุงท่ีดินใหอุดมสมบูรณข้ึน เปนตน ผลตอบแทนจากการใชท่ีดิน เราเรียกวา คาเชา 2. แรงงาน หมายถงึ แรงกาย แรงใจ ความรู สตปิ ญญา และความคดิ ที่มนษุ ยทมุ เทใหแกก ารผลติ สินคา และบริการ แตใ นท่ีน้ีแรงงานสัตวจะไมถือเปนปจจัยการผลิตประเภทแรงงาน แตถือเปนทุน ประเภท มีชวี ิต ผลตอบแทนของแรงงานเรยี กวา คาจา งและเงนิ เดือน โดยทว่ั ไปแลว แรงงานแบง เปน 3 ประเภทคือ - แรงงานฝม อื เชน นกั วชิ าการ แพทย นักวชิ าชพี ตางๆ เปน ตน - แรงงานกงึ่ ฝม ือ เชน ชางไม ชางเทคนิค พนักงานเสมียน เปน ตน - แรงงานไรฝมอื เชน กรรมกรใชแรง นักการภารโรง ยาม เปนตน 3. ทนุ ในความหมายทางเศรษฐศาสตร หมายถึง สิ่งกอสราง และเคร่ืองจักร เครื่องมือท่ีใชใน การผลติ นอกจากน้ที ุนยังแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 3.1 เงินทุน หมายถึง ปริมาณเงินตราท่ีเจาของเงินนําไปซื้อวัตถุดิบ จายคาจาง คาเชา และ ดอกเบ้ยี

125 3.2 สินคาประเภททนุ หมายถงึ สง่ิ กอ สราง รวมถึงเคร่อื งมอื เครือ่ งจกั ร ที่ใชในการผลิต เปนตน ผลตอบแทนจากเงนิ ทุน คอื ดอกเบีย้ 4. ผูประกอบการ หมายถึง บุคคลที่สามารถนําปจจัยการผลิตตาง ๆ มาดําเนินการผลิตใหมี ประสทิ ธภิ าพทสี่ ดุ โดยอาศยั หลกั การบริหารทดี่ ี การตดั สินใจจากขอ มลู หรอื จากเกณฑม าตรฐานอยางรอบคอบ รวมถงึ ความรับผิดชอบ ผลตอบแทน คอื กําไร เรือ่ งท่ี 3 คณุ ธรรมในการผลิตและการบริโภค การบริโภค หมายถึง การแลกเปล่ียนสินคาและการบริการโดยใชเงินเปนส่ือกลาง เพ่ือตอบสนอง ความตอ งการบริโภคของบคุ คล เชน การใชเ งินซ้อื อาหาร การใชเงินซื้อท่ีอยูอาศัย การใชเงินซ้ือเคร่ืองนุงหม การใชเ งินซ้ือยารกั ษาโรค การใชเงินซื้อความสะดวกสบายเพอ่ื การพกั ผอนหยอนใจ เปน ตน การผลิต หมายถึง การสรางสินคา และบริการเพอ่ื ตอบสนองการบริโภคของบคุ คล คณุ ธรรม เปน คณุ งามความดที จ่ี ะตอ งเสรมิ สรางใหเกิดท้ังในผผู ลิตและผบู รโิ ภค ในแงผูผ ลติ ตอ งมคี วามซอื่ สตั ยใ นการไมป ลอมปนสารมพี ิษหรอื สารทมี่ ปี ระโยชน เขามาในกระบวนการ ผลติ หรือหากจาํ เปนตองใชก ต็ องใชใ นปรมิ าณทป่ี ลอดภัยและไมเอาเปรยี บผบู ริโภค รวมท้งั ควรแจง ใหผ บู รโิ ภค ทราบ เพอ่ื ใหอยูใ นวจิ ารณญาณของผบู ริโภคที่จะเลอื กใช ขณะเดยี วกันก็ตองไมป ลอ ยสารพิษหรอื สิ่งทกี่ อ ใหเกิด มลภาวะตอ สิ่งแวดลอ มซ่งึ จะมผี ลกระทบตอคนอื่น คณุ ธรรมของผผู ลติ ทส่ี าํ คัญมดี งั นี้ 1. ความขยัน เปนความพยายาม มุมานะท่จี ะประกอบการในการผลติ และบริการใหป ระสบผลสําเร็จ อยา งไมยอทอ ตอ ปญ หาและอปุ สรรค 2. ความซือ่ สัตย โดยเฉพาะซื่อสตั ยต อ ผูบริโภค เชน ไมค า กาํ ไรเกนิ ควร ไมโ ฆษณาสนิ คาเกนิ ความเปน จริง ไมป ลอมปนสนิ คา ไมผลิตสินคาทไ่ี มไ ดคุณภาพ หรือสนิ คาที่ผดิ กฎหมาย ฯลฯ 3. ความรบั ผดิ ชอบ ในการผลติ สนิ คา และบรกิ ารเพ่อื สนองตอความตองการของผบู ริโภค และไมส ง ผล กระทบตอ สงั คมและสิ่งแวดลอ ม รับผิดชอบตอความเสียหายอนั เกดิ จากการผลติ และบริการ 4. พัฒนาคณุ ภาพสินคา เนนใหส ินคา และบริการเปนทพี่ ึงพอใจของผบู รโิ ภค 5. ดูแลสังคม คือ แบงสว นกําไรทไี่ ดรบั คืนสสู งั คม เชน ทาํ กิจกรรมเพือ่ สว นรวม เชน สิง่ ท่ีเปน สาธารณะ ประโยชน การใหความรูทถ่ี กู ตอ ง ชวยเหลือผูดอยโอกาสในรูปแบบตาง ๆ ฯลฯ ในแงผูบริโภค ก็ตองใชสติปญญาในการพิจารณาวาควรเชื่อคําโฆษณาของสินคาหรือไม และจะใช อยา งไรใหค มุ คา และไมท ิง้ ของเหลือใชใหเ ปน มลภาวะตอ สงิ่ แวดลอ ม ใหความรว มมอื ในการกาํ จัดขยะอยางถูกวธิ ี เพอื่ สุขภาวะของทกุ คนในครอบครัวและในชุมชน คุณธรรมของผูบริโภค ในการเลือกสนิ คา และบริการผูบรโิ ภคควรคํานึงถึงความจําเปนหรือประโยชน ตอ การดํารงชีวิต คุณธรรมท่ีสําคัญ มีดงั น้ี 1. ใชตามความจาํ เปน ในการบริโภคสินคาหรือบริการใหสอคคลองกับวิถีการดําเนินชีวิตไมกักตุน สินคา

126 2. พิจารณาประโยชนท่จี ะไดรับจากการซอื้ สนิ คาและบริการ 3. ประหยัด ซึ่งควรพิจารณาถึงคุณภาพ ราคาสินคา การบริการที่มีคุณภาพ ยุติธรรมเหมาะสมกับ คา บรกิ าร 4. มีคานยิ มในการบริโภคสนิ คา ผลิตภัณฑไทย ในปจจุบันหนวยธุรกิจตาง ๆ มีการโฆษณา ประชาสัมพันธ ขายสินคาและบริการมากข้ึน ซึ่งเม่ือ บางครง้ั มีการโฆษณาชวนเช่ือเกนิ จริง ทาํ ใหผ ูบ ริโภคไมท ราบความจริงเกย่ี วกับคุณภาพของสินคา ดังน้ันในการ ซอ้ื สินคาและบรกิ ารใด ๆ ผบู ริโภคจงึ ควรพจิ ารณาถึงคณุ ภาพ ความจําเปนของสนิ คา และบรกิ ารเพ่อื ประโยชน ของผบู ริโภค ปจ จัยที่มอี ทิ ธพิ ลตอการบรโิ ภค 1. ราคาของสนิ คา ผบู ริโภคโดยทวั่ ไปจะซ้ือสนิ คาบรกิ ารทเี่ ปน ไปตามความตอ งการ ความจาํ เปน ตอการ ดาํ รงชวี ติ และมีราคาที่ไมแ พงเกินไปแตม คี ณุ ภาพดี 2. รสนิยมของผบู ริโภค ผบู ริโภคมรี สนยิ มท่ีแตกตา งกัน บางคนมีรสนิยมท่ีชอบสินคาและบริการท่ีมา จากตางประเทศ ผูบริโภคบางคนมีรสนิยมของความเปนไทย ก็มักจะซ้ือสินคาและบริการที่ผลิตข้ึน ภายในประเทศเทานน้ั 3. รายไดข องผบู ริโภค รายไดของผูบรโิ ภค เปนปจ จยั ที่มอี ทิ ธิพลตอการบรโิ ภค ถา ผูบรโิ ภคมรี ายไดน อ ย มักตองการสินคาและบริการที่ราคาถูก เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดไมขัดสน ถาผูบริโภคมีรายไดสูงมัก ตอ งการสนิ คาและบรกิ ารท่ีมคี ุณภาพดี แมจะราคาสงู ก็ตาม 4. ระบบซอื้ ขายเงินผอ น เปน ระบบซ้ือขายทีช่ ว ยใหผูมรี ายไดนอ ยมีโอกาสไดบ ริโภคสินคา ที่มรี าคาแพงได 5. การโฆษณา การโฆษณาเปน การทาํ ตลาด ทาํ ใหผ บู รโิ ภครจู ักสนิ คา และบริการ สินคา และบริการทีม่ ี การทมุ ทุนโฆษณามากๆ มีสวนทาํ ใหผ บู ริโภคหนั ไปซือ้ สนิ คาและบริการนัน้ มากขึน้ 6. การคาดคะเนราคาภายหนา ถาผูบริโภคมีการคาดวาสินคาใดมีผลผลิตนอยและราคาจะแพงข้ึน ผูบ รโิ ภคก็จะมกี ารซ้อื สนิ คาน้ันกนั มาก 7. ฤดกู าล เชน ฤดรู อ น ผบู ริโภคจะหาซ้ือเสอ้ื ผา ท่ีสวมใสส บายไมร อ น ฤดูฝน ผบู รโิ ภคจะหาซอื้ เสือ้ ผา และเครอ่ื งปอ งกนั ฝนกนั มาก เปน ตน

127 เรอ่ื งท่ี 4 กฎหมายและขอ มลู การคุมครองผบู ริโภค หนวยงานทีค่ มุ ครองผบู ริโภค กองคุมครองผูบรโิ ภคดา นโฆษณา 0-2629-7037-9 , 0-2629-7041-3 กองคมุ ครองผูบ รโิ ภคดานฉลาก 0-2629-7048-50 , 0-2629-7052-5 กองคมุ ครองผบู รโิ ภคดา นสญั ญา 0-2629-7061-3 , 0-2629-7065-8 กองเผยแพรและประชาสัมพนั ธ 0-2629-8250-2 , 0-2629-8254-6 กองนติ กิ าร 0-2629-8259-60 , 0-2629-8262-4 สาํ นกั งานเลขานุการกรม 0-2629-8243 , 0-2629-8245-8 การพทิ ักษส ิทธิผ์ บู ริโภค รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 เปน รฐั ธรรมนูญฉบับแรกท่ีใหความสําคัญของ การคุม ครองผูบรโิ ภค โดยบญั ญตั ถิ ึงสทิ ธขิ องผูบรโิ ภคไวใ นมาตรา 57 วา “สทิ ธขิ องบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอม ไดร ับความคุมครอง ทั้งนี้ตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ”ิ พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติคุมครอง ผูบริโภค (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2541 ไดบัญญัติสิทธขิ องผูบริโภคทจ่ี ะไดร ับความคุมครองตามกฎหมาย 5 ประการ ดังน้ี 1.สิทธิท่จี ะไดร ับขา วสารรวมท้งั คําพรรณนาคุณภาพทถี่ กู ตอ งและเพยี งพอเก่ยี วกบั สินคาหรอื บริการ ไดแ ก สิทธทิ ีจ่ ะไดรบั การโฆษณาหรอื การแสดงฉลากตามความเปนจรงิ และปราศจากพษิ ภัยแกผ ูบริโภค รวมตลอดถึงสิทธิท่ีจะไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการอยางถูกตองและเพียงพอท่ีจะไมหลงผิด ในการซ้อื สินคา หรือรับบริการโดยไมเ ปนธรรม 2.สทิ ธทิ จ่ี ะมอี ิสระในการเลือกหาสินคาหรอื บริการ ไดแ ก สทิ ธทิ ่จี ะเลอื กซอื้ สินคา หรือรบั บรกิ าร โดยความสมัครใจของผบู ริโภค และปราศจากการชักจูงใจอนั ไมเ ปนธรรม 3.สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธิท่ีจะไดรับสินคาหรือบริการ ที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสมแกการใช ไมกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต รางกายหรือ ทรัพยส นิ ในกรณใี ชตามคาํ แนะนําหรอื ระมัดระวงั ตามสภาพของสนิ คาหรอื บรกิ ารน้ันแลว 4.สทิ ธทิ จ่ี ะไดรบั ความเปน ธรรมในการทําสัญญา ไดแก สิทธิที่จะไดรับขอสัญญาโดยไมถูกเอารัดเอา เปรยี บจากผปู ระกอบธรุ กิจ 5.สิทธทิ ี่จะไดรบั การพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิที่จะไดรับการคุมครองและชดใช คาเสยี หาย เมอ่ื มกี ารละเมดิ สทิ ธิของผูบรโิ ภคตามขอ 1, 2, 3 และ 4 ดังกลา ว ขอควรปฏิบัตสิ าํ หรบั ผูบริโภคในการซ้อื สนิ คาหรอื บริการ ขอ ควรปฏบิ ัตหิ ลังจากซอื้ สินคา หรือบริการ ผบู รโิ ภคมีหนาที่ในการใชความระมัดระวัง ตามสมควร ในการซื้อสนิ คาหรือบริการ ไดแก การใหความสาํ คญั กบั ฉลากของสนิ คา และการโฆษณาสินคา หรือบริการ 1. ผูบริโภคตองตรวจดูฉลากของสินคา เพื่อเปนขอมูลในการเปรียบเทียบสินคาแตละย่ีหอ กอนตดั สินใจเลือกสนิ คา ฉลากของสนิ คา ท่ีควบคมุ จะตอ งระบุขอความดังตอไปน้ี

128 ชอื่ ประเภท หรือชนิดของสินคาทีแ่ สดงใหเ ขา ใจ ไดวาสนิ คานนั้ คอื อะไร ในกรณีทเ่ี ปน สนิ คาสง่ั หรอื นาํ เขามาในราชอาณาจักรเพอื่ ขายใหร ะบชุ ื่อประเทศทผ่ี ลติ ดว ย ชื่อหรอื เครอ่ื งหมายการคา ท่ีจดทะเบยี นในประเทศไทย ของผูผ ลติ เพื่อขายในประเทศไทย ช่อื หรอื เครื่องหมายการคา ที่จดทะเบยี นในประเทศไทย ของผูส ั่งหรอื นาํ เขา มาในราชอาณาจักร เพ่อื ขาย สถานที่ตงั้ ของผูผ ลิตเพอ่ื ขาย หรือของผสู ัง่ หรอื ผนู าํ เขา มาในราชอาณาจกั รเพื่อขายแลว แตก รณี ตองแสดงขนาดหรือมิติ หรอื ปริมาณ หรอื ปริมาตร หรือน้ําหนักของสินคาแลวแตกรณี สําหรับ หนวยทใ่ี ชจ ะใชชอื่ เต็มหรือช่อื ยอหรอื สัญลักษณแทนกไ็ ด ตอ งแสดงวิธใี ช เพื่อใหผ ูบริโภคเขาใจวา สินคา นน้ั ใชเพอื่ สง่ิ ใด ขอ แนะนาํ ในการใชหรอื หามใช เพื่อความถูกตอ งในการใหป ระโยชนแ กผ ูบรโิ ภค วนั เดือน ป ทีผ่ ลติ หรือวัน เดือน ป ทีห่ มดอายกุ ารใช หรือ วนั เดอื น ป ทค่ี วรใชกอน วัน เดือน ป ท่รี ะบุนั้น เพอ่ื ใหเขา ใจในประโยชนของคณุ ภาพหรือคุณสมบตั ขิ องสนิ คาน้ัน (ถา มี) ราคาโดยระบุหนวยเปน บาท และจะระบุเปนเงนิ สกลุ อนื่ กไ็ ด 2. สอบถามขอเทจ็ จริงเกยี่ วกบั คุณภาพของสนิ คา จากผูขาย หรอื ผูท่ีเคยใชส นิ คา นน้ั แลว 3. ศึกษาเง่ือนไข หรือขอจํากัดของสินคา เชน วัน เดือน ป ท่ีผลิตหรือหมดอายุ วิธีการใชการเก็บ รักษา คําเตือนหรือขอควรระวังของสินคาใหเขาใจอยางถองแท เพื่อผูบริโภคสามารถใชสินคาไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพและประหยดั 4. รอ งขอใหหนวยงานท่ีเก่ียวของตรวจสอบคุณภาพ และปริมาณของสินคาวาเปนจริงตามท่ีระบุไวท่ี ฉลากของสนิ คาหรอื ไม เพอ่ื ใหไดสินคาทีม่ ีคณุ ภาพและเปน ธรรมแกผ บู ริโภค 5. ผบู ริโภคอยาดว นหลงเชื่อคาํ โฆษณาของสนิ คา หรือบรกิ ารตองศึกษาเงื่อนไข รายละเอียดอ่ืนๆ ของ ตัวสินคา หรือบรกิ ารที่อาจไมไดระบุไวในการโฆษณา เน่ืองจากการโฆษณาสินคาหรือบริการของผูประกอบ ธุรกิจสวนใหญจะเสนอแตขอดีและเง่ือนไขท่ีเปนประโยชนตอผูบริโภค สวนขอเสียมักจะไมกลาวถึงในการ

129 โฆษณา จึงจาํ เปนท่ผี บู ริโภคตอ งศกึ ษาหาความรูเพมิ่ เตมิ จากการสอบถามผูข ายหรือบริษทั ผูผลิตตลอดจนผูมี ความรู ผูเคยมปี ระสบการณในการใชสินคานัน้ ๆ มาแลว ขอ ความโฆษณาตอไปน้ี ถอื วา เปน ขอ ความท่ไี มเ ปนธรรมตอผบู รโิ ภค หรือเปน ขอ ความทอี่ าจกอ ใหเ กดิ ผลเสียหายตอสังคมเปนสวนรวม ขอความท่ีเปนเท็จหรือเกนิ ความจริง ขอ ความทก่ี อ ใหเกดิ ความเขา ใจผิดในสาระสาํ คัญเกย่ี วกบั สินคาหรือบรกิ าร ไมวาจะเปน การกระทํา โดยใชห รืออา งอิงรายงานทางวชิ าการ สถิติหรอื สงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ อนั เปน ความจรงิ หรอื เกินความจรงิ หรอื ไมก ต็ าม ขอความทีเ่ ปน การสนับสนุนโดยตรงหรอื โดยออ มใหม กี ารกระทําผิดกฎหมายหรอื ศีลธรรม หรอื นําไปสู ความเส่อื มเสียในวฒั นธรรมของชาติ ขอความท่ีจะทาํ ใหเ กดิ ความแตกแยกหรอื เสอ่ื มเสยี ความสามคั คใี นหมปู ระชาชน ขอความอยางอ่ืนตามทก่ี าํ หนดในกระทรวงท่ีผปู ระกอบธรุ กจิ ตอ งระบุขอ ความใหครบถว น หากฝา ฝนมี โทษตามกฎหมาย ขอ ควรปฏบิ ตั ิหลงั จากซอ้ื สนิ คา หรือบริการ ผูบริโภคมีหนาท่ีในการเก็บรักษาพยานหลักฐานตางๆ ที่แสดงถึง การละเมิดสิทธิของผูบริโภคไว เพื่อการเรียกรองตามสิทธิของตน พยานหลักฐานดังกลาว อาจเปนสินคาท่ีแสดงใหเห็นวามีปริมาณ หรือ คณุ ภาพไมเ ปน ไปตามมาตรฐานทร่ี ะบไุ วใ นฉลาก มคี วามสกปรก หรอื มพี ิษทกี่ อ ใหเ กดิ อันตราย ควรจําสถานท่ี ซ้ือสนิ คา หรอื บริการน้นั ไว เพ่อื ประกอบการรองเรียนและตองเก็บเอกสารโฆษณาและใบเสร็จรบั เงินเอาไวดวย เม่ือมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภคข้ึน ผูบริโภคมีหนาที่ในการดําเนินการรองเรียน ตามสิทธิของตน โดยรองเรียนไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการกํากับดูแลสินคาหรือบริการนั้นหรือรองเรียนมาท่ีสํานักงาน คณะกรรมการคมุ ครองผบู รโิ ภค ตา งจังหวดั รองเรยี นทค่ี ณะอนกุ รรมการการคมุ ครองผบู ริโภคประจําจงั หวดั การเตรยี มตวั เพื่อรอ งทุกขส ําหรับผบู รโิ ภค พระราชบญั ญัตคิ มุ ครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึง่ แกไขเพ่ิมเติม โดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 มาตรา 4 ไดบ ัญญตั สิ ทิ ธขิ องผบู รโิ ภคทจ่ี ะไดรับการคุมครอง 5 ประการ ไดแก สิทธิทจ่ี ะไดรบั ขาวสารรวมทง้ั คําพรรณนาคณุ ภาพที่ถกู ตองและเพยี งพอเก่ียวกับสนิ คาหรือบริการ สทิ ธทิ ่จี ะมีอสิ ระในการเลอื กหาสนิ คา หรอื บริการ สิทธิที่จะไดร ับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรอื บรกิ าร สิทธิทีจ่ ะไดร บั ความเปนธรรมในการทาํ สญั ญา สิทธทิ ี่จะไดรับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย ดังนน้ั การรองทุกขเม่อื ไมไดรบั ความเปน ธรรมจากการซอ้ื สนิ คา หรอื บริการ ถอื เปนเร่อื ง ที่ชอบธรรม ที่ผูบริโภคควรกระทํา เพื่อใหผูประกอบธุรกิจชดใชความเสียหายและเพื่อเปนการลงโทษหรือปรามมิให ผปู ระกอบธุรกจิ เอารัดเอาเปรยี บผูบริโภค การเตรียมตัวของผูบริโภค เพ่ือจะมารองทุกขเปนข้ันตอนท่ีมีความสําคัญ หากเอกสาร หลักฐาน ที่ผบู รโิ ภคนาํ มาไมครบถวน จะทาํ ใหผูบรโิ ภคเสียเวลาในการยนื่ เร่ือง

130 การเตรยี มเอกสาร หลักฐานของผูรองเรยี น ผรู อ งเรยี นจะตอ งเตรยี มเอกสาร หลักฐานใหพ รอม เพือ่ จะนาํ มาใชประกอบกับการบนั ทึกคาํ รอ งเรยี น ใหผูบริโภคย่ืนเร่ืองรองเรียนที่สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (กรุงเทพมหานคร) หรือ คณะอนกุ รรมการการคุมครองผบู รโิ ภคประจาํ จังหวัด ในจังหวัดที่ทานอาศยั อยู โดยมขี ้ันตอน ดงั น้ี 1. ผูรองเรียนกรอกรายละเอียดในแบบบันทึกคํารองเรียนพรอมแนบเอกสาร (เอกสารลงชื่อ รบั รองสําเนาทกุ ฉบบั ) มอบใหเ จาหนา ที่ 2. ผูรอ งเรยี นกรอกรายละเอยี ดในแบบหนงั สอื มอบอํานาจ (มอบอาํ นาจให สคบ.ดําเนนิ การแทน ผรู อ ง) 3. กรณีผูบริโภคไมสามารถรองเรียนดวยตนเองได ผูมารองเรียนแทนจะตองมีหนังสือรับรอง มอบอํานาจจากผูบริโภค (พรอมติดอากรแสตมป จํานวน 30 บาท) นํามาย่ืนตอเจาหนาที่ดวย หากมีขอสงสัย ประการใดโปรดสอบถามเจาหนา ทีเ่ พ่ิมเตมิ หรือโทรศพั ทต ดิ ตอหนวยงานท่ีใหการคุมครองผบู ริโภค เร่อื งท่ี 5 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตาง ๆ ในเอเชยี ความสาํ คญั ของกลุม ทางเศรษฐกิจในเอเชยี การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคตา ง ๆ หลักการการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธของการคาระหวางประเทศมีวิวัฒนาการ เปล่ียนแปลงไปจากการคาในอดีต ท้ังในรูปแบบทางการคา ขอบขายกิจกรรมทางการคา ประเทศคูคาและ เทคโนโลยีสารสนเทศทอ่ี ํานวยความสะดวกทางการคา การเจรจาทางการคา เปนเรือ่ งสําคัญ และเปา หมายหลัก ของผเู จรจาทางการคาทม่ี าจากภาครัฐ คือ เพือ่ สิทธิประโยชนท างการคาของชาตติ นเอง เนื่องจากการแขงขัน ทางการคา ประเทศตา ง ๆ จงึ มนี โยบายและมาตรการทีใ่ ชบ ดิ เบอื นทางการคา ซึง่ ทําใหก ารคาระหวา งประเทศ ขาดความเปนธรรมและขาดความเปนเสรี การเจรจาทางการคานั้น มุงหวังวาจะเปนการแลกเปล่ียนหรือ ลดหยอนสทิ ธพิ ิเศษทางการคา จดั ทําขอตกลงทางการคา ความรวมมือและพัฒนารูปแบบการคา และเพอื่ แกไข ขอ พพิ าททางการคาระหวา งประเทศ รปู แบบการเจรจาตอ รองทางการคานนั้ สามารถแบงไดตามระดับของการ เจรจา คอื ทวิภาคี (Bilateral) ซ่งึ เปน ความสมั พันธร ะหวา งประเทศตอประเทศการเจรจามากฝา ย (Plurilateral) อาทิเชน การเจรจา 3 ฝา ย หรือการเจรจา 4 ฝา ย การเจรจาหลายฝา ยหรือพหุภาคี (Multilateral) ซึ่งเปน การ เจรจาท่ีมปี ระเทศเขา รว มและใชเ วลายาวนานกวาจะไดข อสรุป การเจรจาตอ รองทางการคาเหลา นี้นําไปสรู ะดบั ความสมั พันธท างการคา ระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ ปจจุบันระดับความสัมพันธในระดับกลุมประเทศ ในภูมภิ าคใกลเ คยี งกนั และมีขอตกลง ตอ กัน (Regional Trade Arrangements) เปนกลุมเศรษฐกิจและเปน เร่ืองสาํ คญั ตอการพัฒนาท่นี าํ ไปสกู ารคา เสรขี องโลก รปู แบบของการรวมกลุมทางเศรษฐกจิ การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ มีไดห ลายรูปแบบและมีววิ ฒั นาการแตกตางกันโดยแตละรูปแบบจะมี ความเขมขนของความสมั พนั ธซ ึง่ กันและกันแตกตางกันไป เชน

131 1. ขอตกลงการใหสิทธิพิเศษทางศุลกากร (Preferential Tariff Agreement) เปนขอตกลง เพือ่ ลดภาษีใหแกก ันและกนั โดยอัตราภาษีที่เรยี กเกบ็ จะนอยกวา อตั ราภาษที เ่ี รยี กเกบ็ จากประเทศที่สาม เชน การรวมตัวกันของกลมุ LAIA (Latin American Integration Association) , ASEAN และ Trade Expansion and Cooperation Agreement เปน ตน 2. สหภาพศุลกากรบางสวน (Partial Customs Union) การรวมตัวทางเศรษฐกิจในรูปแบบนี้ ประเทศทที่ ําขอ ตกลงกันยงั คงอัตราภาษีไวในระดบั เดิม แตมกี ารกาํ หนดอัตราภาษีศุลกากรในการคากับประเทศ ภายนอกกลมุ รว มกนั 3. เขตการคาเสรี (Free Trade Areas) ในเขตการคาเสรี การซ้ือขายสินคาและบริการระหวาง ประเทศภาคี สามารถทําไดอ ยา งเสรีปราศจากขอ กดี กนั ทางการคา ท้งั มาตรการทางภาษแี ละมาตรการกีดกัน ทางการคาที่มิใชภาษี ในขณะเดียวกันแตละประเทศสมาชิกยังคงสามารถดําเนินนโยบายกีดกันทางการคา กบั ประเทศนอกกลุมไดอ ยา งอสิ ระ เชน การรวมตัวกันของกลุม EFTA , NAFTA และ CER เปน ตน 4. สหภาพศลุ กากร (Customs Union) เปน รูปแบบของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ทีม่ รี ะดบั ความ เขมขนสูงข้นึ มาอกี ระดบั หนึ่ง โดยการรวมกลุม ในลกั ษณะน้ี นอกจากจะขจัดขอกีดกันทางการคาออกไปแลว ยังมีการกาํ หนดพกิ ดั อตั ราภาษศี ลุ กากรในการคา กบั ประเทศภายนอกกลมุ รวมกนั และใหม อี ัตราเดยี วกนั ดวย 5. ตลาดรวม (Common Market) รูปแบบของการรวมกลุมประเภทน้ี นอกจากจะมีลักษณะ เหมือนกับสหภาพศุลกากรแลว การเคลอ่ื นยา ยปจ จัยการผลิต (แรงงาน ทนุ และเทคโนโลย)ี สามารถทําไดอ ยาง เสรี เชน การรวมตัวกนั ของกลมุ EU กอ นป 1992 6. สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากจะมกี ารคา เสรี การเคลือ่ นยายปจ จัยการ ผลติ อยางเสรี และนโยบายการคา รว มแลว ยงั มีการประสานความรวมมือกันในการดําเนนิ นโยบายทางเศรษฐกิจ ท้งั นโยบายการเงนิ และการคลังอีกดว ย เชน การรวมตวั ของกลุม EU ในปจจุบัน 7. สหภาพทางเศรษฐกจิ แบบสมบรู ณ (Total Economic Union) เปนการรวมตวั ทางเศรษฐกิจ ทีม่ คี วามเขม ขนมากที่สุด จะมีการจัดตง้ั รฐั บาลเหนือชาติ และมนี โยบายทางเศรษฐกิจเดียวกัน การมีขอ ตกลงทางการคาเสรแี ละบทบาทของ WTO แกตตหรือองคการการคาโลก (WTO) ในปจจุบันมีวัตถุประสงคที่สําคัญประการหนึ่งคือ ตองการให การคา โลกดาํ เนนิ ไปอยา งเสรี บนพน้ื ฐานของความเทาเทียมกัน คือ ไมมกี ารเลอื กปฏิบัติระหวางประเทศภาคี สมาชกิ การจดั ต้ังกลุม เศรษฐกิจในระดบั ภมู ิภาคไมวา จะอยใู นรปู ทวิภาคหี รอื พหุภาคีความเปนเสรีทางการคา มากข้นึ ระหวางประเทศในกลุม แตไ มอาจหลีกเลยี่ งการกดี กันทางการคา ตอ ประเทศนอกกลุมไปได เม่ือพิจารณา จากบทบญั ญัติของ WTO จะเห็นไดว า การรวมกลมุ หรือการทาํ ความตกลงทางการคาระดบั ภูมภิ าคเชน นเี้ ปน สงิ่ ที่ดําเนินการได ถือวาเปน “ขอยกเวน” อยางหน่ึงของ WTO ท่ีประเทศภาคีสมาชิกสามารถเลือกปฏิบัติได ระหวางประเทศในกลุมกับประเทศนอกกลุม แตจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเงื่อนไขที่กําหนดไวใน บทบัญญตั ิมฉิ ะนัน้ อาจจะขัดกับพนั ธกรณภี ายใต WTO ได

132 การจัดตง้ั กลุมเศรษฐกจิ ตามมาตรา 24 นั้น มีอยู 3 รปู แบบ คือ 1. สหภาพศุลกากร 2. เขตการคาเสรี 3. ขอตกลงชว่ั คราวกอนทีจ่ ะจดั ต้งั สหภาพศลุ กากรหรือเขตการคาเสรี เหตุผลของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ประเทศเลก็ ทกี่ าํ ลงั พัฒนากอตัวเปนกลุมเศรษฐกิจมากขึ้น เพราะนานาประเทศตระหนักวาการที่มี ตลาดใหญ การรวมใชทรัพยากร การแบง งานกนั ทาํ อยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะประเทศท่ีอยูในอาณาบรเิ วณ ใกลเ คียงกนั จะนาํ ไปสูพ ฒั นาการทางเศรษฐกจิ ทแ่ี ขง็ แกรง และสามารถแขง ขนั กับตลาดใหญ ๆ ได ประเทศไทยไดรว มมือทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศอื่น ๆ อยางกวางขวาง และไดเขารวมเปน สมาชิกของ องคก รระหวา งประเทศหลายองคก ร ดงั นี้ 1. กลุมอาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาติเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ประกอบดว ย 6 ประเทศ ไดแ ก อนิ โดนเี ซยี มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน และไทย สํานกั งานใหญต ั้งอยทู ีเ่ มืองจาการตา ประเทศอนิ โดนีเซยี องคกรนมี้ วี ัตถุประสงค เพื่อสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนการเมืองระหวา งประเทศสมาชกิ จากการกอต้ังกลุมอาเซียน มาต้ังแต พ.ศ. 2510 มาจนถึงปจจุบัน ประเทศสมาชิกอาเซียน มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว โครงสรางทางเศรษฐกิจก็เปล่ียนแปลงจากภาคเกษตรไปสู ภาคอตุ สาหกรรมมากขนึ้ สง ผลใหป ระเทศสมาชิกประสบปญหาทั้งทางดานการขาดดุลการคา การเพิ่มอัตรา คา จา งแรงงาน และการขาดแคลนการบริการพน้ื ฐาน 2. กลุมเอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) กอตงั้ ขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2532 มีสมาชิก 12 ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมรกิ า เกาหลใี ต สงิ คโปร ฟลิปปนส นิวซีแลนด มาเลเซีย ญ่ีปุน อินโดนีเซีย แคนาดา บรไู น ออสเตรเลีย และไทย องคก รน้ีมวี ัตถปุ ระสงคเพ่อื สง เสริมความรวมมือในการแกปญหารวมกนั สงเสรมิ การคาเสรี ตลอดจน การปรบั ปรงุ แบบแผนการติดตอ การคา ระหวางกนั และเพอื่ ตั้งรบั การรวมตวั เปน ตลาดเดยี วกนั ระหวางประเทศ สมาชิก 3. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสําหรับเอเชียและแปซิฟก (Economic and Social Commission for Asia and pacific : ESCAP) องคกรนี้เปนองคกรที่จัดต้ังขึ้นโดยองคการสหประชาชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือ ในการพัฒนาดานเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศสมาชิกที่อยูในเอเชียและแปซิฟก รวมท้ังประเทศไทยดวย ESCAP เปนองคกรท่ีขยายมาจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแหงเอเชียและตะวันออกไกล (Economic commission for Asia and the Far East : ECAFE) ซง่ึ จดั ต้งั ขน้ึ เม่ือ พ.ศ. 2490 และใน พ.ศ. 2517 ไดข ยาย มาเปน ESCAP ทง้ั น้ีเพื่อใหค รอบคลุมประเทศในพน้ื ทีเ่ อเชียและแปซฟิ ก ทงั้ หมด ประเทศท่เี ปนสมาชิกจะไดรับ ความชว ยเหลือในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม สํานักงานต้งั อยทู ี่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

133 4. ขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement of Tariffs and Trade : GATT) กอตั้งเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2490 มีประเทศสมาชิกเกือบท่ัวโลก ประเทศไทยเขาเปนสมาชิก เมื่อวนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2525 องคกรนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ พ่อื สงเสรมิ ระบบการคาเสรีและสงเสริมสัมพันธภาพ ทางการคา และเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ โดยทุกประเทศสมาชิกตองปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของ GATT ประเทศ ไทยไดรับการสงเสริมดานการขยายตวั ทางการคา ทําใหค วามเสยี เปรยี บดา นการเจรจาการคาระหวา งประเทศ กบั มหาอํานาจทางเศรษฐกจิ ลดลงไปมาก ลักษณะ ประเภทสินคาของประเทศในเอเชีย ประเทศตาง ๆ ในเอเชียมีการผลิตสินคาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เนื่องจากลักษณะ ภูมปิ ระเทศท่เี ปนที่ตัง้ ของประเทศ ท่สี ามารถผลิตสินคา ไดดี โดยเฉพาะผลผลิตท่ีเปนอาหารของโลกท่ีไดจาก การเกษตร เชน ขาว ยางพารา มันสําปะหลัง แตก็มีหลายประเทศ เชน จีน ญ่ีปุน อินเดีย ท่ีพลิกผันไปผลิต สนิ คา ทีเ่ ปนเทคโนโลยสี มัยใหม เชน ยานยนต อุปกรณไ ฟฟา คอมพิวเตอร และอนื่ ๆ ประเทศไทย มีการผลิตสนิ คาท่สี ง ออกขายทัว่ โลก สนิ คาเกษตรสง ออกสําคญั ท่นี าํ รายไดเขาประเทศ สูงสดุ 10 อันดับแรก ไดแก ยางพาราและผลติ ภัณฑ ขา วและผลติ ภัณฑ ปลาและผลิตภัณฑ กุงและผลิตภัณฑ ไมและผลิตภัณฑ มันสําปะหลังและผลิตภัณฑ น้ําตาลและผลิตภัณฑ ผลไมและผลิตภัณฑกระดาษและ ผลติ ภณั ฑเ นื้อไก นอกจากนนั้ ยงั มีสนิ คา ที่ประเทศไทยทาํ การคาระหวางประเทศ เชน สง่ิ ทอและวสั ดุสง่ิ ทอ การออกแบบ ผลิตภณั ฑ อญั มณี และอุตสาหกรรมการทองเทยี่ ว อนิ โดนเี ซยี มีทรพั ยากรปาไม พ้ืนที่สวนใหญเปนปาดงดิบ เปนประเทศท่ีมีปาไมมากที่สุดในเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต ผลติ ผลจากปา ไมสวนใหญเปนไมเน้อื แข็ง แรธาตุ แรธ าตุทีส่ าํ คัญ ไดแก น้ํามนั ปโ ตรเลียม ทํารายไดใหกับประเทศมากท่ีสุด อินโดนีเซียเปนสมาชิกขององคการประเทศ ผูสงนํ้ามันเปนสินคาออก เกษตรกรรม มกี ารปลูกพชื แบบขน้ั บันได พชื เศรษฐกจิ ไดแก ขาว ยาสบู ขา วโพด เคร่ืองเทศ ประมง ลักษณะ ภมู ิประเทศเปนหมเู กาะทําใหอ นิ โดนีเซียสามารถจบั สตั วนํ้าไดมาก อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรมท่ีสําคัญ ไดแก การกลั่นน้าํ มนั การตอเรือ ญี่ปนุ การสงออกของญปี่ ุนสินคา สงออกของญ่ปี นุ ทส่ี ําคญั เปน ประเภทยานพาหนะและอุปกรณข นสง เคร่อื งจกั ร และสินคา อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เรือ ผลติ ภัณฑเ ภสัชกรรม เครอื่ งสําอาง รถไฟ/รถรางและอปุ กรณ รวมถึง ผลิตภัณฑจ ากกระดาษ เชน การบรรจภุ ัณฑ สิงคโปร ไมม ีทรัพยากรธรรมชาติของตนเอง ไมม แี รธาตใุ ดๆ แมกระทั่งนาํ้ จดื ยงั ไมมีเพียงพอ ตองพึ่ง แหลง นํา้ จดื จากมาเลเซีย อตุ สาหกรรมสําคัญๆ โดยนําเขาวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบาน เชน อุตสาหกรรม กลั่นนํ้ามัน โดยซ้ือนํ้ามันดิบจากอินโดนีเซียและบรูไน นอกจากนี้ยังมีอุตสาหกรรมถลุงแรเหล็กและดีบุก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร่อื งใชไฟฟา อุตสาหกรรมผลิตรถยนตแ ละชนิ้ สว นอะไหล ฯลฯ

134 สาธารณรัฐประชาชนลาว สินคาสงออกของลาว ไดแก ไมและไมแปรรูป สินคาประมงและสัตว แรธาตุ สินคาการเกษตร เชน ชา กาแฟ เครื่องเทศ ฯลฯ เครื่องนุงหม พาหนะและอะไหล หนังสัตวและ ผลิตภัณฑห นังฟอก เครอื่ งจกั รกลท่ไี มใ ชไ ฟฟา และสวนประกอบ เครื่องพลาสตกิ ผลิตภัณฑและเครอื่ งอุปโภค เวียดนาม สินคาสงออกที่สําคัญของเวียดนาม ไดแก ขาว นํ้ามันดิบ ส่ิงทอและเสื้อผาสําเร็จรูป รองเทา ผลติ ภัณฑส ตั วน าํ้ ทะเล ไมและเฟอรนเิ จอร กาแฟ สาธารณรัฐแหง สหภาพพมา (เมียนมาร) รัฐบาลพมาประกาศนโยบายตั้งแตเขายึดอํานาจการ ปกครองใหม ๆ ท่ีจะเปลยี่ นแปลงเศรษฐกิจพมา จากระบบวางแผนสว นกลาง (Centrally-planned economy) เปนระบบตลาดเปด ประเทศ รองรับและสง เสรมิ การลงทนุ จากภายนอก สง เสริมการสง ออก การทอ งเท่ยี ว และ ขยายความรวมมอื ทางเศรษฐกิจกบั ภมู ภิ าค แตใ นทางปฏิบัติการปรับโครงสรางเศรษฐกิจของพมาไมคืบหนา รัฐบาลพมา ไมไ ดดาํ เนนิ การในทิศทางดังกลาวอยางเต็มที่ รัฐบาลยังคงคุมและแทรกแซงภาคการผลิตตาง ๆ อยางเขมงวด มีการเปลย่ี นแปลงกฎระเบียบดา นการคา การลงทุน ดานเกษตรกรรม รฐั บาลพมาใหค วามสําคัญตอการผลิตและสงออกผลผลิตถั่ว ขาว ยางพารา ไดปรับ ระบบการสง ออกถ่ัวขนึ้ ใหม เพือ่ ใหเ กดิ ความคลอ งตวั และจงู ใจใหเกษตรกร ขยายการเพาะปลูก และรฐั บาลพมา พยายามสงเสรมิ โครงการปลูกขา วเพือ่ การสงออก ปจ จุบนั แมว า รฐั บาลพมา ยังไมไดดําเนินการใด ๆ ที่สําคัญ เพ่ือปฏิรูประบบเศรษฐกิจมหภาค แตพยายามเรงการพัฒนาภาคการเกษตร การสงเสริมการลงทุนจาก ตา งประเทศ การสงเสรมิ การทองเทีย่ ว การนาํ ทรัพยากรมาใชโดยเฉพาะกาซธรรมชาติและพลงั นํ้า

135 ประเทศจนี มปี ระชากรมาก และอาณาเขตกวา งขวางเปน ที่สองของโลก ผลผลิตตา ง ๆ สวนใหญ เพื่อเลี้ยงชีพคนในประเทศ แตอยางไรก็ตามรัฐบาลไดกําหนดนโยบายเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจใหสามารถ สงออกไปยงั นานาประเทศได โดยเนนศกั ยภาพของพลเมอื งเปนสําคัญ เชน ทางตะวันตกเฉียงเหนือ มีแรเหล็กมาก ก็จะเนนการเจรญิ เติบโตดานการผลิตเหลก็ กลา และผลติ ภณั ฑท่ีทาํ จากเหลก็ เมอื งที่เปนกลางการคาก็เนนการ บริการสงออก การผลิตสนิ คายานยนต เคร่อื งใชไฟฟาและอเี ล็กทรอนกิ ส เชน เซี่ยงไฮ เมืองที่มี ทรัพยากรธรรมชาติสวยงาม ก็เนนธุรกิจการทองเท่ียว และที่สําคัญผลผลิตทางการเกษตรที่เปนของจีน สามารถสงออกจาํ หนา ยเปนคูแ ขง ท่ีสาํ คญั ของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย เชน ผัก ผลไม และอาหารทะเล เปนตน เรือ่ งที่ 6 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น 1. ความเปน มา อาเซยี นหรอื สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ( Association of South East Asian. Nation : ASEAN) เปนองคกรระหวางประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตกอตั้งขึ้น เมื่อวันท่ี 8 สงิ หาคม 2510 จนถงึ ปจจุบนั มสี มาชิกรวมทัง้ สิน้ 10 ประเทศ ไดแก ประเทศไทย, มาเลเชีย , สาธารณรัฐ ฟลิปปนส , อินโดนีเชีย , สาธารณรัฐสิงคโปร , บรูไนดารุสซาลาม , สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม , สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว , สหภาพพมา และราชอาณาจักรกัมพูชา การกอตั้งมีวัตถุประสงค

136 เพ่ือสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สงเสริมความรวมมือซ่ึงกันและกันอันจะนํามาสู ความมัน่ คงทางการเมอื งความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม ในยุคท่สี ถานการณโ ลกมีการเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเรว็ การรวมตัวกนั ของประเทศในกลุมอาเซียน ท้ัง 10 ประเทศ ใหเขมแข็ง จะทําใหประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สามารถเผชิญกับการ เปลย่ี นแปลงและปญหาไดดีย่งิ ขนึ้ อกี ทง้ั ยงั เปนการเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขงขัน เพราะการที่มีสมาชกิ ถงึ 10 ประเทศ มีทาทเี ปนหนึง่ เดยี วในเวทรี ะหวา งประเทศ ทาํ ใหอ าเซียนมคี วามนา เช่อื ถอื และมอี าํ นาจตอ รอง ในเวทีระหวางประเทศมากข้ึน ดังนั้นในการประชุมผูนําอาเซียน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่บาหลี ผูนํามี ความเหน็ ตรงกนั วา อาเซยี นควรรวมมือกนั ใหเ หนยี วแนน เขมแข็งและมนั่ คงยงิ่ ข้นึ จึงมีการลงนามในปฏิญญาวา ดว ยความรว มมืออาเซียนเพื่อกําหนดใหมกี ารสรางประชาคมอาเซียนขึ้นภายในป 2563 ตอมาไดมีการเล่ือน กาํ หนดการรวมตัวในป พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียนประกอบดว ย 3 เสาหลัก ไดแก ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนประชาคมสังคม – วัฒนธรรมอาเซยี น และประชาคมความมัน่ คงอาเซียน ซ่ึงในทนี่ เ้ี ราจะเรียนรูเฉพาะ เรอ่ื งประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Comunity : AEC) เปนการรวมกลุมของประเทศสมาชิก ของอาเซียนทงั้ 10 ประเทศ ท่ีเนนใหค วามสําคัญในเร่อื งการสรา งความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง โดยท่ีประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งท่ี 8 เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2545 โดยเห็นชอบให อาเซยี นกําหนดทศิ ทางการดําเนินงานเพอ่ื มุง ไปสกู ารเปนประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน เพอ่ื ใหอาเซียนปรับปรุง กระบวนการดําเนินงานภายในของกลมุ อาเซียนใหม ปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้ึน ซง่ึ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนในป 2546 ผูนําอาเซียนไดอ อกแถลงการณเห็นชอบใหม กี ารรวมตวั ไปสูก ารเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใน ป 2558 และเรง รัดการรวมกลุม เพื่อเปด เสรีสนิ คา และบริการสาํ คญั ใน 12 สาขา ไดแก การทอ งเท่ียว การบิน ยานยนต ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง ส่ิงทอ อิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ สขุ ภาพ และ โลจิสติกส 2. ความสาํ คัญ ทามกลางบริบททางเศรษฐกิจ การคาและการลงทุนระหวางประเทศที่มีการแขงขันสูงอันสงผล ใหป ระเทศตา ง ๆ ตอ งปรบั ตวั เองเพอื่ ใหไ ดรับประโยชนจากระบบเศรษฐกจิ โลก รวมถึงการรวมกลมุ การคากัน ของประเทศตา ง ๆ อาทิ สหภาพยโุ รป และเขตการคา เสรีอเมรกิ าเหนอื ผูนาํ ประเทศสมาชกิ อาเซียนไดเหน็ ชอบ ใหจัดต้ัง “ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน” ภายในป 2585 เพ่ือท่ีจะใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มคี วามมั่นคง มัง่ คัง่ และสามารถแขง ขันกับภมู ิภาคอนื่ ๆ ได โดยยดึ หลัก ดังน้ี 1. มงุ ทจี่ ะจดั ต้ังใหอาเซียนเปนตลาดเดยี วและเปน ฐานการผลติ รวมกัน 2. มงุ ใหเ กดิ การเคลอื่ นยา ยเงนิ ทนุ สนิ คา การบรกิ าร การลงทนุ แรงงานฝมอื ระหวา งประเทศ สมาชกิ โดยเสรี 3. ใหค วามชว ยเหลอื แกประเทศสมาชกิ ใหมของอาเซียน (ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สหภาพพมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดชองวาง

137 ของระดบั การพฒั นาของประเทศสมาชิกอาเซียน และชวยใหประเทศสมาชิกเหลาน้ีเขารวมในกระบวนการ รวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน สงเสริมใหอาเซียนสามารถรวมตัวเขากับประชาคมโลกไดอยางไมอยูใน ภาวะทเ่ี สยี เปรยี บและสง เสรมิ ขีดความสามารถในการแขงขนั ของอาเซยี น 4. สงเสริมความรวมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาโครงสราง พื้นฐานและการคมนาคมความรวมมือดานกฎหมาย การพัฒนาความรวมมือดานการเกษตร พลังงาน การทองเทยี่ ว การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย โดยการยกระดับการศกึ ษาและการพฒั นาฝมือ ประชาคมเศรษฐกจิ ของอาเซยี น จะเปนเครอ่ื งมือสาํ คญั ที่จะชว ยขยายปริมาณการคาและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพ่ึงพา ตลาดของประเทศในโลกท่ีสาม สรางอํานาจการตอรองและศักยภาพในการแขงขันของอาเซียนในเวที เศรษฐกจิ โลก เพมิ่ สวสั ดกิ ารและยกระดบั ความเปน อยขู องประชาชนของประเทศสมาชกิ อาเซียน หากอาเซียนสามารถสรางประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นไดสาํ เร็จ ประเทศไทยจะไดประโยชนจากการ ขยายการสงออก โอกาสทางการคา และเปด โอกาสการคาบรกิ ารในสาขา ท่ีประเทศไทยมีความเขมแข็ง เชน การทองเทีย่ ว โรงแรมและภัตตาคาร สุขภาพ ฯลฯ ซ่งึ อาเซยี นยังมีความตอ งการดานการบรกิ ารเหลา นี้อีกมาก นอกจากน้ียังชวยเสริมสรางโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศมายังอาเซียน ซ่ึงจะเพิ่ม อาํ นาจการตอรองของอาเซยี นในเวทกี ารคาโลก และยกระดับความเปน อยขู องประชาชนในอาเซยี นโดยรวมให ดยี ่งิ ขนึ้ 3. กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทาํ ใหอาเซียนมีสถานะเปนนติ ิบคุ คล เปนการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรา งองคก รใหก ับอาเซียน ผูนําอาเซียนไดล งนามรับรองกฎบัตรอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ในโอกาสครบรอบ 40 ป ของการกอตงั้ อาเซยี น ณ ประเทศสิงคโปร เพื่อใหประชาคมโลก ไดเห็นถงึ ความกาวหนา ของอาเซียนท่จี ะกาวเดินไปดวยกนั อยา งมัน่ ใจระหวา งประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ และถอื เปนประวตั ิศาสตรจ ะปรบั เปลี่ยนอาเซียนใหเปนองคกรท่ีมีสถานะเปนนิติบุคคลในฐานะที่เปนองคกร ระหวางรัฐบาล ทง้ั นปี้ ระเทศสมาชกิ ไดใ หสตั ยาบนั เปน กฎบัตรอาเซียนครบท้ัง 10 ประเทศแลว เม่อื วันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 ดังนน้ั กฎบัตรอาเซียนจึงมีผลบงั คับใชต ัง้ แตว นั ท่ี 15 ธันวาคม 2551 เปนตน ไป วตั ถุประสงคข องกฎบัตรอาเซียน 1. เพ่ือใหองคกรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลางและเคารพกฎกติกาในการ ทํางานมากขึน้ 2. เพื่อเสริมสรางกลไกตรวจสอบเฉพาะและติดตามการดําเนินการตามความตกลงตาง ๆ ของประเทศสมาชิก ใหมผี ลเปนรูปธรรม 3. เพอื่ ปรบั ปรุงโครงสรางการทํางานและกลไกตา ง ๆ ของอาเซยี นใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเพ่มิ ความยืดหยนุ ในการแกไ ขปญหา

138 4. ความรวมมอื ดา นเศรษฐกิจ ความรว มมอื ดา นเศรษฐกิจของอาเซียนเร่ิมมีเปาหมายชัดเจนเร่มิ นําไปสกู ารรวมตวั ทางเศรษฐกิจของ ประเทศในภูมิภาคอาเซียน นับต้ังแตการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ข้ึนและนับแตนั้นมากิจกรรม อาเซียนไดข ยายครอบคลุมไปสทู ุกสาขาหลักทางเศรษฐกิจ รวมท้ังในดานการคาสินคาและบริการการลงทุน มาตรฐานอุตสาหกรรมและการเกษตรกรรม ทรัพยสินทางปญญา การขนสง พลังงาน และการเงิน การคลัง เปน ตน ความรวมมือทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี นท่สี ําคัญ มดี งั น้ี 4.1 เขตการคาเสรอี าเซยี น (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA) เขตการคาเสรอี าเซยี น หรือ AFTA เปนขอตกลงทางการคาสําหรับสินคาที่ผลิตภายในประเทศ สมาชิกอาเซียนทั้งหมด ทําข้ึนเม่ือป พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของ อาเซียน ในฐานะทีเ่ ปนการผลิตท่ีสาํ คญั ในการปอ นสนิ คา สูตลาดโลก โดยอาศยั การเปด เสรีดานการคา การลด ภาษี และยกเลิกอุปสรรคขอกีดขวางทางการคาท่มี ใิ ชภ าษี 4.2 เขตการลงทุนอาเซยี น (ASEAN Investment Area หรือ AIA) ทปี่ ระชุมสดุ ยอดอาเซียนคร้งั ท่ี 5 เม่อื เดอื นธนั วาคม 2538 ที่กรุงเทพฯ ไดเห็นชอบใหจัดตั้งเขต การลงทนุ อาเซียน เปนเขตการลงทุนเสรีที่มีศักยภาพโปรงใสเพื่อดึงดูดนักลงทุนทั้งจากภายในและภายนอก ภูมิภาค ความตกลงครอบคลุมการลงทุนในอุตสาหกรรม 5 สาขา คือ สาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร ประมง ปา ไม และเหมอื งแร และภาคบรกิ ารทีเ่ กี่ยวเนื่องกับ 5 สาขาการผลิตดังกลาว ยกเวน การลงทุนดาน หลกั ทรัพยและการลงทุนในดา นซึง่ ครอบคลมุ โดยความตกลงอาเซยี นอนื่ ๆ 4.3 ความริเร่ิมเพ่ือการรวมตัวของอาเซยี น (Initiative for ASEAN Integration หรอื IAI) การรวมตัวของประเทศสมาชิก เพ่ือลดชองวางดานการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิกเกา (ไทย มาเลเซยี ฟล ปิ ปนส สิงคโปร บรูไน อินโดนีเซีย) กับสมาชิกใหมของอาเซียน (สหภาพพมา สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) โดยใหประเทศ สมาชกิ เกา รวมกันจดั ทําโครงการใหความชวยเหลอื แกประเทศใหม ครอบคลมุ 4 ดา น ไดแก โครงสรา งพ้ืนฐาน การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 4.4 ความรว มมือดา นอตุ สาหกรรม (ASEAN Industrial Cooperation Scheme หรือ AICO) ความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน เปนโครงการความรวมมือที่มุงสงเสริมการลงทุน ในอุตสาหกรรมท่ีใชเทคโนโลยีเปนฐานการผลิต โดยยึดหลักของการใชทรัพยากรรวมกัน การแบงสวน การผลติ ตามความสามารถ และความถนัด 4.5 กรอบความตกลงดา นการคาบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services หรือ AFAS) เปนการกําหนดกรอบการเปดเสรีการคาการบริการในสาขาการบริการตาง ๆ ของอาเซียน โดยจัดทําขอผูกพันในดานการเปดตลาด (market access) การใหการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ (National Treatment) และดานอื่น ๆ (additional commitments) นอกจากน้ี สมาชิกอาเซียนยังตองเรงรัดเปด ตลาด ในสาขาบริการที่เปนสาขาสําคัญ 5 สาขา ไดแก สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ

139 สาขาการทอ งเที่ยว สาขาการบิน และสาขาบริการโลจิสตกิ ส ทง้ั นเ้ี พ่ือใหอาเซียนมีความพรอมในการกาวไปสู การเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 ตอ ไป 4.6 ความรวมมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส (e-ASEAN Framework Agreement) ผูนําของอาเซียน ท้ัง 10 ประเทศ รวมกันลงนามในกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของ อาเซียน ซ่ึงเปนขอตกลงที่กําหนดแนวทางเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดาน เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร (Information Technology and Communication-ICT) เพื่อพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ สาร ในภมู ภิ าคใหสอดคลอ งกนั และเปนไปในทศิ ทางเดียวกัน โดยมีมาตรการ ที่ครอบคลมุ ท้งั 5 ดาน ดังน้ี 1) การพัฒนาเช่ือมโยงโครงสรางพนื้ ฐานดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศของอาเซียน (ASEAN Information Infrastructure) ใหสามารถติดตอ ถงึ กนั ไดอ ยางทว่ั ถงึ กันและดวยความเรว็ สูง 2) การอํานวยความสะดวกดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) โดยการออกกฏหมาย และระเบียบดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่สอดคลองกับมาตรฐานระหวางประเทศ และมีระบบรักษา ความปลอดภัยที่เปนมาตรฐานสากล เพอ่ื สรา งความเชอ่ื มนั่ แกผบู ริโภค 3) สงเสริม และเปดเสรีดานการคาสินคา บริการ และการลงทุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ICT) โดยประเทศสมาชิกอาเซียนจะยกเลิกภาษีและอุปสรรคทางการคา ไมใชภาษสี าํ หรบั สินคา ICT 4) สรางสังคมอิเล็กทรอนิกส (e-Society) เสริมสรางความสามารถและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส เพือ่ ประโยชนตอสังคม 5) สรางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) สงเสริมใหมีการใช ICT ในการบริการของ ภาครัฐใหม ากขึน้ 4.7 ความรว มมอื ดานการเงนิ การคลัง (Financial Cooperation) เปน กรอบความตกลงความรว มมือท่ีเนนการสรางกลไกการสนับสนุนเก้ือกูลระหวางกันในเรื่อง การเงินการคลงั ของประเทศสมาชกิ เพอื่ ดแู ลสภาวะเศรษฐกิจดา นการเงิน 1) อาเซียนไดจัดตั้งระบบระวังภัยอาเซียน (ASEAN Surveillance Process) ข้ึน เมื่อวันท่ี 4 ตุลาคม 2541 เพ่อื สอดสอ งดูแลสภาวะเศรษฐกจิ และการเคลอ่ื นยายเงินทุนในภูมิภาค โดยใหมีการหารือและ แลกเปลยี่ นขอคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ภาวะเศรษฐกจิ ในประเทศสมาชิกในภูมภิ าคและในโลก โดยธนาคารพฒั นาเอเชยี (ADB) ไดสนับสนุนและใหความชวยเหลือทางวิชาการและเงินทุนโดยการจัดการฝกอบรมดานเทคนิค แกเจาหนาท่ีประเทศสมาชิก และในการจัดต้ัง ASEAN Surveillance Technical Support Unit ในสํานักงานเลขาธิการอาเซยี นเพอื่ สนับสนุนระบบดงั กลา ว 2) การเสรมิ สรางกลไกสนบั สนนุ และเกอ้ื กูลระหวางกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Enhancing self-help and support mechanism in East Asia) โดยไดก าํ หนดแนวทางความรว มมอื กบั จีน ญ่ีปุน และ เกาหลใี ต ทีส่ าํ คัญ ไดแก จัดทําความตกลงทวภิ าคีดานการแลกเปล่ียนการซ้ือ-ขายคืนเงินตราหรือหลักทรัพย

140 ตางประเทศ หารือเก่ียวกับการจัดต้ังระบบเตือนภัยในภูมิภาคและการแลกเปล่ียนการหารือเกี่ยวกับภาวะ เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค 3) ความริเร่ิมเชียงใหม (Chiang Mai Initiative) ซึ่งไดจัดตั้งข้ึนเมื่อวันท่ี 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 เปนการปรับปรุงความตกลงแลกเปล่ียนเงินตราอาเซียน (ASEAN Swap Arrangement - ASA) ในดานโครงสราง รูปแบบและวงเงิน และใหเสริมดวยเครือขายความตกลงทวิภาคีระหวางประเทศ อาเซียนกับจีน ญ่ีปุนและสาธารณรัฐเกาหลี (Bilateral Swap Arrangment-BSA) โดยไดขยายให ASA รวมประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศแลว 4.8 ความรว มมอื ดานการเกษตรและปา ไมของอาเซียน และอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชน จนี สาธารณรฐั ประชาชนเกาหลี และญป่ี นุ ) เปน โครงการความรวมมอื ระหวา งอาเซียน และประเทศอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรฐั ประชาชนเกาหลี และญปี่ นุ ) ทคี่ รอบคลุมความรวมมือในดานการประมง ปาไม ปศุสัตว พืช และ อาหารการเกษตร เพอ่ื สงเสริมความมัน่ คงทางดา นอาหารและความสามารถในการแขง ขันของอาเซียนในดาน อาหารและผลผลติ ปา ไม 4.9 ความรวมมอื ดานการขนสง เปนกรอบความตกลงที่เนนการอํานวยความสะดวกในการขนสงท้ังสินคาและบริการรวมกัน ระหวางประเทศสมาชิกทจ่ี ะสงผลใหส ภาพเศรษฐกิจโดยรวมในภูมภิ าคเจรญิ เตบิ โตอยา งรวดเร็ว 1) โครงการพัฒนาทางหลวงอาเซียน (ASEAN Highway Network Project) ลักษณะของ โครงขายทางหลวงอาเซยี น คอื มที างหลวงครอบคลมุ 23 สาย ท่วั ทง้ั ภูมภิ าคอาเซียน และจดั ทํามาตรฐานทาง หลวงอาเซยี น (ปายจราจร สญั ญาณ และระบบหมายเลข)ใหเปนแบบเดียวกัน 2) การอํานวยความสะดวก ในการขนสงสินคาผานแดน มีวัตถุประสงคใหประเทศสมาชิก อาเซียนอนุญาตใหรถยนตขนสงท่ีจดทะเบียนในประเทศสมาชิกหน่ึงสามารถขนสงสินคาผา นแดน ไปยงั อีก ประเทศหน่ึงได 3) การเปด เสรบี ริการขนสงเฉพาะสินคา ของอาเซียน มีวัตถปุ ระสงคท จี่ ะสงเสริมการขนสงสินคา ในอาเซยี นดว ยกนั 4) การเปดเสรีบริการขนสงผูโดยสารทางอากาศของอาเซียน เปนการสงเสริมอุตสาหกรรม การทองเทีย่ วและการสง ออกสนิ คา ของไทยและสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลท่ีตองการใหมีการเปดเสรี การบินและสง เสริมใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการบินในภมู ภิ าคนีด้ ว ย 4.10 ความรว มมอื ดานพลงั งานในอาเซยี น (ASEAN Energy Cooperation) เพ่ือเสริมสรางความมั่นคงและความยั่งยืนในการจัดหาพลังงาน การใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพในภมู ภิ าคอาเซียน และการจดั การดา นความตองการพลังงานอยา งเหมาะสม โดยคํานึงถึงปจจัย ดานสภาพสงิ่ แวดลอม และการชวยเหลอื กันในการแบงปน ปโ ตรเลยี มในภาวะฉุกเฉิน

141 4.11 ความตกลงดานการทอ งเทีย่ วอาเซยี น (ASEAN Tourism Agreement) เปนความรวมมือเพื่อสงเสริมใหอาเซียนเปนจุดหมายปลายทางการทองเท่ียว โดยเนน ความรว มมือใน 7 ดาน คอื การอํานวยความสะดวกการเดินทางในอาเซียนและระหวางประเทศ การอํานวย ความสะดวกดานขนสง การขยายตลาดการทองเทย่ี ว การทอ งเท่ียวที่มคี ณุ ภาพความปลอดภัยและความม่ันคง ของการทองเที่ยว การตลาดและการสงเสริมรว มกนั และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซ่ึงตอมาการตกลงดาน การทองเที่ยวอาเซยี นนยี้ งั ไดข ยายไปยังประเทศอาเซยี น +3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชน เกาหลี และญป่ี นุ ) เรียกวา “ความรวมมอื ดานการทอ งเทย่ี วในกรอบอาเซยี นและอาเซียน +3 โดยใหประเทศ อาเซยี น +3 เสนอแนวทางความรวมมอื กับประเทศสมาชิกอาเซียนทช่ี ดั เจนเพือ่ สง เสริมความรวมมอื ระหวางกนั 5. ประโยชนและผลกระทบตอประเทศไทย 5.1 ประโยชนท ป่ี ระเทศไทยไดรับจากการเขา รว มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น หากอาเซียนสามารถสรา งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดสําเรจ็ ตามเปาหมายท่ีตัง้ ไว ประเทศไทย จะไดป ระโยชนหลายประการ เชน 1) ขยายการสง ออกและโอกาสทางการคา จากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและท่ีมิใชภาษีจะเปด โอกาสใหส นิ คาเคลอื่ นยายเสรี 2) คาดวา การสงออกไทยไปอาเซยี นจะสามารถขยายตวั ไดไมตํา่ กวา 18 - 20% ตอป 3) เปดโอกาสการคาบรกิ าร ในสาขาท่ไี ทยมีความเขม แขง็ เชน ทอ งเท่ียว โรงแรมอาหาร และ สขุ ภาพ ทําใหไ ทยมีรายไดจากการคาบริการจากตา งประเทศเพิ่มข้นึ 4) สรางเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคล่ือนยายเงินทุนไดเสรีย่ิงขึ้นอุปสรรคการลงทุน ระหวา งอาเซียนจะลดลง อาเซียนจะเปนเขตการลงทนุ ทีน่ า สนใจทดั เทียมประเทศจีนและอนิ เดีย 5) เพิม่ พูนขดี ความสามารถของผปู ระกอบการไทย เมอื่ มีการใชทรัพยากรการผลิตรวมกัน/เปน พันธมิตรทางธุรกิจรวมกับอาเซียนอ่ืน ๆ ทําใหเกิดความไดเปรียบเชิงแขงขัน (Comparative Advantage) และลดตนทุนการผลติ 6) เพ่ิมอาํ นาจการตอ รองของไทยในเวทีการคา โลก สรางความเชื่อมน่ั ใหประชาคมโลก 7) ยกระดบั ความเปน อยขู องประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงวา AEC จะทําใหรายได ท่ีแทจ ริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นรอ ยละ 5.3 หรือคดิ เปนมลู คา 69 พันลานเหรียญสหรฐั ฯ 5.2 ผลกระทบจากประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ถงึ แมประเทศไทยจะไดประโยชนจ ากการเขา รว มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC) แตประเทศไทย ก็ไดรับผลกระทบดวยเชนกัน เชน 1) การเปด ตลาดเสรกี ารคา และบริการยอ มจะสง ผลกระทบตออุตสาหกรรมและผปู ระกอบการ ในประเทศท่มี ขี ดี ความสามารถในการแขงขันตํ่า 2) อตุ สาหกรรมและผปู ระกอบการในประเทศตองเรงปรับตวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook