Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 26. art 21003

Description: 26. art 21003

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช21003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย U หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 16/2555

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช21003) ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 16/2555

คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เมื่อวนั ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตาม หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและความเชื่อ พ้ืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและส่ังสมความรูและ ประสบการณอยา งตอเน่ือง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย ทางการศึกษาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพที่สามารถสรา งรายได ที่มง่ั คงั่ และมน่ั คง เปน บุคลากรท่มี วี นิ ยั เปยมไปดว ยคุณธรรมและจริยธรรม และมจี ิตสํานึกรบั ผิดชอบตอตนเอง และผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ เนื้อหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุง หนังสือเรยี น โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนื้อหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ พฒั นาหนังสือทใ่ี หผูเรียนศกึ ษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรู ความเขาใจ มกี ารอภปิ รายแลกเปลี่ยนเรยี นรูกับกลุม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงการเรียนรู และสือ่ อน่ื การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา และผเู กีย่ วขอ งในการจดั การเรียนการสอนทศ่ี กึ ษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อตาง ๆ มาเรียบเรียง เน้ือหาใหค รบถวนสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวช้ีวัดและกรอบเนื้อหาสาระของรายวิชา สาํ นกั งาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวาหนังสือเรียน ชุดน้ีจะเปน ประโยชนแ กผ เู รียน ครู ผูสอน และผูเ ก่ียวขอ งในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน. ขอ นอมรบั ดว ยความขอบคุณย่งิ

สารบญั หนา คํานาํ 1 คาํ แนะนําการใชห นังสือเรียน 2 โครงสรางรายวชิ า บทที่ 1 ทัศนศิลปไทย 9 32 เรื่องที่ 1 จดุ เสน สี แสง เงา รปู ราง และรปู ทรงทีใ่ ชใ นทศั นศิลปไทย 35 เรอื่ งที่ 2 ความหมายและเปน มาของทศั นศลิ ปไทย ดา นจติ รกรรมไทย 37 ประติมากรรมไทย สถาปต ยกรรมไทย ภาพพมิ พ 44 เรอ่ื งท่ี 3 ความงามและคณุ คาของทัศนศลิ ปไทย 52 เรื่องที่ 4 การนาํ ความงามของธรรมชาติมาสรางสรรคผ ลงาน 53 เรือ่ งที่ 5 ความคดิ สรางสรรค ในการนําเอาวัสดุและส่ิงของตาง ๆ มาตกแตง 62 79 รางกายและสถานท่ี 81 เรอื่ งที่ 6 คุณคาของความซาบซงึ้ ของวฒั นธรรมของชาติ 84 บทท่ี 2 ดนตรีไทย 85 เรอ่ื งที่ 1 ประวัตดิ นตรไี ทย 86 เรื่องที่ 2 เทคนิคและวธิ กี ารเลน ของเครอ่ื งดนตรีไทย 90 เร่ืองท่ี 3 คณุ คา ความงามความไพเราะของเพลงและเครื่องดนตรไี ทย 98 เรอื่ งที่ 4 ประวัติคณุ คาภูมิปญญาของดนตรีไทย 101 บทท่ี 3 นาฏศิลปไทย 105 เรื่องที่ 1 ความเปน มาของนาฏศลิ ปไ ทย เรื่องท่ี 2 ประวตั ินาฏศิลปไ ทย เรื่องท่ี 3 ประเภทของนาฏศลิ ปไทย เรื่องที่ 4 นาฏยศพั ท เรอ่ื งท่ี 5 รําวงมาตรฐาน เรื่องที่ 6 การอนุรักษน าฏศิลปไ ทย

บทที่ 4 นาฏศิลปไทยกบั การประกอบอาชพี 108 เรอื่ งที่ 1 คณุ สมบัติของอาชพี นกั แสดงที่ดี 108 เรือ่ งท่ี 2 คุณลกั ษณะของผปู ระกอบอาชพี การแสดง 108 อาชีพการแสดงหนงั ตะลงุ 109 อาชีพการแสดงลเิ ก 114 อาชีพการแสดงหมอลาํ 117 คณะผูจดั ทํา

คําแนะนําการใชห นังสือเรียน หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา ทช21003 เปนหนังสือเรียนท่ีจัดทําข้ึน สาํ หรับผูเ รยี นทเ่ี ปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวชิ า ศลิ ปศึกษา ผเู รยี นควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขาย เนอ้ื หาของรายวชิ าน้ัน ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอยี ดเนอื้ หาของแตล ะบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด แลวตรวจสอบ กบั แนวตอบกจิ กรรมตามทีก่ าํ หนด ถาผเู รียนตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมให เขา ใจ กอนทจ่ี ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทา ยเรือ่ งของแตละเร่ือง เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในเรื่องนั้น ๆ อีกครง้ั และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพ่ือน ๆ ที่ รวมเรยี นในรายวชิ าและระดับเดยี วกนั ไดหนงั สอื เรียนเลม นม้ี ี 4 บท คือ บทท่ี 1 ทัศนศลิ ปไทย บทที่ 2 ดนตรีไทย บทที่ 3 นาฏศิลปไ ทย บทท่ี 4 นาฏศลิ ปไ ทยกับการประกอบอาชพี

โครงสรา งรายวิชาศิลปศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน สาระสําคญั มคี วามรคู วามเขา ใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ช่ืนชม เห็นคณุ คา ความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ ม ทางทัศนศิลปไทย ดนตรไี ทย นาฏศลิ ปไทย และวเิ คราะหไ ดอ ยางเหมาะสม ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั 1. อธบิ ายความหมายของธรรมชาติ ความงาม ความไพเราะของทัศนศิลปไทย ดนตรีไทย และนาฏศลิ ปไทย 2. อธิบายความรูพนื้ ฐานของ ทศั นศลิ ปไ ทย ดนตรีไทย และนาฏศิลปไทย 3. สรางสรรคผ ลงานโดยใชความรูพน้ื ฐาน ดาน ทัศนศลิ ปไ ทย ดนตรีไทย และนาฏศลิ ปไทย 4. ชื่นชม เหน็ คณุ คาของ ทศั นศิลปไทย ดนตรไี ทย และนาฏศลิ ปไ ทย 5. วิเคราะห วิพากย วจิ ารณ งานดานทศั นศลิ ปไ ทย ดนตรไี ทย และนาฏศิลปไทย 6. อนุรักษสืบทอดภมู ิปญ ญาดานทศั นศิลปไ ทย ดนตรไี ทย และนาฏศิลปไ ทย ขอบขา ยเนอื้ หา บทท่ี 1 ทัศนศลิ ปไทย บทท่ี 2 ดนตรไี ทย บทท่ี 3 นาฏศลิ ปไทย บทท่ี 4 นาฏศลิ ปไ ทยกับการประกอบอาชีพ สอ่ื การเรียนรู 1. หนังสือเรยี น 2. กจิ กรรม

1 บทที่ 1 ทัศนศลิ ปไ ทย สาระสาํ คัญ ศกึ ษาเรียนรู เขาใจ เหน็ คณุ คา ความงาม ของทัศนศิลปไ ทย และสามารถอธบิ ายความงาม และความ เปน มาของทศั นศิลปไ ทย ไดอยา งเหมาะสม ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง อธบิ ายความหมาย ความสาํ คญั ความเปนมา ของทศั นศลิ ปไ ทย เขา ใจถงึ ตน กาํ เนดิ ภูมิปญ ญาและการ อนรุ ักษทศั นศิลปไทย ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 จดุ เสน สี แสง เงา รูปราง และรปู ทรงทใี่ ชในทศั นศิลปไ ทย เรอ่ื งท่ี 2 ความเปนมาของทศั นศลิ ปไ ทยดา นจติ รกรรมไทย ประตมิ ากรรมไทย สถาปตยกรรมไทย ภาพพมิ พ เรอ่ื งที่ 3 ความงามของทศั นศลิ ปไ ทย เรื่องท่ี 4 สรา งสรรคผลงานจากความงามตามธรรมชาติ เรอื่ งท่ี 5 ความคดิ สรา งสรรค ในการนาํ เอาวัสดแุ ละสิ่งของตา ง ๆ มาตกแตงรา งกายและสถานท่ี เรือ่ งท่ี 6 คุณคา ของความซาบซ้งึ ของวฒั นธรรมของชาติ

2 เร่อื งที่ 1 จุด เสน สี แสง เงา รปู ราง และรูปทรงทใี่ ชใ นทัศนศลิ ปไทย จุด ................................................................... คอื องคป ระกอบทเี่ ล็กท่สี ุด จดุ เปน สิ่งทบี่ อกตําแหนง และทิศทางได การนําจุดมาเรียงตอกันใหเปนเสน การรวมกนั ของจดุ จะเกดิ น้าํ หนกั ทใ่ี หป รมิ าตรแกร ปู ทรง เปนตน เสน หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดที่เรียงชิดติดกันเปนแนวยาว การลากเสนจากจุดหน่ึงไปยังจุดหน่ึง ในทศิ ทางทแี่ ตกตางกัน จะเปนทิศมมุ 45 องศา 90 องศา 180 องศา หรือมมุ ใด ๆ การสลับทิศทางของเสนท่ีลาก ทําใหเ กดิ เปน ลักษณะตาง ๆ เสนเปน องคป ระกอบพ้นื ฐานท่ีสําคัญในการสรา งสรรค เสน สามารถแสดงใหเกิดความหมายของภาพ และใหความรสู ึกไดต ามลักษณะของเสน เสนท่เี ปน พนื้ ฐาน ไดแก เสน ตรงและเสนโคง จากเสนตรงและเสนโคง สามารถนาํ มาสรางใหเกดิ เปน เสน ใหมท่ีใหความรูสึกที่แตกตางกันออกไปได ดงั น้ี เสนตรงแนวตงั้ ใหความรูสกึ แข็งแรง สูงเดน สงา งาม นาเกรงขาม เสนตรงแนวนอน ใหความรูสึกสงบราบเรยี บ กวา งขวาง การพักผอน หยดุ น่งิ เสนตรงแนวเฉียง ใหค วามรูสกึ ไมป ลอดภยั การลม ไมหยดุ นง่ิ เสน ตัดกนั ใหความรูสึกประสานกัน แขง็ แรง

3 เสนโคง ใหค วามรสู ึกออนโยนนมุ นวล เสน คด ใหค วามรสู ึกเคลื่อนไหวไหลเล่อื น รา เรงิ ตอ เนอื่ ง เสนประ ใหความรสู ึกขาดหาย ลึกลบั ไมสมบรณู  แสดงสวนท่มี องไมเ หน็ เสนขด ใหความรสู กึ หมุนเวียนมนึ งง เสนหยกั ใหค วามรูสกึ ขดั แยง นากลัว ต่นื เตน แปลกตา นักออกแบบนาํ เอาความรสู ึกท่มี ีตอ เสน ทแี่ ตกตางกันมาใชใ นงานศิลปะประยุกต โดยใชเสนมาเปล่ียน รปู รา งของตัวอักษร เพ่ือใหเ กดิ ความรสู ึกเคลื่อนไหวและทําใหสื่อความหมายไดดียง่ิ ขน้ึ

4 สี คอื สที ่นี าํ มาผสมกนั แลวทาํ ใหเกดิ สใี หม ท่ีมลี กั ษณะแตกตา งไปจากสเี ดมิ แมสีมอี ยู 2 ชนิด คือ 1. แมสขี องแสง เกิดจากการหักเหของแสงผา นแทง แกวปรซิ ึม มี 7 สี คือ มวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง สวนสแี ดง สเี ขียว และสนี า้ํ เงิน อยูในรูปของแสงรังสี ซ่ึงเปนพลังงานชนิดเดียวท่ีมีสี คุณสมบัติของแสง สามารถนาํ มาใชใ นการถายภาพ ภาพโทรทัศน การจดั แสงสีในการแสดงตาง ๆ เปนตน 2. แมส วี ตั ถธุ าตุ เปนสที ่ไี ดมาจากธรรมชาติ และจากการสงั เคราะหโดยกระบวนการทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีน้ําเงิน แมสีวัตถุธาตุเปนแมสีท่ีนํามาใชงานกันอยางกวางขวาง ในวงการศิลปะ วงการ อุตสาหกรรม ฯลฯ แมสวี ัตถุธาตุ เมอื่ นํามาผสมกนั ตามหลกั เกณฑ จะทาํ ใหเกิด วงจรสี ซึ่งเปน วงสีธรรมชาติ เกดิ จากการผสมกันของแมสวี ัตถุธาตุ เปน สีหลกั ทใ่ี ชงานทว่ั ไป ในวงจรสี จะแสดงส่ิงตา ง ๆ ดังตอ ไปนี้ สีแดง สีเหลอื ง สนี ้าํ เงิน วงจรสี ( Color Circle) สีขัน้ ท่ี 1 คอื แมสี ไดแก สแี ดง สเี หลอื ง สีน้าํ เงิน สขี นั้ ท่ี 2 คอื สที เ่ี กดิ จากสขี นั้ ที่ 1 หรือแมสผี สมกนั ในอัตราสว นท่ีเทากนั จะทําใหเกิดสใี หม 3 สี ไดแก สีแดง ผสมกบั สีเหลอื ง ได สสี ม สีแดง ผสมกบั สนี า้ํ เงนิ ได สีมว ง สเี หลือง ผสมกับสีนา้ํ เงิน ได สเี ขยี ว

5 สีขั้นที่ 3 คอื สที ่ีเกิดจากสขี นั้ ท่ี 1 ผสมกบั สขี ั้นที่ 2 ในอตั ราสวนท่เี ทากัน จะไดสอี นื่ ๆ อีก 6 สี คอื สแี ดง ผสมกับสสี ม ได สีสม แดง สแี ดง ผสมกบั สีมว ง ได สมี วงแดง สีเหลือง ผสมกับสเี ขียว ได สเี ขียวเหลอื ง สนี ้าํ เงิน ผสมกับสีเขียว ได สเี ขียวน้ําเงนิ สีน้ําเงิน ผสมกบั สมี วง ได สมี ว งน้ําเงนิ สเี หลอื ง ผสมกับสีสม ได สสี ม เหลือง วรรณะของสี คอื สที ใ่ี หค วามรูสกึ รอน-เยน็ ในวงจรสีจะมีสรี อน 7 สี และสเี ย็น 7 สี โดยจะมีสีมวงกับสี เหลือง ซึง่ เปนไดท ง้ั สองวรรณะ สีตรงขา ม หรอื สตี ัดกัน หรือสีคปู ฏปิ กษ เปนสีท่ีมีคาความเขมของสี ตัดกันอยางรุนแรง ในทางปฏิบัติ ไมน ยิ มนาํ มาใชรวมกัน เพราะจะทําใหแตละสไี มสดใสเทา ที่ควร การนาํ สีตรงขา มกันมาใชรวมกัน อาจกระทํา ไดด ังนี้ 1. มพี ้นื ท่ีของสีหน่ึงมาก อกี สหี นงึ่ นอย 2. ผสมสอี น่ื ๆ ลงไปในสใี ดสหี นึง่ หรือทัง้ สองสี 3. ผสมสีตรงขา มลงไปในสที งั้ สองสี สีกลาง คือ สีท่ีเขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีนํ้าตาล กับ สีเทา สีนํ้าตาล เกิดจากสี ตรงขามกันในวงจรสีผสมกัน ในอตั ราสว นท่เี ทา กัน สนี าํ้ ตาลมคี ุณสมบัติสําคัญ คอื ใชผ สมกับสอี น่ื แลว จะทาํ ให สีนั้น ๆ เขมข้ึนโดยไมเปล่ียนแปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ําตาล สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ วงจรสผี สมกนั ในอัตราสวนเทากนั สีเทา มคี ุณสมบตั ทิ ส่ี าํ คญั คือ ใชผสมกับสีอื่น ๆ แลวจะทาํ ให มดื หมน

6 ทฤษฎสี ีดังกลาวมผี ลใหเ ราสามารถนํามาใชเปนหลักในการเลือกสรรสีสําหรับงานสรางสรรค ของเราได ซง่ึ งานออกแบบไมไ ดถ ูกจาํ กดั ดวยกรอบความคดิ ของทฤษฎตี ามหลกั วชิ าการเทาน้ัน แตเราสามารถ คิดนอกกรอบ แหงทฤษฎนี ั้น ๆ คุณลกั ษณะของสีมี 3 ประการ คือ 1. สีแท หมายถงึ สีที่อยูในวงจรสีธรรมชาติ ทั้ง 12 สี ที่เราเห็นอยูทุกวันน้ีแบงเปน 2 วรรณะ โดยแบง วงจรสอี อกเปน 2 สว น จากสเี หลืองวนไปถึงสมี ว ง คอื 1.1 สรี อน ใหความรสู ึกรุนแรง รอ น ต่นื เตน ประกอบดวย สเี หลอื ง สเี หลืองสม สีสม สีแดงสม สแี ดง สมี วงแดง สมี ว ง 1.2 สีเย็นใหความรูสึกเย็น สงบ สบายตา ประกอบดวย สีเหลือง สีเขียวเหลือง สเี ขยี ว สเี ขียวนาํ้ เงนิ สนี ํา้ เงนิ สีมว งนํ้าเงนิ สมี วง เราจะเหน็ วา สีเหลือง และสมี ว ง เปนสที ่ีอยไู ดท ง้ั 2 วรรณะ คือ เปน ไดท้ังสีรอ น และสีเยน็ 2. ความจดั ของสี หมายถึง ความสด หรอื ความบรสิ ุทธ์ิของสีใดสีหน่ึง สีท่ีถูกผสมดวย สีดําจนหมนลง ความจดั หรอื ความบรสิ ุทธจิ์ ะลดลง ความจดั ของสจี ะเรียงลาํ ดับจากจัดทีส่ ดุ ไปจนหมนที่สดุ 3. น้ําหนักของสี หมายถงึ สที ี่สดใส สีกลาง สที ึบของสแี ตล ะสี สีทุกสจี ะมีนํ้าหนักในตัวเอง ถาเราผสม สขี าวเขา ไปในสใี ดสีหน่ึง สีนั้นจะสวางขนึ้ หรอื มีนาํ้ หนกั ออ นลงถาเพ่มิ สขี าวเขาไปทลี ะนอ ยๆ ตามลาํ ดับ เราจะ ไดน้าํ หนกั ของสที เี่ รยี งลาํ ดบั จากแกสดุ ไปจนถงึ ออ นสุด นํ้าหนกั ออนแกข องสที ไี่ ด เกิดจากการผสมดวยสีขาว เทา และดํา นาํ้ หนักของสีจะลดลงดวยการใชสขี าวผสม ซึง่ จะทําให เกิดความรูสึกนุมนวล ออนหวาน สบายตา เราสามารถเปรียบเทยี บระหวางภาพสกี บั ภาพขาวดาํ ไดอยา งชดั เจน เมอื่ นาํ ภาพสีท่เี ราเห็นวามีสีแดงอยูหลายคา ท้ังออน กลาง แก ไปถายเอกสารขาว - ดํา เม่ือนํามาดูจะพบวา สีแดงจะมีนํ้าหนักออน แก ต้ังแตขาว เทา ดํา น่ันเปนเพราะวา สแี ดงมีน้ําหนกั ของสีแตกตางกันนน่ั เอง สตี างๆ ทเี่ ราสัมผัสดวยสายตา จะทาํ ใหเกิดความรูสกึ ข้ึนภายในตอ เรา ทันทีที่เรามองเห็นสี ไมวาจะเปน การแตงกาย บา นที่อยอู าศัย เครอ่ื งใชตางๆ แลวเราจะทาํ อยา งไร จึงจะใชสีไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ หลักจติ วิทยา เราจะตอ งเขา ใจวา สใี ดใหค วามรูสกึ ตอมนษุ ยอยางไร ซง่ึ ความรูส ึกเก่ยี วกับสี สามารถจําแนกออก ไดดังน้ี สแี ดง ใหค วามรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ตื่นเตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ ความมั่งคง่ั ความรัก ความสําคญั สีสม ใหความรูสึก รอน ความอบอุน ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุน ความคึกคะนอง การปลดปลอย ความเปรี้ยว การระวัง สีเหลือง ใหค วามรูสกึ แจมใส ความรา เรงิ ความเบกิ บานสดชนื่ ชวี ติ ใหม ความสด ใหม สเี ขยี วแก จะทําใหเ กิดความรูสึกเศรา ใจ ความแกช รา

7 สนี ้ําเงนิ ใหความรสู กึ สงบ สขุ มุ สุภาพ หนกั แนน เครง ขรึม เอาการเอางาน ละเอยี ด รอบคอบ สีฟา ใหความรูสกึ ปลอดโปรง โลง กวาง เบา โปรง ใส สะอาด ปลอดภยั ความสวาง ลมหายใจ ความเปน อสิ รเสรีภาพ การชวยเหลือ แบง ปน สีคราม จะทําใหเกดิ ความรูส ึกสงบ สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรน มีอํานาจ มีพลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวงั ความสงบ ความสูงศักดิ์ สีน้ําตาล ใหความรูสึกเกา หนกั สงบเงยี บ สีขาว ใหค วามรสู กึ บรสิ ุทธ์ิ สะอาด ใหม สดใส สีดํา ใหความรูส กึ หนัก หดหู เศรา ใจ ทบึ ตนั สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส วัยรุน หนุมสาว ความนารกั ความสดใส สเี ขียว จะทาํ ใหเ กดิ ความรสู กึ กระชุมกระชวย ความเปนหนมุ สาว สีเทา ใหค วามรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถอ มตน สที อง ใหความรูสึกหรูหรา โออ า มีราคา สูงคา สิง่ สําคัญ ความเจริญรุงเรือง ความสุข ความรํ่ารวย การ แผก ระจาย จากความรสู กึ ดังกลาว เราสามารถนําไปประยุกตใ ชใ นชวี ิตประจําวนั ไดใ นทุกเร่อื ง 1. การใชสีกลมกลนื กนั การใชส ใี หกลมกลืนกัน เปนการใชสีหรอื นาํ้ หนักของสใี หใ กลเคียงกัน หรอื คลายคลึงกัน เชน การใชสี แบบเอกรงค เปนการใชสีสีเดียวทมี่ ีนา้ํ หนกั ออ นแกหลายลําดับ 2. การใชสีตัดกัน สีตัดกันคือสีที่อยูตรงขามในวงจรสี การใชสีใหตัดกันมีความจําเปนมาก ในงาน ออกแบบ เพราะชว ยใหเกิดความนา สนใจ ในทนั ทที ี่พบเห็น สีตัดกนั อยา งแทจรงิ มอี ยดู วยกัน 6 คสู ี คอื 1. สเี หลือง ตรงขา มกับ สมี วง 2. สสี ม ตรงขามกบั สนี ํา้ เงนิ 3. สแี ดง ตรงขามกับ สีเขียว 4. สเี หลืองสม ตรงขา มกบั สีมว งนา้ํ เงนิ 5. สีสมแดง ตรงขามกบั สนี า้ํ เงินเขียว 6. สมี วงแดง ตรงขามกบั สีเหลืองเขยี ว การใชสีตัดกัน ควรคํานึงถึงความเปนเอกภาพดวย วิธีการใชมีหลายวิธี เชน ใชสีใหมีปริมาณตางกัน เชน ใชสแี ดง 20 % สเี ขยี ว 80%

8 ในงานออกแบบ หรือการจดั ภาพ หากเรารจู ักใชสใี หมีสภาพโดยรวมเปนวรรณะรอน หรือวรรณะเย็น เราจะสามารถควบคุม และสรา งสรรคภ าพใหเกิดความประสานกลมกลืน งดงามไดงายขนึ้ เพราะสีมีอิทธิพลตอ มวล ปริมาตร และชองวาง สีมีคุณสมบัติที่ทําใหเกิดความกลมกลืน หรือขัดแยงได สีสามารถขับเนนใหเกิด จุดเดน และการรวมกนั ใหเ กิดเปนหนว ยเดียวกนั ได สรา งความรสู ึก สใี หค วามรสู กึ ตอ ผพู บเหน็ แตกตา งกันไป ทงั้ น้ีขึ้นอยกู ับประสบการณ และภูมิหลังของ แตละคน สีบางสีสามารถรักษาบําบัดโรคจิตบางชนิดได การใชสีภายใน หรือ ภายนอกอาคาร จะมีผลตอการ สมั ผัส และสรา งบรรยากาศได แสงและเงา แสงและเงา หมายถึง แสงทสี่ อ งมากระทบพน้ื ผวิ ทม่ี ีสีออนแกแ ละพนื้ ผิวสูงตํ่า โคงนูนเรียบหรือขรุขระ ทําใหป รากฏแสงและเงาแตกตางกัน ตวั กําหนดระดบั ของคานาํ้ หนกั ความเขมของเงาจะขน้ึ อยูก บั ความเขม ของแสง ในที่ที่มีแสงสวางมาก เงาจะเขมขึ้น และในท่ีที่มีแสงสวางนอย เงาจะไมชัดเจน ในท่ีท่ีไมมีแสงสวางจะไมมีเงา และเงาจะอยูใน ทางตรงขามกบั แสงเสมอ คานาํ้ หนักของแสงและเงาทเี่ กิดบนวัตถุ สามารถจําแนกเปน ลักษณะท่ี ตา ง ๆ ไดด ังน้ี 1. บริเวณแสงสวางจัด เปนบริเวณที่อยูใกลแหลงกําเนิดแสงมากที่สุด จะมีความสวางมากที่สุด ในวัตถทุ ีม่ ผี วิ มนั วาว จะสะทอนแหลง กําเนิดแสงออกมาใหเห็นไดช ดั 2. บริเวณแสงสวา ง เปน บรเิ วณทีไ่ ดร ับแสงสวาง รองลงมาจากบริเวณแสงสวางจัด เน่ืองจากอยูหาง จากแหลง กําเนิดแสงออกมา และเริม่ มคี าน้ําหนกั ออน ๆ 3. บริเวณเงา เปนบริเวณที่ไมไดรับแสงสวาง หรือเปนบริเวณท่ีถูกบดบังจากแสงสวาง ซึ่งจะมีคา น้าํ หนกั เขมมากขน้ึ กวา บรเิ วณแสงสวาง 4. บรเิ วณเงาเขม จดั เปน บริเวณที่อยูหางจากแหลงกําเนิดแสงมากท่ีสุด หรือ เปนบริเวณท่ีถูกบดบัง มาก ๆ หลาย ๆ ชั้น จะมคี า นํา้ หนกั ทเ่ี ขม มากไปจนถงึ เขมทสี่ ดุ 5. บรเิ วณเงาตกทอด เปน บริเวณของพ้ืนหลังท่ีเงาของวัตถุทาบลงไป เปน บรเิ วณเงาที่อยูภายนอกวัตถุ และจะมีความเขม ของคา น้ําหนกั ข้ึนอยูก บั ความเขมของเงา นํา้ หนกั ของพ้นื หลงั 6. ทิศทางและระยะของเงา ความสาํ คญั ของคา นา้ํ หนัก 1. ใหความแตกตา งระหวา งรูปและพน้ื หรือรปู ทรงกับทีว่ า ง 2. ใหค วามรสู กึ เคล่อื นไหว 3. ใหค วามรูส ึกเปน 2 มติ ิ แกรปู รา ง และความเปน 3 มติ ิแกร ูปทรง 4. ทําใหเ กดิ ระยะความต้ืน - ลกึ และระยะใกล - ไกลของภาพ 5. ทาํ ใหเกดิ ความกลมกลืนประสานกนั ของภาพ

9 เรื่องที่ 2 ความหมายและความเปน มาของทัศนศลิ ปไทย ศิลปะประเภททัศนศิลปท ีส่ ําคญั ของไทย ไดแ ก จติ รกรรม ประตมิ ากรรม และสถาปต ยกรรม ซึ่ง เปน ศิลปกรรมท่พี บเห็นทั่วไป โดยเฉพาะศิลปกรรมท่ีเกย่ี วกับพทุ ธศาสนาหรอื พทุ ธศลิ ปท ีม่ ีประวัตคิ วาม เปน มานบั พันป จนมรี ปู แบบที่เปน เอกลักษณไทย และเปนศลิ ปะไทย ที่สะทอ นใหเห็นวิถชี ีวติ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเชื่อ และรสนิยมเกย่ี วกบั ความงามของคนไทย ศลิ ปะเหลาน้ี แตล ะสาขามี เนือ้ หาสาระทีค่ วรคาแกการศึกษาแตกตางกนั ไป ไทยเปนชาติที่มีศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเองมาชานาน แลว เร่มิ ตง้ั แตกอนประวตั ิศาสตร ศิลปะไทยจะวิวัฒนาการและสืบเนอ่ื งเปนตัวของตัวเอง ในทสี่ ดุ เทาท่ี ทราบราว พ.ศ. 300 จนถึง พ.ศ. 1800 พระพุทธศาสนานําเขามาโดยชาวอินเดีย คร้ังนั้นแสดงใหเห็น อทิ ธพิ ลตอ รปู แบบของศลิ ปะไทยในทุก ๆ ดา นรวมทง้ั ภาษา วรรณกรรม ศลิ ปกรรม โดยกระจายเปนกลุม ศิลปะสมัยตาง ๆ เร่ิมต้ังแตสมัยทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เมื่อกลุมคนไทยต้ังตัวเปนปกแผนแลว ศิลปะ ดงั กลาวจะตกทอดกลายเปนศิลปะไทย ชา งไทยพยายามสรา งสรรคใหม ลี กั ษณะพิเศษกวา งานศิลปะของ ชาติอื่น ๆ คือ จะมีลายไทยเปนเครื่องตกแตง ซ่ึงทําใหลักษณะของศิลปะไทยมีรูปแบบเฉพาะมีความ ออนหวาน ละมนุ ละไม และไดส อดแทรกวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณีและความรูสึกของคนไทย ไวในงานอยางลงตัว ดังจะเห็นไดจากภาพฝาผนังตามวัดวาอารามตาง ๆ ปราสาทราชวัง ตลอดจน เคร่ืองประดบั และเครื่องใชท่ัวไป ลกั ษณะของศลิ ปะไทย ศิลปะไทยไดร บั อทิ ธพิ ลจากธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอมในสงั คมไทย ซึ่งมีลักษณะเดน คือ ความ 1B งามอยางนิ่มนวลมีความละเอียดประณีต ซึ่งแสดงใหเห็นถึงลักษณะนิสัยและจิตใจของคนไทยท่ีได สอดแทรกไวใ นผลงานทสี่ รา งสรรคข้ึน โดยเฉพาะศิลปกรรมที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ซ่ึงเปนศาสนา ประจาํ ชาตขิ องไทย อาจกลาวไดวาศิลปะไทยสรา งขึน้ เพอ่ื สงเสริมพทุ ธศาสนา เปน การเชื่อมโยงและโนม นา วจติ ใจของประชาชนใหเ กดิ ความเล่ือมใสศรัทธาในพุทธศาสนา

ศิลปะไทยมาจากธรรมชาติ 10 หางหงส ติดตั้งอยปู ลายจนั ทนั มลี กั ษณะคลายหางหงส รวงผงึ้ ใชป ระดบั อยใู ตข ่อื ดานหนาของโบสถ วหิ าร มีลักษณะเปน รูปคลา ยรงั ผ้งึ สาหราย สวนที่ติดอยกู ับเสาตอจากรวงผงึ้ ลงมา บวั หวั เสา กลบี บวั ประดับบนหัวเสา มรี ูปแบบมาจากดอกบวั จติ รกรรมไทย จิตรกรรมไทย เปนการสรา งสรรคภาพเขยี นทมี่ ีลักษณะโดยทั่วไปมักจะเปน 2 มิติ ไมมีแสงและ เงา สีพ้นื จะเปนสีเรียบ ๆ ไมฉูดฉาด สีที่ใชสว นใหญจะเปนสีดํา สีนํ้าตาล สีเขียว เสนท่ีใชมักจะเปนเสน โคง ชว ยใหภาพดูออ นชอ ย นุมนวล ไมแ ข็งกระดา ง จติ รกรรมไทยมักพบในวัดตาง ๆ เรียกวา “จิตรกรรม ฝาผนงั ” ภาพจติ รกรรมฝาผนงั วดั สวุ รรณาราม

11 จิตรกรรมไทย จัดเปนภาพเลาเรื่องที่เขียนขึ้นดวยความคิดจินตนาการของคนไทย มลี กั ษณะตามอุดมคติของชา งไทย คือ 1. เขียนสีแบน ไมคํานึงถึงแสงและเงา นิยมตัดเสนใหเห็นชัดเจน และเสนที่ใช จะแสดง ความรสู กึ เคลอื่ นไหวนุม นวล 2. เขียนตัวพระ - นาง เปนแบบละคร มีลีลา ทาทางเหมือนกัน แตกตางกัน ดวยสีรางกายและ เครือ่ งประดับ

12 3. เขียนแบบตานกมอง หรอื เปนภาพต่ํากวา สายตา โดยมุมมองจากท่ีสูง ลงสูลาง จะเห็นเปนรูป เรื่องราวไดตลอดภาพ

13 4. เขียนติดตอ กนั เปน ตอน ๆ สามารถดูจากซา ยไปขวาหรือลา งและบนไดทัว่ ภาพ โดยขน้ั ตอนแต ละตอนของภาพดว ยโขดหนิ ตน ไม กาํ แพงเมือง เปน ตน 5. เขยี นประดบั ตกแตง ดวยลวดลายไทย มีสีทอง สรางภาพใหเดน เกิดบรรยากาศ สุขสวางและมี คุณคา มากขน้ึ การเขียนลายไทยพ้นื ฐาน ขั้นท่ี 1 ตองฝกเขียนลายเสนกอน เชน การเขียนเสนตรงโดยไมตองใชไมบรรทัดชวย การเขยี นเสนโคง ใหไ ดเปน วงกลมโดยไมต อ งใชวงเวยี น เปน ตน

14 ขั้นที่ 2 หลังจากท่ีฝกเขยี นเสนจนคลองและชํานาญแลว จงึ เร่มิ หัดเขียนลายไทย เชน กนกสามตัว หรือจะเขยี นภาพตวั ละครในวรรณคดี เชน ตัวพระ ตวั นาง ตัวยกั ษ เปน ตน ภาพหัดเขยี นลายไทย เมอ่ื ไดฝ กฝนทกั ษะการเขยี นกนกสามตวั ทีเ่ ปนตนแบบของกนกชนิดอน่ื ๆ คือ กนกเปลว กนก ใบเทศ และกนกหางโต จนคลอ งมือดแี ลวกค็ งจะเขาใจในโครงสรา งของตวั กนก สว นสําคญั ในการ เขียนอยทู ่ีการแบง ตวั ลายและเขยี นยอดลาย ถาแบง ตัวลายและเขียนยอดลายไดจ ังหวะสัดสวนดี สะบัด ยอดพริว้ ดี ลายกนกน้ันก็ดูงาม ประติมากรรมไทย ประติมากรรมเปนผลงานศิลปกรรมท่ีเปนรูปทรง 3 มิติ ประกอบจากความสูง ความกวางและ ความนูน หรือความลึก รูปทรงน้ีมีปริมาตรท่ีจับตองไดและกินระวางเนื้อท่ีในอากาศ ตางจากรูปทรง

15 ปริมาตรทางจติ รกรรมที่แสดงบนพื้นเรียบเปนปริมาตรท่ีลวงตา ประติมากรรมเกิดข้ึนจากกรรมวิธีการ สรางสรรคแบบตาง ๆ เชน การปนและหลอ การแกะสลัก การฉลุหรือดุน ประติมากรรมทั่วไปมี 3 แบบ คอื ประตมิ ากรรมแบบลอยตวั สามารถดไู ดโดยรอบ ประติมากรรมนูน มีพื้นรองรับสามารถดูไดเฉพาะ ดานหนา และดานเฉียงเทาน้นั และประตมิ ากรรมแบบเจาะลกึ ลงไปในพื้น ประตมิ ากรรมไทยเปนผลงานการสรา งสรรคข องบรรพบุรษุ โดยประตมิ ากรของไทยท่ี สรางสรรคข ้นึ เพื่อรับใชสงั คม ตอบสนองความเช่อื สรางความภูมใิ จ ความพงึ พอใจ และคานิยมแหงชาติ ภูมิของไทย ประติมากรรมไทยสวนใหญเนนเนอ้ื หาทางศาสนา มักปรากฏอยูตามวัดและวัง มีขนาดตั้งแต เลก็ ท่สี ุด เชน พระเครือ่ ง เครอ่ื งรางของขลัง จนถึงขนาดใหญที่สุด เชน พระอัจนะ หรือพระอัฏฐารส ซึง่ เปนพระพุทธรูปขนาดใหญก ลางแปลง มีทัง้ ประตมิ ากรรมตกแตง ซ่งึ ตกแตงศิลปวัตถุ ศิลปสถาน เพ่อื เสริมคุณคา แกศ ลิ ปวัตถหุ รือสถานที่นัน้ จนถึงประตมิ ากรรมบริสุทธซ์ิ ึง่ เปน ประตมิ ากรรมท่มี คี ณุ คา และ คุณสมบัติเฉพาะ สมบูรณด ว ยตัวของประติมากรรมเอง เม่ือพจิ ารณาภาพรวมของประติมากรรมไทยอาจ แบง ประติมากรรมออกเปน 3 ประเภทคอื ประตมิ ากรรมรปู เคารพ ประตมิ ากรรมตกแตง และ ประตมิ ากรรมเพือ่ ประโยชนใ ชสอย ซง่ึ จะขอกลาวตามลําดบั ยุคสมยั ของประตมิ ากรรมไทย ท้งั ประตมิ ากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมตกแตง และประติมากรรมเพื่อประโยชนใ ชส อยผูกพัน กับความเปล่ียนแปลงของสังคมไทยตลอดมา นอกจากจะแสดงคุณคาทางทัศนศิลป แลวยังสะทอน วฒั นธรรมอันดงี ามของชาตใิ นแตล ะยคุ แตละสมัยออกมาดว ย ยุคสมยั ของไทยนั้น อาจแบงชวงศิลปะใน เชิงประวัติศาสตรตามหลกั ฐานทางโบราณวตั ถุสถานไดเปน 2 ชว งคอื 1. ชว งศลิ ปะกอนไทย หมายถึงชวงกอนที่คนไทยจะรวมตัวกนั เปนปกแผน ยังไมมีราชธานี ของ ตนเองทแี่ นน อน แบง ออกเปน 3 สมัยคือ - สมยั ทวารวดี - สมยั ศรีวชิ ยั - สมัยลพบุรี 2. ชว งศลิ ปะไทย หมายถงึ ชวงที่คนไทยรวมตวั กนั เปนปกแผนมรี าชธานีท่ีแนนอนแลวแบงออก เปน 5 สมัยคือ สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอูทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร งานประติมากรรมสมัยตาง ๆ ของไทยเหลาน้ีผานการหลอหลอมและผสมผสานของวัฒนธรรม โดย ด้งั เดมิ มรี ากเหงามาจากวัฒนธรรมอนิ เดีย ตอ มาผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนและชาตทิ างตะวันตก แตเ ปน การผสมผสานดวยความชาญฉลาดของชางไทย ประติมากรรมของไทยจึงยังคงรักษารูปแบบท่ีเปน เอกลกั ษณของไทยไวไ ดอยาง เดนชัด สามารถถายทอดลักษณะความงดงาม ความประณีตวิจิตรบรรจง

16 และลักษณะของความเปน ชาตไิ ทยที่รุงเรอื งมาแตโบราณใหโลกประจกั ษไ ด พอจะกลา วถึงประติมากรรม ในชวงศิลปะไทยได ดังนี้ - ประติมากรรมไทยสมยั เชยี งแสน - ประตมิ ากรรมไทยสมยั สโุ ขทยั - ประติมากรรมไทยสมยั อทู องและสมัยอยุธยา - ประตมิ ากรรมไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร ผลงานประติมากรรมไทย คุณคาของงานสวนใหญผูกพันและเกี่ยวของกับศาสนา สรางสรรคขึ้น จากความเช่ือ คตินิยม ความศรัทธา มีความสัมพันธกันอยางแยกไมออก ยอมมีคุณคา มีความงดงาม ตลอดจนเปนประโยชนใ ชส อยเฉพาะของตนเอง ซ่งึ ในปจจุบันไดจัดใหมีการเรียนรูเก่ียวกับการอนุรักษ นยิ มและฟน ฟศู ลิ ปะประเภทน้ี เพ่ือมุงเนน ใหค นรนุ หลงั มคี วามเขา ใจ เกิดความช่นื ชมหวงแหนเหน็ คุณคา ในความเปน ศลิ ปวฒั นธรรมไทยรว มกัน พรอ มท้ังสบื ทอด ภาพพระพทุ ธรูปทรงเคร่อื งศลิ ปะอยธุ ยา

17 ประติมากรรมไทยเปน ผลงานศิลปะทีถ่ กู สรา งสรรคข น้ึ มาดวยความคดิ ฝมือ ความศรทั ธาจากภูมิ ปญญาทีเ่ กดิ จากการแกปญ หาของคนในทอ งถิ่น โดยใชเครื่องมือและวสั ดุจากพื้นบานทหี่ า ไดงา ย ๆ เชน ดนิ เหนยี ว แกลบ ปูน กระดาษสา ผลงานประติมากรรมไทย แบงออกไดเปน 4 ประเภท สรุปได ดงั นี้ 1. ประติมากรรมไทยที่เกิดขึ้นจากความเชื่อ ความศรัทธา คตินิยมเก่ียวของกับศาสนา เชน พระพุทธรปู ปางตา ง ๆ ลวดลายของฐานเจดียห รือพระปรางคตา ง 2. ประติมากรรมไทยพวกเครอ่ื งใชในชีวิตประจาํ วนั เชน โอง หมอ ไห ครก กระถาง 3. ประติมากรรมไทยพวกของเลน ไดแก ตุกตาดินปน ตุกตาจากกระดาษ ตุกตาจากผา หุน กระบอก ปลาตะเพียนสานใบลาน หนากาก วัสดจุ ากเปลอื กหอย ชฎาหัวโขน ปลาตะเพียนสานใบลาน

18 หุนกระบอก 4. ประตมิ ากรรมไทยพวกเคร่อื งประดบั ตกแตง เชน กระถางตน ไม โคมไฟดนิ เผา

19 สถาปต ยกรรมไทย สถาปต ยกรรมไทย หมายถงึ ศิลปะการกอสรางของไทย ไดแก อาคาร บานเรือน โบสถ วหิ าร วัง สถูป และสง่ิ กอสรา งอน่ื ๆ ที่มมี ูลเหตุทม่ี าของการกอ สรางอาคารบา นเรอื นในแตล ะ ทองถิน่ จะมีลกั ษณะ แตกตา งกันไปบา งตามสภาพทาง ภมู ิศาสตร และคตนิ ยิ มของแตละทองถิน่ แตส ่ิงกอสรางทางศาสนาพทุ ธ มักจะมลี ักษณะท่ีไมแ ตกตางกนั มากนัก เพราะมคี วามเชื่อ ความศรัทธาและแบบแผนพธิ กี รรมทเ่ี หมือน ๆ กัน สถาปตยกรรมทมี่ กั นิยมนํามาเปนขอ ศกึ ษา สว นใหญจ ะเปน สถูป เจดยี  โบสถ วิหาร หรอื พระราชวัง เนื่องจากเปน สิ่งกอสรางท่ีคงทน มกี ารพฒั นารปู แบบมาอยางตอ เนือ่ งยาวนาน และไดร ับการ สรรคส รา งจากชางฝม อื ทเ่ี ช่ยี วชาญ พรอ มทั้งมีความเปนมาทส่ี ําคัญควรแกก ารศึกษา อกี ประการหน่ึงกค็ ือ สิ่งกอสรา งเหลา น้ี ลวนมีความทนทาน มีอายุยาวนานปรากฏเปนอนุสรณใหเราไดศึกษาเปนอยา งดี สถาปตยกรรมไทย สามารถจดั หมวดหมู ตามลักษณะการใชง านได 2 ประเภท คือ 1. สถาปต ยกรรมทีใ่ ชเ ปน ทีอ่ ยอู าศัย ไดแก บา นเรือน ตาํ หนัก วังและพระราชวัง เปนตน บา นหรือเรือนเปน ท่อี ยอู าศยั ของสามญั ชน ธรรมดาทัว่ ไป ซง่ึ มีท้ังเรือนไม และเรอื นปูนเรือนไมม ี อยู 2 ชนิด คอื เรือนเครอ่ื งผูก เปนเรือนไมไผ ปูดวยฟากไมไผ หลงั คามงุ ดวย ใบจาก หญาคา หรือใบไม อกี อยางหน่ึงเรียกวา เรือนเคร่อื งสับ เปนไมจริงท้ังเนื้อออน และเน้ือแข็ง ตามแตละทองถ่ิน หลังคามุง ดวย กระเบ้ืองดนิ เผา พนื้ และฝาเปนไมจริงทั้งหมด ลกั ษณะเรอื นไมข องไทยในแตละทองถ่ินแตกตางกัน และ โดยทัว่ ไปแลวจะมีลักษณะสาํ คัญรว มกนั คือเปน เรอื นไมช ้ันเดยี วใตถ ุนสงู หลังคาทรงจวั่ เอยี งลาดชัน

20 ตําหนัก และวัง เปนเรือนท่ีอยูของชนช้ันสูง พระราชวงศ หรือท่ีประทับช้ันรอง ของ พระมหากษัตริย สําหรับพระราชวัง เปนท่ีประทับของพระมหากษัตริย พระท่ีนั่ง เปนอาคารที่มีทอง พระ โรงซึ่งมที ปี่ ระทับสาํ หรบั ออกวา ราชการ หรอื กิจการอ่ืน ๆ ภาพสถาปต ยกรรมวดั เบญจมบพติ ร 2. สถาปต ยกรรมท่ีเก่ยี วของศาสนา ซ่งึ สวนใหญอ ยใู นบริเวณสงฆ ที่เรียกวา วัด ซึ่งประกอบไป ดวยสถาปตยกรรมหลายอยาง ไดแก โบสถ เปนที่กระทําสังฆกรรมของพระภิกษุ วิหารใชประดิษฐาน พระพุทธรูปสําคัญ และกระทําสังฆกรรมดวยเหมือนกัน กุฏิ เปนท่ีอยูของ พระภิกษุ สามเณร หอไตร เปนที่เก็บรักษาพระไตรปฎกและคัมภีรสําคัญทางศาสนา หอระฆังและ หอกลอง เปนท่ีใชเก็บระฆังหรือกลองเพื่อตีบอกโมงยาม หรือเรียกชุมนุมชาวบาน สถูปเปนท่ี ฝง ศพ เจดยี เ ปน ท่รี ะลึกอนั เกยี่ วเน่ืองกับศาสนา ซง่ึ แบงได 4 ประเภท คือ 1. ธาตุ เจดีย หมายถึง พระบรมธาตุ และเจดยี ทีบ่ รรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุของพระพทุ ธเจา 2. ธรรมเจดีย หมายถงึ พระธรรม พระวนิ ัย คาํ สัง่ สอนทุกอยางของพระพุทธเจา

21 3. บริโภคเจดีย หมายถึง ส่ิงของเคร่ืองใชของพระพุทธเจา หรือของพระภิกษุสงฆไดแก เครือ่ งอฐั บรขิ ารทั้งหลาย 4. อุเทสิกเจดีย หมายถึง ส่ิงท่ีสรางข้ึนเพ่ือเปนที่ระลึกถึงองคพระพุทธเจา เชน สถูปเจดีย ณ สถานท่ีทรงประสูติ ตรัสรู แสดงปฐมเทศนา ปรินิพพาน และรวมถึงสัญลักษณอยางอื่น เชน พระพทุ ธรูปธรรมจกั ร ตนโพธิ์ เปนตน สถาปตยกรรมไทยแท ณ ทีน่ ้จี ะเรียนรูเฉพาะเร่ืองราวท่ีเกี่ยวกับวัด โดยเนนไปท่ีเร่ืองของโบสถ และสถูปเจดยี  ทมี่ ลี ักษณะโดดเดนทงั้ โครงสรา งและการตกแตงอนั เปน เอกลกั ษณข องไทยโดยเฉพาะ

22 โบสถ หมายถึงสถานทส่ี าํ หรบั พระสงฆใชป ระชุมทําสงั ฆกรรม เชน สวดพระปาฏิโมกข และ อุปสมบทเปน ตน ความงามทางศิลปะของโบสถม ี 2 ประเภท 1. ความสวยงามภายในโบสถ ทุกสงิ่ ทกุ อยางจะเนน ไปท่ีสงบน่ิง เพ่ือใหผูเขามากราบไหวมี สมาธิ ความงามภายในจึงตองงามอยางเย็นตาและเย็นใจ ภายในโบสถท่ัว ๆ ไปจะไมอนุญาตให พทุ ธศาสนกิ ชนนาํ สิง่ ของเขามาบูชาเคารพภายใน เคร่ืองสักการบูชา เชนดอกไมธูปเทียนจะบูชาเฉพาะ ดา นนอกเทา นน้ั ความงามทแี่ ทจรงิ ภายในโบสถจงึ เนนท่ีองคพระพุทธรูปที่ประดิษฐานเปนพระประธาน โดยเฉพาะ

23 2. ความสวยงามภายนอกเปนความงามทัง้ โครงสรางและลวดลายประดับตกแตง ความงาม ภายนอกเนนสะดุดตา โดดเดน สีสันแวววาวทง้ั สที องและกระจกสี แตยังคงความเปนเอกลักษณของการ เคารพนับถือ ในการสงั เกตวาสถานท่ใี ดเรียกวา โบสถ จะมวี ธิ สี ังเกตคือ โบสถจะมีใบเสมา หรือซุม เสมาลอมรอบโบสถ ( บางทีเรียกใบเสมา ) ใบเสมา

24 วิหาร การสังเกตสถานที่ใดเรียกวา วหิ าร เมอ่ื เขาไปอยูในบรเิ วณวัด สถานท่ีสรา งเปนวิหารจะไม มใี บเสมาลอมรอบ วิหาร หมายถึงที่อยูอาศัย ( มีเศรษฐีถวายท่ีดิน เพ่ือสรางอาคารเปนพุทธบูชาแดพระพุทธเจา สาํ หรับเปนท่ีอยแู ละสอนธรรมะ ในปจ จุบันวิหารจึงใชเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป เพ่ือใหประชาชน กราบไหว เปรียบเสมือนเปนที่อยูของพระพุทธเจา ) การวางแปลนของโบสถ วิหาร การกําหนด ความสาํ คญั ของอาคารท้ังสอง โบสถ จะมีความสําคัญกวาวิหาร โบสถจะมโี ครงสรางใหญกวา สวนใหญ จะวางแปลนใหอยตู รงกลาง โดยมวี ิหารสรางประกบอยูดา นขาง

25 โครงสรางของโบสถ – วหิ าร - ชอ ฟา - หนา บนั - ใบระกาและ หางหงส

26 สถูป - เจดีย คอื ส่งิ กอสรางสาํ หรบั บรรจุพระบรมสารรี ิกธาตุของพระพทุ ธเจา เมอื่ สมัยพทุ ธกาล ทผ่ี า นมา คาํ วา สถปู เปนภาษาบาลีหมายถึงมูลดินทีก่ องสูงข้ึนสันนิษฐานวามูลดินนั้นเกิดจากกองเถาถาน ของกระดกู คนตายทถี่ ูกเผาทบั ถมกันสงู ขึ้นมาจากกองดิน เถาถานธรรมดาไดถูกพัฒนาตามยุคสมัยมีการ กออิฐปด ทับมูลดิน เพ่ือปองกันไมใหถูกฝนชะลาง ในท่ีสุดการกออิฐปดทับก็สูงข้ึนและกลายเปนเจดีย อยางทีเ่ ราเหน็ ในปจ จบุ นั สถปู สถูป - เจดีย ในประเทศไทยไดรับอิทธิพลมาจากอินเดียและลังกา ตอมาชางไทยแตละยุคสมัยพัฒนา ปรับปรุงและกลายเปน รูปทรงของไทยตามอดุ มคตใิ นการสรางสรรคจ ินตนาการของชา งไทย เจดีย

27 เจดียย อมุม เจดยี ท รงระฆัง ลูกแกว ปลี หรอื ปลยี อด ปอ งไฉน เสาหาน องคร ะฆงั บวั ปากระฆัง บรรลังก มาลยั เถา

28 เจดียที่มีรูปรางมาจากทรงลังกา สมัยอยุธยา ท้ังหมดนี้คือลักษณะของสถาปตยกรรมเกี่ยวกับสิ่งกอสรางของไทยโดยสังเขป ยังมี สถาปตยกรรมสิ่งกอสรางอีกมากมายท่ีผูเรียนจะตองเรียนรู คนควาดวยตนเอง เพ่ือนํามาเผยแพรใหกับ สงั คมไดร ับรขู องดี ๆ ทเ่ี ปนเอกลักษณของไทยในอดตี

29 ภาพพิมพ การพิมพภาพ หมายถึง การถายทอดรูปแบบจากแมพิมพออกมาเปนผลงานที่มีลักษณะ เหมือนกันกับแมพิมพทุกประการ และไดภาพที่เหมือนกันมีจํานวนตั้งแต 2 ช้ินข้ึนไป การพิมพภาพเปนงานที่พัฒนาตอเน่ืองมาจากการวาดภาพ ซึ่งการวาดภาพไมสามารถ สราง ผลงาน 2 ชิ้น ทมี่ ีลกั ษณะเหมือนกนั ทกุ ประการได จึงมีการพัฒนาการพิมพข้ึนมา ชาตจิ ีนเปน ชาติแรก ทีน่ าํ เอาวธิ ีการพิมพม าใชอยา งแพรหลายมานานนบั พันป จากนั้นจึงไดแพรหลายออกไปในภูมภิ าคตางๆ ของโลก ชนชาติทางตะวันตกไดพฒั นาการพิมพภ าพ ขึน้ มาอยางมากมาย มีการนาํ เอาเครือ่ งจกั รกลตา งๆ เขามาใชในการพมิ พ ทาํ ใหการพมิ พม กี าร พฒั นาไปอยางรวดเรว็ ในปจจุบนั การพิมพภ าพมีองคป ระกอบที่สาํ คญั ดังน้ี 1. แมพิมพ เปนสิง่ ทีส่ ําคญั ท่ีสุดในการพิมพ 2. วสั ดุที่ใชพมิ พล งไป 3. สีท่ใี ชใ นการพิมพ 4. ผูพมิ พ ผลงานท่ไี ดจากการพิมพ มี 2 ชนดิ คอื 1. ภาพพมิ พ เปน ผลงานพมิ พท ่เี ปน ภาพตา ง ๆ เพอ่ื ความสวยงามหรอื บอกเลา เร่ืองราวตาง ๆ อาจมี ขอความ ตัวอกั ษรหรือตวั เลขประกอบหรอื ไมม กี ็ได 2. ส่ิงพมิ พ เปนผลงานพิมพท ี่ใชบ อกเลาเรื่องราวตาง ๆ เปนตวั อกั ษร ขอความ ตวั เลข อาจมภี าพประกอบหรือไมมกี ็ได

30 ประเภทของการพิมพ การพมิ พแ บงออกไดห ลายประเภทตามลกั ษณะตา ง ๆ ดังนี้ 1. แบง ตามจุดมุง หมายในการพิมพ ได 2 ประเภท คอื 1.1 ศิลปภาพพิมพ เปนงานพิมพภาพเพ่ือใหเกิดความสวยงามเปนงานวิจิตรศิลป 1.2 ออกแบบภาพพิมพ เปนงานพมิ พภาพประโยชนใ ชสอย นอกเหนือไปจากความสวยงาม ไดแ ก หนังสอื ตางๆ บัตรภาพตางๆ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ฯลฯ จัดเปน งาน ประยกุ ตศิลป 2. แบงตามกรรมวธิ ีในการพิมพ ได 2 ประเภท คอื 2.1 ภาพพิมพตนแบบ เปนผลงานพิมพที่สรางจากแมพิมพและวิธีการพิมพที่ถูก สรางสรรคและ กําหนดขึ้นโดยศิลปนเจาของผลงาน และเจาของผลงาน จะตองลงนามรับรองผลงานช้ิน บอกลาํ ดับที่ในการพิมพ เทคนคิ การพมิ พ 2.2 ภาพพิมพจ ําลองแบบ ( REPRODUCTIVE PRINT ) เปน ผลงานพมิ พทีส่ รา งจากแมพ ิมพ หรือ วิธีการพิมพวิธีอื่น ซึ่งไมใชวิธีการเดิมแตไดรูปแบบเหมือนเดิม บางกรณีอาจเปน การละเมิดลขิ สทิ ธ์ิผูอ่ืน 3. แบง ตามจํานวนครั้งท่พี ิมพ ได 2 ประเภท คือ 3.1 ภาพพิมพถาวร เปนภาพพิมพท่ีพิมพออกมาจากแมพิมพใด ๆ ที่ไดผลงานออกมามีลักษณะ เหมือนกันทกุ ประการ ต้ังแต 2 ช้นิ ขึ้นไป 3.2 ภาพพิมพครง้ั เดยี ว เปนภาพพมิ พทพ่ี ิมพออกมาไดผลงานเพยี งภาพเดียว ถาพิมพอีกจะไดผลงาน ทีไ่ มเหมอื นเดิม 4. แบง ตามประเภทของแมพิมพ ได 4 ประเภท คือ 4.1 แมพิมพน ูน เปนการพิมพโดยใหสีตดิ อยูบนผิวหนาที่ทําใหนูนขึ้นมาของแมพิมพ ภาพที่ไดเกิด จากสีที่ติดอยูในสวนบนนั้น แมพิมพนูนเปนแมพิมพท่ีทําข้ึนมาเปนประเภทแรก ภาพพิมพชนิดน้ี ไดแก ภาพพมิ พแกะไม 4.2 แมพ มิ พร อ งลกึ เปน การพิมพโ ดยใหสีอยใู นรอ งทที่ าํ ใหลึกลงไปของแมพิมพโดยใชแผนโลหะทํา เปน แมพมิ พ (แผน โลหะทนี่ ยิ มใชค ือแผน ทองแดง) และทําใหล ึกลงไปโดยใชนํา้ กรดกัด แมพิมพรองลกึ นีพ้ ัฒนาขึ้นโดย ชาวตะวนั ตก สามารถพิมพงาน ทม่ี คี วาม ละเอยี ด คมชดั สงู สมัยกอ นใชใ นการพมิ พ หนงั สือ พระคมั ภีร แผนที่ เอกสารตาง ๆ แสตมป ธนบัตร ปจจุบันใชในการ พิมพงานที่เปนศิลปะ และธนบัตร 4.3 แมพมิ พพืน้ ราบ เปนการพมิ พโ ดยใหส ีติดอยบู นผวิ หนา ทรี่ าบเรียบของแมพ มิ พ โดยไมต อ งขุด หรือแกะพืน้ ผวิ ลงไป แตใ ชสารเคมเี ขาชว ย ภาพพมิ พ ชนดิ นีไ้ ดแก ภาพพิมพหนิ การพิมพอ อฟ เซท ภาพพมิ พก ระดาษ ภาพพิมพคร้งั เดยี ว

31 4.4 แมพิมพฉลุ เปนการพิมพโดยใหสีผานทะลุชองของแมพิมพลงไปสูผลงานท่ีอยูดานหลัง เปน การพมิ พชนดิ เดียวท่ไี ดร ูปทม่ี ดี านเดียวกนั กับแมพ ิมพ ไมก ลบั ซาย เปน ขวา ภาพพิมพชนิดน้ีไดแก ภาพ พมิ พฉลุ ภาพพมิ พต ะแกรงไหม ในอดตี ผคู นมกั จะหาวิชาความรไู ดจ ากในวดั เพราะวัดจะเปน ศนู ยก ลางของนักปราชญห รือผรู ู ใช เปน สถานทีใ่ นการเผยแพรวชิ าความรตู า งๆ จติ รกรรมฝาผนงั ทเ่ี ขยี นตามศาลา โบสถ วหิ ารก็เปนอีกส่ิง หน่งึ ท่เี ราจะหาความรใู นเรอ่ื งตาง ๆ ไดโ ดยเฉพาะทีเ่ กย่ี วกบั พทุ ธประวตั ิ ชาดก วรรณคดีและนิทาน พื้นบา น ซึ่งนอกจากจะไดค วามรใู นเรื่องศาสนา ประวตั ิศาสตร วรรณคดแี ลว เรายงั ไดอรรถรสแหงความ สนุกสนานเพลิดเพลินกบั ความสวยงามของภาพพิมพต าง ๆ เหลา นีอ้ ีกดว ย ภาพพมิ พข องไทย เมอ่ื หลายรอ ยปท ่ผี านมา ภาพพิมพ

32 เรือ่ งท่ี 3 ความงามและคณุ คาของทศั นศิลปไทย “ชีวิตสลาย อาณาจักรพินาศ ผลประโยชนของบุคคลมลายหายส้ินไป แตศิลปะเทานั้นท่ียังคง เหลือ เปน พยานแหงความเปนอจั ฉรยิ ะของมนุษยอยูตลอดกาล” ขอความขางตนน้ีเปนความเห็นอันเฉียบคมของ ทานศาสตราจารยศิลป พีระศรี ผูกอตั้ง มหาวิทยาลัยศลิ ปากร แสดงใหเห็นวา งานศิลปะเปนสมบัติอันล้ําคาของมนุษยที่แสดงความเปนอัจฉริยะ บงบอกถึงความเจริญทางดา นจิตใจ และสติปญ ญาอนั สงู กวา ซง่ึ มคี ุณคาตอ ชีวติ และสงั คมดงั น้ี คุณคา ในการยกระดบั จิตใจ คุณคาของศิลปะอยทู ่ีประโยชน ชวยขจัดความโฉด ความฉอฉลยกระดับวิญญาณความเปน คนเห็นแกต น บทกวีของเนาวรตั น พงษไพบูลย กวซี ไี รตข องไทย ไดใ หค วามสําคญั ของงานศลิ ปะในการ ยกระดบั วญิ ญาณความเปน คนกค็ ือ การยกระดบั จติ ใจของคนเราใหสงู ขนึ้ ดวยการไดช น่ื ชมความงาม และ ความประณตี ละเอยี ดออ นของงานศลิ ปะ ตวั อยางเชน เมอื่ เราทาํ พรมอนั สวยงาม สะอาดมาปูเตม็ หอง ก็คง ไมมีใครกลานาํ รองเทาท่เี ปอ นโคลนมาเหยียบยํา่ ทําลายความงามของพรมไปจนหมดสิ้น ส่ิงท่ีมีคุณคามา ชว ยยกระดับจติ ใจของคนเราใหมน่ั คงในความดงี ามกค็ ือ ความงามของศิลปะน่ันเองดงั นั้นเมื่อใดที่มนุษย ไดช่ืนชมความงามของศิลปะเมื่อน้ันมนุษยก็จะมีจิตใจที่แชมช่ืน และละเอียดออนตามไปดวย เวนแต บคุ คลผนู ้นั จะมสี ตวิ ิปลาศ นอกจากน้ีงานศิลปะบางชิ้นยังใหความงามและความรูสึกถึงความดีงาม และงาม จรยิ ธรรมอยางลึกซึง้ เปนการจรรโลงจติ ใจใหผดู ูเครง เครียดและเศราหมองของศิลปนผูสรางสรรคและผู ชน่ื ชมไดเ ปนอยางดี ดังนั้นจึงมีการสงเสริมใหเด็กสรางงานศิลปะ เพ่ือผอนคลายความเครงเครียด และ พัฒนาสุขภาพจิต ซ่งึ เปน จุดเริ่มตน ของพัฒนาการตา ง ๆ อยางสมบูรณ ความรสู ึกทางความงามของมนุษยมีขอบเขตกวางขวางและแตกตางกันออกไปตามทัศนะ ของแตล ะบุคคล เราอาจรวมลกั ษณะเดนของความงามได ดังนี้ 1. ความงามเปนสงิ่ ท่ปี รากฏขึน้ ในจติ มนษุ ย แมเพียงชว่ั ระยะเวลาหนงึ่ แตจ ะกอใหเกิดความป ตยิ นิ ดี และฝง ใจจาํ ไปอีกนาน เชน การไดม โี อกาสไปเทย่ี วชมสถานทต่ี าง ๆ ทมี่ ีธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท่ี สวยสดงดงาม เราจะจาํ และระลึกถงึ ดว ยความปติสุข บางคร้ังเราอยากจะใหผูอืน่ รับรูดวย 2. ความงามทาํ ใหเ ราเกิดความเพลิดเพลิน หลงใหลไปกับรูปราง รูปทรง สีสัน จนลืมบาง สิ่งบางอยางไป เชน ผลไมแ กะสลกั ความงามของลวดลาย ความละเอยี ดออน อยากเกบ็ รกั ษาไวจนลมื ไป วา ผลไมน ้นั มไี วสาํ หรับรบั ประทานมิใชมไี วด ู 3. สิ่งส่ิงหน่ึงเปนไดทั้งสิ่งท่ีสวยงาม และไมงาม ไปจนถึงนาเกลียด อัปลักษณ แตถาไดรับ การยกยอ งวาเปน สิ่งมีคา มคี วามงามจะตรงกนั ขามกบั สง่ิ อัปลกั ษณท นั ที

33 4. ความงามไมม มี าตราสว นใดมาช่งั ตวง วัดใหแ นนอนได ทําใหเราไมส ามารถกําหนดได วาสงิ่ นนั้ ส่งิ นี้มคี วามงามเทา ใด 5. ความงามของสง่ิ ท่มี นษุ ยสรา งขนึ้ เปนผลมาจากความคดิ ทักษะฝม อื หรอื ภูมิปญญาของ มนษุ ย แตเ มอ่ื สรางเปนวตั ถสุ ิ่งของ ตา ง ๆ แลว กลบั เปนความงามของสงิ่ นั้นไป เชน ความงามของผา ความงามของรถยนต เปนตน การรับรคู า ความงาม ความงามเปน เรื่องที่มคี วามสาํ คญั เพ่มิ ขึน้ ตามลาํ ดบั มนษุ ยร บั รูค า ความ งามใน 3 กลุม คอื 1. กลุมที่เห็นวามนุษยรับรูคาความงามไดเพราะสิ่งตาง ๆ มีความงามอยูในตัวเอง เปน คณุ สมบัติของวัตถุปรากฏออกมาเปนรูปราง รูปทรงสีสัน การอธิบายถึงความงามของงานทัศนศิลปจะ ไดผลนอยกวา การพาไปใหเหน็ ของจรงิ แสดงใหเ ห็นวาความงามมอี ยใู นตวั วตั ถุ 2. กลมุ ทีเ่ ห็นวามนษุ ยรับรูคา ความงามไดเ พราะจติ ของเราคดิ และรสู ึกไปเอง โดยกลุม น้เี ห็นวา ถา ความงามมอี ยใู นวตั ถุจริงแตล ะบคุ คลยอ มเห็นความงามนนั้ เทากัน แตเนื่องจากความงามของวัตถุที่แต ละบคุ คลเห็นแตกตา งกันออกไปจงึ แสดงวาความงามข้นึ อยกู ับอารมณแ ละความรูสึกของแตละบคุ คล 3. กลมุ ทีเ่ ห็นวามนุษยร บั รูคาความงามไดเพราะเปน สภาวะท่เี หมาะสมระหวา งวัตถกุ ับจติ กลมุ นีเ้ ห็นวา การรับรูคา ความงามนน้ั มใิ ชอ ยา งใดอยางหนงึ่ แตเปน สภาวะทส่ี มั พนั ธก นั ระหวา งมนุษยกับวัตถุ การรบั รูท ส่ี มบูรณตอ งประกอบดว ยวัตถทุ ม่ี ีความงาม ความเดนชัดและผรู บั รตู องมีอารมณและความรูสึก ทด่ี ี พรอ มที่จะรบั รสคุณคา แหงความงามน้นั ดว ย จะเห็นไดวาศิลปกรรมหรือทัศนศิลปเปนส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้นจึงมีการขัดเกลาตกแตงให สวยงามเปนวตั ถุสนุ ทรยี  เปนสงิ่ ทีม่ คี วามงาม ผูดรู ับรคู า ความงามไดใ นระดับพนื้ ๆ ใกลเคยี งกนั เชน เปน ภาพเขียน ภาพปนแกะสลัก หรือเปนสิ่งกอสรางที่สวยงาม แตการรับรูในระดับที่ลึกลงไปถึงขั้นชอบ ประทบั ใจ หรือชืน่ ชมนั้น เปน เรื่องของแตล ะบคุ คล การรบั รูคุณคาทางศลิ ปะ มีหลายกระบวนการ ดงั น้ี 1. สงิ่ สุนทรีย หมายถึง งานทศั นศิลปท ่เี กิดจากศิลปน ที่ต้งั ใจสรางงานอยางจริงจัง มกี าร พฒั นางานตามลําดับ ประณีตเรยี บรอ ย ท้ังในผลงาน กรอบ และการตดิ ต้ังทที่ ําใหง านเดน ชดั 2. อารมณรวม หมายถงึ สิ่งสุนทรียน ้ันมีความงามของเนอ้ื หาเรอื่ งราว รปู ราง - รปู ทรง สสี นั ที่ สามารถทาํ ใหผดู สู นใจ เพลดิ เพลินไปกบั ความงามของผลงานน้นั มอี ารมณรว มหรือ คลอ ยตาม เชน เม่อื เหน็ งานทัศนศิลปแ ลวเกิดความรูสึกประทับใจและหยดุ ดอู ยูร ะยะหนง่ึ เปนตน 3. กําหนดจิต เปนขนั้ ตอ เนอื่ งจากการมอี ารมณร ว ม กลาวคอื ในขณะที่เกดิ อารมณรว ม เพลดิ เพลินไปกับงานทัศนศลิ ป ผดู สู วนใหญจะอยูในระดับท่ีเห็นวาสวยก็พอใจแลว แตถามีการกําหนด จติ ใหหลุดออกจากอารมณรวมเหลา นน้ั วา เรากาํ ลงั ดูงานทัศนศิลปท สี่ รา งสรรคอ ยางตง้ั ใจ จรงิ ใจ แตละจดุ

34 ของผลงานแสดงถึงทกั ษะฝมอื ของศิลปน จติ ของเราจะกลับมาและเริ่มดูในสวนรายละเอียดตาง ๆ ทําให ไดร สชาติของความงามทแ่ี ปลกออกไป กระบวนการท้ัง 3 ขน้ั ตอนขางตน ยกตัวอยางใหเขาใจงายยิ่งข้ึนก็คือ พระอุโบสถวัดเบญจม บพธิ ออกแบบโดยเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ อัจฉรยิ ะศิลปน ของไทย เปนสถาปตยกรรมท่ีสราง ขน้ึ เพ่ืออทุ ิศใหแ กพระพุทธศาสนา การกอสรา งจึงเต็มไปดวยความประณีตบรรจง เปนส่ิงสุนทรีย เปนท่ี เชดิ หนา ชูตาของเมอื งไทยแหง หน่ึงท่ีชาวไทยและชาวตางประเทศมาเที่ยวชมอยูตลอดเวลาดวยความงาม ของสถาปตยกรรมและบรรยากาศท่ีรมร่ืน ทําใหแขกผูมาเยือนเกิดความเพลิดเพลิน ประทับใจ และใช เวลาผอนคลายอิริยาบถอยูนานพอสมควร ผูมาเยือนบางคนฉุกคิดไดวาขณะนี้กําลังอยูตอหนา สถาปต ยกรรมท่ีงดงามและมีชอ่ื เสียง ควรจะดูอยางพินจิ พเิ คราะห ดใู หล ะเอียดทีละสวน ซ่ึงออกแบบได กลมกลนื ทงั้ รปู รางและวัสดุซ่งึ ทําดว ยหินออ นท่ีสวยงามแปลกไปกวา โบสถแหงอื่น กลุมคนท่ีกําหนดจิต ในสวนใหญจะเปน ผทู ่ีมรี สนยิ มหรือมีพื้นฐานทางศิลปะพอสมควร เรื่องท่ี 4 การนาํ ความงามของธรรมชาตมิ าสรางสรรคผลงาน 5 ความคิดสรา งสรรค เปน ส่งิ ท่เี กดิ จากความคดิ สรา งสรรค เปน การดาํ เนินการในลักษณะตาง ๆ 7B เพอื่ ใหเ กิดสง่ิ แปลกใหมท่ีไมเคยปรากฏมากอน สงิ่ ทมี่ ชี วี ิตเทา น้ันท่จี ะมีความคดิ อยางสรา งสรรคได ความคดิ สรา งสรรคเปน ความคดิ ระดบั สูง เปน ความสามารถทางสติปญ ญาแบบหนึ่ง ทจี่ ะคิดไดห ลาย ทิศทาง หลากหลายรูปแบบโดยไมมขี อบเขต นําไปสกู ระบวนการคิดเพ่ือสรา งสง่ิ แปลกใหม หรือเพื่อการ พัฒนาของเดมิ ใหด ขี น้ึ ทําใหเ กดิ ผลงานทีม่ ีลกั ษณะเฉพาะตนเปน ตวั ของ ตัวเอง อาจกลาวไดว า มนษุ ยเ ปน ส่งิ มีชวี ิตเพยี งชนดิ เดียวในโลก ที่มคี วามคดิ สรา งสรรค เนอ่ื งจากตงั้ แตใ นอดีตทผี่ า นมา มแี ตมนษุ ยเทา นน้ั ทส่ี ามารถสรา งสิ่งใหม ๆ ขนึ้ มาเพ่ือใชป ระกอบในการดาํ รงชวี ิต และสามารถพฒั นาสิง่ ตาง ๆใหดีข้ึน

35 กวาเดิม รวมถงึ มคี วามสามารถในการพัฒนาตน พัฒนาสงั คม พัฒนาประเทศ และรวมถงึ พัฒนาโลกทเ่ี รา อยูใหมีลักษณะที่เหมาะสมกบั มนษุ ยมากทส่ี ดุ ในขณะทส่ี ตั วชนิดตาง ๆ ทมี่ ีววิ ฒั นาการมาเชนเดียวกบั เรา ยงั คงมชี วี ิตความเปน อยูแบบเดิมอยา งไมมกี ารเปลย่ี นแปลง มากกวา ครึ่งหน่งึ ของการพบท่ีย่ิงใหญข อง โลกไดถูกกระทาํ ข้นึ มาโดยผาน \"การคน พบโดยบังเอญิ \" หรอื การคน พบบางส่งิ ขณะทก่ี าํ ลงั คน หาบางส่งิ อยู การพฒั นาความคิดสรา งสรรคข องมนษุ ยจะทําให เกดิ การเปลีย่ นแปลง การสรา งสรรคอาจไม จาํ เปน ตอ งยิ่งใหญถ ึงขนาดการพฒั นาบางส่ิงขนึ้ มาใหก ับโลก แตม อี าจเกย่ี วขอ งกับพฒั นาการบางอยา งให ใหมข ้นึ มา อาจเปน สง่ิ เลก็ ๆ นอ ย ๆ เพ่ือตัวของเราเอง เมอื่ เราเปล่ียนแปลงตวั เราเอง เราจะพบวาโลกก็ จะเปลี่ยนแปลงไปพรอมกบั เรา และในวถิ แี หง การเปลย่ี นแปลงทีเ่ ราไดมีประสบการณก บั โลกความคดิ สรางสรรคจึงมีความหมายที่คอนขางกวางและสามารถนําไปใชประโยชนกับการผลิต การสรางสรรค 8B สิ่งประดิษฐใหม ๆ กระบวนการวธิ ีการท่ีคดิ คน ขึน้ มาใหม คาดหวังวา ความคิดสรางสรรคจะชวยใหการ ดําเนนิ ชีวิตและสังคมของเราดีขึน้ เราจะมคี วามสุข มากขึ้น โดยผานกระบวนการทีไ่ ดป รบั ปรุงข้นึ มาใหม นีท้ ั้งในดา นปริมาณและคณุ ภาพ การนาํ ธรรมชาติมาสรางสรรคผลงาน จดุ มง หมายของการคิดสรางสรรค งานศลิ ปะโดยเฉพาะงานศลิ ปะสมยั ปจจบุ นั ศิลปน จะสรางสรรคง านศลิ ปะในรปู แบบที่หลากหลายมาก ขึ้นทาํ ใหมขี อบขา ยกวางขวางมาก แตไมว าจะเปนไปในลกั ษณะใดกต็ าม งานศลิ ปะทกุ ประเภท จะให คุณคา ทต่ี อบสนองตอ มนษุ ย ในดา นท่ีเปนผลงานการแสดงออกของอารมณ ความรสู กึ และความคดิ เปน การส่ือถึงเร่อื งราวท่ีสําคัญ หรือเหตกุ ารณท ่ปี ระทบั ใจ เปน การตอบสนองตอ ความพึงพอใจ ทัง้ ทางดาน จิตใจและความสะดวกสบายดา นประโยชนใชส อยของศลิ ปวัตถุ

36 องคประกอบของการสรางสรรคงานศิลปะ การสรางสรรคจะประสบความสําเร็จเปนผลงานได นอกจาก ตองอาศัยความคดิ สรางสรรค เปนตัวกาํ หนดแนวทางและรูปแบบแลว ยงั ตอ งอาศัยความสามารถทีย่ อดเย่ยี มของศิลปน ซ่ึงเปนความสามารถ เฉพาะตน เปน ความชาํ นาญท่เี กิดจากการฝกฝน และความพยายามอัน นาทึ่ง เพราะฝมืออนั เยย่ี มยอด จะสามารถสรางสรรคผลงานที่มีความ งาม อนั เยีย่ มยอดได นอกจากนีย้ ังตองอาศยั วสั ดุ อปุ กรณต า ง ๆ มาใช ในการสรางสรรคเ ชนกัน วสั ดุอุปกรณในการสรางสรรค แบง ออกเปน วตั ถุดิบทีใ่ ชเ ปนสือ่ ในการแสดงออก และเคร่อื งมือที่ใชสรางสรรคให เกิดผลงานตามความชํานาญของศิลปนแตละคน แนวทางในการ สรา งสรรคง านศลิ ปะของศลิ ปน แตละคน อาจมที ่ีมาจากแนวทางที่ตา งกัน บางคนไดร ับแรงบันดาลใจจาก ความงาม ความคดิ ความรูสึก ความประทับใจ แตบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปะเพื่อแสดงออกถึง ฝมอื อนั เยี่ยมยอดของตนเอง เพื่อประกาศความเปน เลิศอยางไมมีท่ีเปรียบปานโดยไมเนนที่เนื้อหาของ งาน และบางคนอาจสรางสรรคงานศลิ ปะจากการใชวัสดุที่สนใจ โดยไมเนนรูปแบบและแนวคิดใด ๆ เลยก็ได เร่อื งท่ี 5 ความคดิ สรางสรรค ในการนําเอาวัสดแุ ละสง่ิ ของตาง ๆ มาตกแตงรา งกายและสถานที่ ความคิดสรางสรรค คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดไดหลากหลาย และแปลกใหมจากเดิม โดยสามารถนําไปประยุกตทฤษฎี หรือหลักการไดอยางรอบคอบและมีความ ถูกตอง จนนําไปสูการคิดคนและสรางส่ิงประดิษฐที่แปลกใหมหรือรูปแบบความคิดใหม นอกจาก

37 ลักษณะการคิดสรางสรรคดังกลาวนี้แลว ยังมีความสามารถมองความคิดสรางสรรคไดหลากหลาย ซึ่ง อาจจะมองในแงท ่เี ปนกระบวนการคิดมากกวา เนอ้ื หาการคิด โดยท่ีสามารถใชล กั ษณะการคิดสรางสรรค ในมติ ทิ กี่ วา งขน้ึ เชน การมีความคิดสรางสรรคในการทาํ งาน การเรียน หรือกิจกรรมที่ตองอาศัยความคิด สรางสรรคดว ย อยา งเชน การทดลองทางวิทยาศาสตร หรือการเลนกีฬาท่ีตองสรางสรรครูปแบบเกมให หลากหลายไมซ ํา้ แบบเดิม เพอื่ ไมใ หคตู อสรู ูทนั เปน ตน ซ่ึงอาจกลาวไดวาเปนลักษณะการคิดสรางสรรค ในเชิงวิชาการ แตอยางไรก็ตาม ลักษณะการคิดสรางสรรคตาง ๆ ท่ีกลาวนั้นตางก็อยูบนพื้นฐานของ ความคิดสรา งสรรค โดยทบ่ี ุคคลสามารถเช่ือมโยงนาํ ไปใชในชวี ิตประจําวันไดดี ในการสอนของอาจารยเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ควรจัดการเรียนการสอนที่ใชวิธีการที่ เหมาะสม ดงั น้ี 1. การสอน หมายถึง การสอนเกีย่ วกับการคดิ เห็นในลักษณะความคิดเห็นท่ีขัดแยงในตัวมันเอง ความคดิ เห็นซงึ่ คา นกับสามญั สาํ นกึ ความจริงท่ีสามารถเชื่อถือหรืออธิบายได ความเห็นหรือความเชื่อที่ ฝง ใจมานาน ซงึ่ การคดิ ในลกั ษณะดงั กลาว นอกจากจะเปนวิธีการฝกประเมินคาระหวางขอมูลที่แทจริง แลว ยังชวยใหคิดในสิ่งท่ีแตกตางไปจากรูปแบบเดิมท่ีเคยมี เปนการฝกมองในรูปแบบเดิมใหแตกตาง ออกไป และเปนสงเสริมความคิดเห็นไมใหคลอยตามกัน (Non – Conformity) โดยปราศจากเหตุผล ดังนน้ั ในการสอนอาจารยจ งึ ควรกาํ หนดใหน ักศึกษารวบรวมขอคดิ เห็นหรือคาํ ถาม แลวใหน กั ศกึ ษาแสดง ทักษะดวยการอภิปรายโตว าที หรอื แสดงความคิดเห็นในกลุม ยอ ยกไ็ ด 2. การพจิ ารณาลักษณะ หมายถึง การสอนใหนักศึกษา คิดพิจารณาลักษณะตาง ๆ ท่ีปรากฏอยู ทง้ั ของมนุษย สตั ว สง่ิ ของ ในลักษณะท่แี ปลกแตกตางไปกวาท่ีเคยคิด รวมทงั้ ในลักษณะทค่ี าดไมถงึ 3. การเปรยี บเทยี บอปุ มาอุปมยั หมายถึง การเปรยี บเทียบสงิ่ ของหรือสถานการณที่คลายคลึงกัน แตกตางกนั หรือตรงกนั ขามกนั อาจเปนคาํ เปรยี บเทยี บ คาํ พังเพย สุภาษติ 4. การบอกสิ่งทีค่ ลาดเคล่อื นไปจากความเปนจริง หมายถึง การแสดงความคิดเห็น บงชี้ถึงส่ิงที่ คลาดเคลื่อนจากความจริง ผิดปกตไิ ปจากธรรมดาท่วั ไป หรอื สง่ิ ท่ียังไมส มบรู ณ 5. การใชค าํ ถามยัว่ ยแุ ละกระตุนใหตอบ หมายถึงการต้ังคาํ ถามแบบปลายเปดและใชคําถามที่ย่ัวยุ เรา ความรสู กึ ใหชวนคิดคน ควา เพือ่ ความหมายทล่ี กึ ซึง้ สมบูรณท ีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปน ได 6. การเปลี่ยนแปลง หมายถึง การฝกใหคิดถึงการเปล่ียนแปลงดัดแปลงการปรับปรุงสิ่งตาง ๆ ท่ีคงสภาพมาเปนเวลานานใหเปนไปในรูปอื่น และเปดโอกาสใหเปลี่ยนแปลงดวยวิธีการตาง ๆ อยาง อิสระ 7. การเปลีย่ นแปลงความเชื่อ หมายถึง การฝกใหนักศึกษาเปนคนมีความยืดหยุน ยอมรับความ เปลยี่ นแปลง คลายความยึดมั่นตาง ๆ เพ่อื ปรบั ตนเขา กับสภาพแวดลอ มใหม ๆ ไดดี 8. การสรา งสิ่งใหมจากโครงสรางเดิม หมายถึง การฝกใหนักศึกษารูจักสรางส่ิงใหม กฎเกณฑ ใหม คว า ม คิด ใ หม โ ด ยอา ศั ย โค ร ง สร า ง เดิ ม หรือก ฎ เก ณ ฑ เดิม ท่ี เคย มี แต พ ย าย า ม คิ ด พลกิ แพลงใหตา งไปจากเดิม

38 9. ทักษะการคนควา หาขอมลู หมายถงึ การฝกเพอื่ ใหนกั ศึกษารจู ักหาขอ มลู 10. การคน หาคาํ ตอบคาํ ถามท่กี ํากวมไมชัดเจน เปน การฝก ใหนักศกึ ษามคี วามอดทนและพยายามท่ี จะคน ควา หาคาํ ตอบตอ ปญหาท่กี ํากวม สามารถตีความไดเ ปน สองนัย ลกึ ลบั รวมทงั้ ทาทายความคดิ 11. การแสดงออกจากการหยงั่ รู เปน การฝกใหรูจักการแสดงความรูสึก และความคิดท่ีเกิดจาก สง่ิ เรา กับอวยั วะสมั ผัสทง้ั หา 12. การพัฒนาตน หมายถึง การฝกใหรูจักพิจารณาศึกษาดูความ ลมเหลว ซ่ึงอาจเกิดข้ึนโดย ต้ังใจหรือไมต ้งั ใจ แลว หาประโยชนจากความผิดพลาดนั้นหรือขอบกพรองของตนเองและผูอื่น ทั้งนี้ใช ความผดิ พลาดเปน บทเรียนนําไปสคู วามสาํ เร็จ 13. ลกั ษณะบคุ คลและกระบวนการคดิ สรางสรรค หมายถงึ การศึกษาประวัติบุคคลสําคัญทั้งใน แงลักษณะพฤตกิ รรมและกระบวนการคิดตลอดจนวธิ ีการ และประสบการณข องบคุ คลนัน้ 14. การประเมินสถานการณ หมายถึง การฝกใหหาคําตอบโดยคํานึงถึงผลที่เกิดข้ึนและ ความหมายเก่ยี วเน่ืองกนั ดว ยการตัง้ คาํ ถามวาถา สง่ิ เกิดขึ้นแลว จะเกดิ ผลอยางไร 15. พัฒนาทักษะการอานอยางสรางสรรค หมายถึง การฝกใหรูจักคิดแสดงความคิดเห็น ควร สงเสริมและใหโอกาสนกั ศกึ ษาไดแ สดงความคิดเห็นและความรูสึกตอเร่ืองที่อานมากกวาจะมุงทบทวน ขอตา ง ๆ ทีจ่ ําไดหรอื เขาใจ 16. การพฒั นาการฟงอยา งสรางสรรค หมายถงึ การฝกใหเกดิ ความรูส ึกนกึ คดิ ในขณะทฟี่ ง อาจ เปนการฟงบทความ เร่อื งราวหรือดนตรี เพือ่ เปน การศกึ ษาขอมูล ความรู ซง่ึ โยงไปหาสิ่งอืน่ ๆ ตอ ไป 17. พัฒนาการเขียนอยางสรางสรรค หมายถึง การฝกใหแสดงความคิด ความรูสึก การ จินตนาการผานการเขียนบรรยายหรอื พรรณนาใหเ หน็ ภาพชดั เจน 18. ทักษะการมองภาพในมติ ติ า ง ๆ หมายถงึ การฝกใหแสดงความรูสึกนึกคิดจากภาพในแงมุม แปลกใหม ไมซํ้าเดิม ศิลปะกับการตกแตงทอี่ ยอู าศยั มนุษยเปน สตั วสงั คมทตี่ อ งการสถานท่ีปกปอง คุมครองจากสิ่งแวดลอมรอบกาย ไมวามนุษย จะอยแู หง ใด สถานทอี่ ยา งไร ทอ่ี ยูอ าศยั จะสรา งขน้ึ เพอ่ื ปองกนั ภยั อนั ตรายจากส่ิงแวดลอมภายนอก ที่อยู อาศัยเปน หนึ่งในปจจัยทมี่ คี วามสําคัญและจําเปน สาํ หรบั การดาํ รงชวี ิตของมนุษย มนุษยจึงมีการพัฒนาที่ อยูอาศยั เพอ่ื สนองความตอ งการและความพอใจของแตละบุคคล มนษุ ยทกุ คนมีการพฒั นาการในชีวติ ของ ตนเอง มนุษยจึงนาํ พฒั นาการเหลานี้มาใชใหเปนประโยชน การพัฒนาที่อยูอาศัยจึงเปนหน่ึงในปจจัยท่ี สําคัญสําหรับมนุษยที่อยูอาศัยในปจจุบันถูกพัฒนาใหทันสมัยกวา ในอดีตเนื่องจากตองปรับปรุงให เหมาะสมกับสภาพการณและส่ิงแวดลอมของโลกที่เปลี่ยนแปลง แตในการปรับปรุงน้ัน ควรคํานึงถึง สภาพทางภูมิศาสตร และวฒั นธรรมทองถิน่ ควบคกู ันไป การพัฒนาทีอ่ ยูอาศยั นั้นจงึ จะเหมาะสมและ สนองความตอ งการอยางแทจริง

39 ที่อยูอาศัยโดยเฉพาะบานในปจจุบัน จะมีรูปแบบที่เรียบงายใกลชิดธรรมชาติและคํานึงถึง ประโยชนใชสอยเปน หลัก และเนนในเร่ืองเทคโนโลยตี า ง ๆ เพิ่มมากข้นึ เพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงตาม รสนิยมการบริโภค นอกจากนใี้ นการจดั ตกแตงภายในจะมีการผสมผสานการตกแตงแบบตะวันตกและ ตะวันออกเขา ดวยกัน ทําใหเกิดผลงานการตกแตง ในรปู แบบที่ใชง านไดส ะดวก ตามรูปแบบตะวันตก ปจจยั อีกประการหนึ่งในการจัดตกแตง ภายในบานคือการนําหลักการทางศิลปะมาผสมผสานเขากับการ ตกแตง เพื่อใหก ารดาํ รงชวี ิตภายในบา นสะดวกท้ังกายและใจ และแสดงออกถึงความงดงาม และมีรสนิยม ของผเู ปน เจา ของบา น องคประกอบทางศิลปะจงึ ถกู นาํ มาเกย่ี วของ องคประกอบทางศิลปะท่ีนํามาใชใน การจดั แตง แตงท่ีอยอู าศยั ไดแก 1. ขนาดและสดั สว นนาํ มาใชในการจัดท่ีอยอู าศยั ไดแ ก 1.1 ขนาดของหอ ง ในการกําหนดขนาดของหองตาง ๆจะขึ้นอยกู บั กจิ กรรมท่ีทําหากเปน หอ งที่ ใชกิจกรรมมาก เชน หองอาหาร หองครัว หรือหองรับแขก ควรกําหนดขนาดของหองใหมีพ้ืนที่รองรับ กิจกรรมนน้ั ๆ ใหเ หมาะสม ไมเล็กจนเกนิ ไป เพราะจะทําใหคบั แคบและไมสะดวกตอการทาํ กิจกรรม 1.2 จํานวนของสมาชกิ ในครอบครัว ในการกาํ หนดขนาดของหองตาง ๆ ควรคาํ นึงถงึ จาํ นวน ของสมาชกิ วา มีมากนอยเพยี งใด เพ่อื จะไดกําหนดขนาดของหองใหเหมาะสมกับสมาชกิ 1.3 เคร่อื งเรือน ในการกําหนดขนาดของเครอื่ งเรอื น ควรกาํ หนดใหม ขี นาดพอดกี บั หองและ สมาชิก หรอื ขนาดพอเหมาะกับสมาชิกไมส ูงหรอื เต้ียจนใชงานไมสะดวก ในการออกแบบ เคร่อื งเรือน หรือจัดพน้ื ทภ่ี ายในบา นจะมเี กณฑมาตรฐานทใ่ี ชกนั โดยทวั่ ไป ดงั น้ี หองรบั แขก -โซฟา ขนาด 0.05 x 0.6 เมตร สงู 0.38 – 0.40 เมตร หองอาหาร - โตะ อาหารมีหลายแบบไดแกขนาด 0.75 x 1.00 เมตร จนถงึ 1.10 x 2.40 เมตร หองครัว - ควรมีขนาด 0.50 x 0.55 เมตร สงู 0.80 x 0.90 เมตร ความยาวขน้ึ อยกู ับหอ ง

40 หอ งนํา้ - ควรมีขนาด 2.00 – 3.00 เมตร ซึ่งแลวแตขนาดของหอง สวนสุขภัณฑในหองจะมีขนาด มาตรฐานโดยทว่ั ไป หองนอน - เตยี งนอนเดีย่ ว มีขนาด 0.90-1.0 x 2.00 เมตร สงู 0.50 เมตร เตยี งนอนคู มขี นาด 1.80 x 2.00 เมตร สงู 0.40 - 0.50 เมตร ตเู ส้อื ผา ขนาด 0.50 – 0.80 x 2.50 เมตร 2. ความกลมกลืน (Harmony) ความกลมกลืนของศิลปะท่ีนํามา ใชในการจัดตกแตงที่อยูไดแก 2.1 ความกลมกลนื ของการตกแตง ทอ่ี ยูอาศยั การนําธรรมชาติมาผสมผสานในการตกแตง จะทําให เกดิ ความสมั พันธทงี่ ดงามการใชต น ไมตกแตง ภายในอาคารจะทาํ ใหเกิดบรรยากาศทร่ี ม รื่น เบิกบานและ เปน ธรรมชาติ 2.2 ความกลมกลืนของเคร่ืองเรอื นในการตกแตงภายในการเลือกเครื่องเรือนเคร่ืองใชที่เหมาะสม และสอดคลอ งกับการใชส อย จะทําใหเกิดความสัมพนั ธใ นการใชงาน การเลือกวัสดุท่ีใชประกอบเครื่อง เรือนภายในครวั ควรเปนวัสดุทแี่ ขง็ แรง ทนทาน ทนรอนและทนรอยขูดขีดไดดี เชน ฟอรไมกา แกรนิต หรอื กระเบือ้ งเคลือบตาง ๆ 2.3 ความกลมกลืนของสี ในการตกแตง ซง่ึ ตองใชดวยความระมดั ระวังเพราะหากใชไมถ กู ตอ งแลว จะทาํ ใหค วามกลมกลืนกลายเปน ความขดั แยง การใชส กี ลมกลนื ภายในอาคาร ควรคํานึงถึงวัตถุประสงค ของหอ งผูใช เคร่ืองเรือนและการตกแตง การใชสีกลมกลืนควรใชวิจารณญาณ เลือกสีใหเหมาะสมกับ วตั ถปุ ระสงคข องการใช 3. การตัดกนั ในการตัดกันโดยท่ัวไปของการจดั ตกแตง ทีอ่ ยูอ าศยั นยิ มทาํ ในรปู แบบของการขัดกันในการใชเคร่ือง เรอื นในการตกแตง เพอื่ สรางจุดเดนหรือจดุ สนใจในการตกแตงไมใหเกดิ ความกลมกลืนมากเกินไป การ ออกแบบเครอ่ื งเรือนแบบรวมสมัย จึงไดรับความนิยม เนื่องจากสรางความโดดเดนของการตกแตงได เปนอยา งดี 4. เอกภาพ ในการตกแตงสงิ่ ตาง ๆ หากขาดเอกภาพงานท่สี าํ เรจ็ จะขาดความสมบรู ณใ นการตกแตง ภายใน การ รวมกลุม กิจกรรมเขา ดว ยกัน การรวมพนื้ ทีใ่ นหองตาง ๆ ใหเ หมาะสมกับกจิ กรรมจงึ เปนการใชเอกภาพใน การจัดพนื้ ทท่ี ช่ี ดั เจน การจดั เอกภาพของเครอ่ื งเรอื นเครอื่ งใชก ็เปน ส่งิ สาํ คัญ หากเคร่ืองเรอื นจดั ไมเ ปน ระเบยี บยอมทําใหผ ูอ าศัยขาดการใชสอยท่ดี ีและขาดประสิทธภิ าพในการทํางาน

41 5. การซ้าํ การซํ้าและจงั หวะเปนสง่ิ ท่สี มั พันธก นั การซาํ้ สามารถนํามาใชใ นงานตกแตงไดหลายประเภทเพราะ การซ้ําทําใหเ กดิ ความสอดคลองของการออกแบบการออกแบบตกแตง ภายในการซ้ําอาจนํามาใชในเรื่อง สายตา เชน การปูกระเบื้องปูพ้ืนท่ีเปน ลวดลายตอ เนอ่ื ง หรอื การติดภาพประดับผนงั ถึงแมก ารซ้ําจะทําให งานสอดคลอง หรอื ตอ เนื่อง แตก็ไมค วรใชใ นปรมิ าณทีม่ ากเพราะจะทาํ ใหด ูสบั สน 6. จงั หวะ การจัดจังหวะของที่อยูอาศัยทําไดหลายลักษณะ เชน การวางผังบริเวณหรือการจัดแปลนบานใหมี ลักษณะที่เชือ่ มพน้ื ที่ตอ เนือ่ งกันเปนระยะ หรอื จงั หวะ นอกจากน้ีการจดั พนื้ ท่ใี ชสอยภายในอาคารนบั เปน สงิ่ สาํ คญั เพราะจะทําใหเ กิดระเบียบและสะดวกตอการทาํ งาน และทาํ ใหการทาํ งาน และทําใหการทํางาน มปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขึน้ การจัดพื้นทใี่ ชสอยภายในอาคารที่นิยมไดแก การจัดพื้นที่การทํางานของหองครัว โดยแบงพ้นื ทีก่ ารทํางานใหเ ปนจงั หวะตอเนอื่ งกัน ไดแก พนื้ ที่ของการเกบ็ การปรงุ อาหาร การลาง การ ทําอาหาร และการเสริ ฟอาหาร เปน ตน 7. การเนน ศิลปะของการเนน ทน่ี าํ มาใชในท่ีอยอู าศยั ไดแก 7.1 การเนน ดว ยสี ไดแ ก การตกแตงภายในหรือภายนอกอาคารดวยการใชสีตกแตงท่ีกลมกลืน หรอื โดดเดน เพอ่ื ใหสะดดุ ตาหรอื สดชน่ื สบายตา ซ่ึงขนึ้ อยูก บั วัตถปุ ระสงคของการจัดนน้ั 7.2 การเนนดวยแสง ไดแก การใชแสงสวางเนนความงามของการตกแตง และเครื่องเรือน ภายในบา นใหดูโดดเดน การใชโคมไฟหรอื แสงสวางตาง ๆ สามารถสรางความงามและใหบรรยากาศที่ สดช่ืน หรือสุนทรียไดอยางดี ในการใชแสงไฟควรคํานึงถึงรูปแบบของโคมไฟ ที่ถูกตองและ เหมาะสมกับขนาดและสถานท่ี ตลอดจนความกลมกลนื ของโคมไฟและขนาดของหอง 7.3 เนนดว ยการตกแตง ไดแก การใชวสั ดุ เครอ่ื งเรอื น เครื่องใชหรือของตกแตงตาง ๆ ตกแตง ใหสอดคลอ งสวยงามเหมาะสมกับรูปแบบและสถานท่ตี กแตงน้นั ๆ 8. ความสมดุล การใชค วามสมดุลในการจดั อาศยั ไดแก จดั ตกแตง เคร่ืองเรอื น หรือวัสดุตาง ๆ ใหม คี วามสมดุลตอ การ ใชงาน หรือเหมาะสมกับสถานท่ี เชน การกาํ หนดพ้นื ทใ่ี ชสอยทส่ี ะดวกตอ การทํางาน หรือการจัดทิศทาง ของเครือ่ งเรือนใหเ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ ม และการทาํ งาน โดยเฉล่ยี กิจกรรมใหเหมาะสมและสมดุล

42 9. สี สีมคี วามสมั พันธกับงานศิลปะ และการตกแตงสถานที่ เพราะสีมีผลตอสภาพจิตใจและอารมณของ มนุษย สีใหผูอยูอาศัยอยูอยางมีความสุข เบิกบานและรื่นรมย ดังนั้นสีจึงเปนปจจัยสําคัญของการจัด ตกแตง ทีอ่ ยอู าศัยในการใชส ตี กแตงภายใน ควรคํานงึ ถงึ ส่งิ ตาง ๆ ดังตอ ไปน้ี ศิลปะทนี่ ํามาใชใ นท่ีอยู วัตถุประสงคข องหอ งหรอื สถานทอ่ี าศยั ในการใชสตี กแตงภายใน ควรคํานึงถงึ วัตถปุ ระสงคของหองหรือสถานที่ตกแตง เพื่อจะไดใชสี ไดอยางเหมาะสม การใชสีตกแตงสถานท่ีตาง ๆ ภายในบาน แบงออกเปนหองตางๆ ดังน้ี หองรับแขก เปนหองที่ใชในการสนทนา หรือตอนรับผูมาเยือน ดังนั้นหองรับแขก ควรใชสี อบอนุ เชน สคี รีม สีสม ออน หรอื สีเหลืองออน เพื่อกระตนุ ใหเบิกบาน หอ งอาหาร ควรมีสที ีด่ ูสบายตา เพื่อเพ่ิมรสชาติอาหาร อาจใชสีที่กลมกลืน นุมนวล เพราะสี นมุ นวลจะทาํ ใหเ กิดความสบายใจ หอ งครัว ควรใชสที ด่ี ูสะอาดตา และรักษาความสะอาดงา ย หอ งควรเปนหองท่ีใชทํากิจกรรมจึง ควรใชสกี ระตุนใหเ กดิ ความสนใจในการทํากิจกรรม หองนอน เปน หองท่ีพักผอ น ควรใชส ีท่สี บายตา อบอนุ หรือนมุ นวล แตการใชในหอ งนอนควร คาํ นึงถึงผูใชด วย หองนํ้า เปนหองที่ใชทํากิจกรรมสวนตัว และตองการความสบาย จึงควรใชสีที่สบายตาเปน ธรรมชาติ และสดชนื่ เชน สฟี า สเี ขยี ว หรือสขี าว และควรเปน หอ งทที่ ําความสะอาดไดงา ยทศิ ทาง การใช สตี กแตง ภายในควรคํานงึ ถึงทิศทางของหอง หองทถ่ี กู แสงแดดสอ งควรใชสอี อน เพ่อื สะทอ นแสง สวน หอ งทีอ่ ยใู นทีม่ ืด หรอื อับ ควรใชส ีออนเพื่อความสวางเชน กนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook