Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้_1539206586

การจัดการเรียนรู้_1539206586

Description: การจัดการเรียนรู้_1539206586

Search

Read the Text Version

43 รูปแบบเชิงกระบวนการเสริมสรา้ งศกั ยภาพการจดั การเรียนรู้ สาหรับครโู รงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ในเขตอาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 4. สะท้อนผล 1. สัมมนา เชงิ ปฏบิ ัติการ 3. แลกเปลี่ยน การจดั การเรยี นรู้ เรยี นรู้ แบบบรู ณาการ 2. ประยกุ ตใ์ ช้ ในชั้นเรยี น 4. สะท้อนผล 1. สมั มนา เชิงปฏบิ ตั ิการ 3. แลกเปล่ียน การโค้ช เรยี นรู้ เพ่อื การรู้คดิ 2. ประยกุ ตใ์ ช้ ในช้ันเรยี น

44 4. สะทอ้ นผล การวิจัย 1. สมั มนา เพื่อพฒั นา เชิงปฏิบตั ิการ 3. แลกเปล่ยี น การเรยี นรู้ เรยี นรู้ 2. ประยุกตใ์ ช้ ในชัน้ เรียน 4. สะท้อนผล 1. สมั มนา เชิงปฏบิ ตั กิ าร 3. แลกเปลย่ี น การประเมนิ ผล เรยี นรู้ การเรยี นรู้ 2. ประยกุ ตใ์ ช้ ในช้ันเรยี น

45 ศศกั ักยยภภาาพพกกาารรจจดั ดั กกาารรเรเรียียนนรรู้ ู้ ของครโู รงขเรอียงคนรตโู ารรงวเรจียตนระตเาวรนวชจาตยรแะดเวนนชในาจยงัแหดวนดั กาญจนบุรี ทกั ษะการรู้คิด ทกั ษะชวี ติ และความสุขในการเรียนรู้ของผูเ้ รียน

46 6. อภปิ รายผล พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมการดาเนินการเสริมสร้าง ศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ของครู จากผลการวิจัยที่พบว่าครูใหญ่ และครูมคี วามม่งุ มนั่ ต้งั ใจในการปฏบิ ัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้านการ โค้ชเพื่อการรู้คิด ด้านการประเมินผลการเรียนรู้ที่เสริมสร้างการรู้คิด และความสุขในการเรียนรู้ และด้านการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ตลอดระยะเวลาการดาเนินการวิจัยในแต่ละวงรอบ เป็นผลสืบเน่ือง มาสาเหตหุ ลายประการ ดงั นี้ 1) กรอบประเด็นการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการ เรียนรู้ทั้ง 4 ประเด็น เป็นส่ิงที่อยู่ในความสนใจของครูใหญ่และครู เนื่องจากผู้วิจัยได้นาผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ของโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนเฮงเค็ลไทย โรงเรียนตารวจ ตระเวนชายแดนวัดสุธาสินี โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน บ้านต้นมะม่วง และโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบ้านแม่น้าน้อย มาสังเคราะห์ประเด็นข้อเสนอแนะจากการประเมินร่วมกับการ วิเคราะห์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในระดับนานาชาติร่วมด้วย โดยเมื่อกรอบประเด็นการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ สอดคล้องกับความสนใจของครูใหญ่และครู จึงส่งผลทาให้ครูใหญ่และ

47 ครูมีความมุ่งม่ันตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพ การจัดการเรยี นรูอ้ ย่างต่อเน่ือง 2) กิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ เกดิ ขน้ึ ทโ่ี รงเรียนและไมร่ บกวนเวลาในการจัดการเรียนรู้มากจนเกินไป ทาให้ครไู ม่ตอ้ งวติ กกงั วลวา่ การเข้าร่วมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการจะทา ให้เสยี งานการจัดการเรียนรู้ เพราะใชเ้ วลาในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ประมาณ 1 ช่วั โมง ซ่ึงอยใู่ นวิสัยท่ีครจู ะใชเ้ ทคนิคการจัดการชั้นเรียนได้ อกี ท้ังการดาเนินการที่โรงเรียนยังไม่เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในการ เ ดิ น ทา ง ของ ครู ท า ให้ ครู มี ทัศน คติ ท่ี ดี ต่ อ กา ร ด า เ นิ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้และเม่ือครูมีทัศนคติที่ดีแล้วจึงทาให้มี ความมุ่งม่ันตัง้ ใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพด้านการ จัดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง เช่นเดียวกับผลการวิจัยของอมลวรรณ วีระธรรมโม (2555) ท่ีได้ใช้แนวคิดการพัฒนาครูโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐานในการพฒั นารปู แบบการพฒั นาครแู ละผบู้ ริหารสถานศึกษาแบบใช้ โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดสงขลา แล้วทาให้ครู และผบู้ ริหารเกดิ การพัฒนาทางด้านวิชาการอย่างต่อเนือ่ ง และงานวิจัย ของศศิธร เขียวกอ (2548) ท่ีใช้การฝึกอบรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม และสร้างบรรยากาศที่ดีในการ ทางานและการเรยี นรูข้ องครู

48 3) การดาเนินการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการ เรียนรู้มีลักษณะเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ โดยชุมชนแห่ง การเรียนรู้เชิงวิชาชีพของแต่ละโรงเรียนจะประกอบด้วยครูใหญ่ ครู และผู้เชี่ยวชาญท่ีมีการแบ่งปันความรู้ความคิดและมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันในแนวราบ มีบรรยากาศท่ีเป็นกัลยาณมิตร ผ่อนคลาย มคี วามสขุ มีความรว่ มมอื รว่ มใจในการเรยี นรรู้ ่วมกัน มุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน เปิดพ้ืนท่ีให้ครูทุกคนแสดงภาวะผู้นาทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ส่วนบุคคลให้กับสมาชิก จากการดาเนินการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้มีลักษณะ เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพดังกล่าว ทาให้ครูมีประสบการณ์ ใหม่ท่ีดีเก่ียวกับการพัฒนาทางวิชาการ ครูมีพื้นท่ีในการแสดงความรู้ ความสามารถ ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นทางวิชาการของตนเอง อย่างเท่าเทียมกันถึงแม้จะมีช้ันยศทางตารวจแตกต่างกัน จึงทาให้ครู รู้สึกดีกับกิจกรรมการดาเนินการ ซึ่งส่งผลทาให้มีความมุ่งม่ันตั้งใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ อย่างตอ่ เนอื่ ง 4) ครมู โี คช้ ที่ดี โดยมีโค้ชผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก ครูใหญ่ และเพ่ือนครูเป็นผู้โค้ชท่ีให้ชี้แนะแนวทางการปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ให้ความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ ชี้แนะแนวทางการ พัฒนาผู้เรียน เป็นตัวแบบท่ีดีทางด้านวิชาชีพ การที่ครูมีโค้ชทาง วิชาชีพไม่ว่าจะเป็นครูใหญ่ เพื่อนครู หรือผู้เชี่ยวชาญ ทาให้ครูมีความ

49 เช่ือม่ันในการจัดการเรียนรู้ได้ดีข้ึนเพราะบางครั้งครูจะไม่ม่ันใจว่าการ ใช้เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ การเลือกวิธีการแก้ปัญหาน้ันเป็นสิ่งท่ี ถูกต้องหรือไม่อย่างไร การมีโค้ชทาให้มีที่ปรึกษาหารือเป็นท่ีปรึกษา ทางวชิ าการให้กับครู ทาให้ครเู หน็ วา่ การดาเนินการเสริมสร้างศักยภาพ ดา้ นการจัดการเรียนรูม้ ปี ระโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนรขู้ องตนเอง ส่งผล ทาให้มีความมุ่งม่ันตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพ ด้านการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงคล้ายกับผลการวิจัยของชนิดา วสิ ะมติ นันท์ (2549) ทีไ่ ดใ้ ช้กระบวนการนเิ ทศแบบพลวัตแล้วทาให้เกิด การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและ ผลการวจิ ัยของเกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธิ์ (2556) ที่ได้ใช้กระบวนการโค้ช รูปแบบต่างๆ มาพัฒนาสมรรถภาพครูด้านการจัดประสบการณ์ ท่ีส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของ เด็กปฐมวยั 5) การใช้การเรียนรู้จากการปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องกับ ธรรมชาติของการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ที่ชอบการลงมือกระทามากกว่าการ นั่งฟังการบรรยาย ในการดาเนินการสัมมนาเชิงปฏิบัติการจะมีการ นาเสนอความรู้โดยการบรรยายค่อนข้างน้อยแต่จะเน้นให้ครูลงมือ ฝึกปฏิบัติ การต้ังคาถามเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้การสัมมนา เชิงปฏิบัติการไม่น่าเบื่อ ครูติดตามสาระสาคัญของการเรียนรู้ด้วยการ พูดคุยและการซักถามกันเป็นส่วนใหญ่ และยังได้นาความรู้ไปปฏิบัติ จริงในชั้นเรียน เช่น การทดลองตั้งคาถามทรงพลังต่อผู้เรียน เป็นต้น

50 ซ่ึงจากการทค่ี รไู ด้นาไปปฏิบัตใิ นชั้นเรียนจะทาใหเ้ ห็นว่าสิ่งท่ีเป็นทฤษฎี ในหนังสือสามารถนามาปฏิบัติได้จริง จึงส่งผลทาให้มีความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ อย่างต่อเน่ือง สอดคล้องกับผลการวิจัยของมารุต พัฒผล (2556) ท่ีได้ ใช้การเรียนรู้จากการปฏิบัติในการพัฒนาความสามารถในการจัดการ เรียนรู้ท่ีเสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้ของครูแล้วทาให้ ครเู กิดการพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง 6) ใช้การเสริมพลัง ให้ครูมีกาลังใจในการพัฒนาตนเอง การส่งเสริมและการสนับสนุนให้ครูได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้อย่าง ต่อเน่ือง การเปิดโอกาสให้ครูเลือก การมีส่วนร่วมในการคิดและการ ตัดสินใจต่างๆ ในระหว่างการดาเนินการพัฒนา การสร้างความเช่ือม่ัน ว่าการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาการจะส่งผลดีต่อผู้เรียนเป็นการทา ความดีให้กับประเทศชาติอีกทางหน่ึง ซึ่งเม่ือครูมีพลังในการพัฒนา ตนเอง มีพลังในการทาหน้าท่ีความเป็นครูแล้วครูจึงมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ อย่างต่อเน่ืองเพ่ือนาความรู้ไปใช้พัฒนาผู้เรียน โดยงานวิจัยของศศิธร เขียวกอ (2548) ค้นพบว่า การท่ีผู้บริหารให้กาลังใจในการทางานและ การกระตุ้นจติ สานึกแกค่ รจู ะทาใหก้ ารพัฒนาครูมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้ 7) การมีภาวะผู้นาทางวิชาการของครูใหญ่ โดยครูใหญ่ โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนที่ดาเนินการวิจัยท้ัง 4 โรงเรียน ได้แสดงถึงการมีภาวะผู้นาทางวิชาการโดยเข้าร่วมการสัมมนา

51 เชิงปฏิบัติการทุกครั้ง เพ่ือร่วมเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับครู มีการซักถาม และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยไม่ถือตนว่าเป็นผู้บริหารโรงเรียน แม้จะไม่มีหน้าท่ีในการจัดการเรียนรู้แต่ยังต้องเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การกระทาของครูใหญ่จึงตัวแบบที่ดีให้กับครู เม่ือครูได้เห็นตัวแบบท่ีดี ซึ่งเป็นผู้นาองค์กรมีเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จึงทาให้ครูเองจะต้องเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตามไปด้วย จึงทาให้ครูมีความมุ่งมั่น ตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการ เรียนรู้อย่างต่อเน่ืองซึ่งผลการวิจัยของ กมลวรรณ รอดจ่าย และคณะ (2550) ท่ีพบว่าภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารส่งผลต่อ ประสทิ ธิภาพของโรงเรียนขนาดเลก็ 8) เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน จากการที่มีเอกสารหนังสือใน ลักษณะที่นาไปใช้ได้โดยตรง (how to) ที่มีการนาเสนอสาระสาคัญ พร้อมกับตัวอย่างและส่วนท่ีครูสามารถนาไปใช้ในช้ันเรียนได้จริง เช่น แบบประเมินคุณลักษณะของผู้เรียนซ่ึงผู้สอนสามารถนาไปใช้ประเมิน ผู้เรียนได้จริง ทาให้ได้สารสนเทศมาพัฒนาผู้เรียนรายบุคคล การที่ ผู้เรียนเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมการเสริมสร้าง ศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ของครูนั้น ทาให้ครูต้องมีความมุ่งมั่น ต้ังใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการ เรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง เพราะครูมีความรักความปรารถนาดีต่อผเู้ รียน

52 สาหรับผลการวิจัยที่พบว่า ครูมีความรู้ความเข้าใจด้านการ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการคิดเป็นร้อยละ 86.27 ด้านการโค้ช เพ่ือการรู้คิด คิดเป็นร้อยละ 84.47 ด้านการประเมินที่เสริมสร้างการรู้ คิดและความสุขในการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 89.60 และด้านการวิจัย เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 81.13 และโดยภาพรวมคิดเป็น ร้อยละ 85.40 นัน้ เปน็ ผลสบื เนือ่ งมาสาเหตุหลายประการ ดังนี้ 1) การนาความรู้ไปปฏิบัติจริงในช้ันเรียน โดยครูได้นา ความรู้ที่ได้รับจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ของตนเองอย่างต่อเนื่อง ท้ังการใช้บทบาทการโค้ชให้กับผู้เรียน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การประเมินผลการเรียนรู้และการ วิจยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ซึ่งการทีค่ รูนาความรู้ไปปฏิบัติทาให้เกิดความ เข้าใจและเป็นความทรงจาระยะยาว จึงทาให้สามารถทาแบบทดสอบ ทั้ง 4 ฉบบั ไดค้ ะแนนอยใู่ นระดบั สูง 2) มีเอกสารคู่มือประกอบการเรียนรู้ โดยภายหลังการ สัมมนาเชิงปฏิบัติการครูสามารถทบทวนองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ตลอดเวลา เนอ่ื งจากมเี อกสารค่มู อื การเรียนรู้แจกให้กับครูคนละ 1 ชุด เพ่ือใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้สาหรับครูในการพัฒนาตนเองซึ่งครูจะใช้ เวลาว่างศึกษาทบทวนความรู้ต่างๆ อย่างสม่าเสมอ ทาให้มีความรู้ แม่นยามากข้ึน นอกจากน้ีเอกสารคู่มือดังกล่าว ยังอานวยความสะดวก ในการจัดการเรียนรู้ให้กับครูอีกด้วย เช่น เอกสารคู่มือเรื่องการ ประเมินผลการเรียนรู้ จะมีตัวอย่างแบบประเมินต่างๆ ท่ีครูสามารถ

53 นาไปใช้ประเมินผู้เรียนได้ เอกสารคู่มือเร่ืองการวิจัยเพื่อพัฒนาการ เรยี นรู้มีบทปฏิบัติการและและตัวอย่างการเขียนรายงานการวิจัยให้ครู ไดศ้ กึ ษาและทดลองเขยี นรายงานการวจิ ยั ได้ดว้ ยตนเอง เปน็ ตน้ 3) การใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ทาให้ครู ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกันในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการ การโค้ชเพื่อการรู้คิด การประเมินผลการเรียนรู้ ที่เสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้ และการวิจัยเพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้ นอกจากครูจะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนครูแล้ว ยังได้แลกเปล่ียนเรียนรู้กับครูใหญ่และผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย โดยท่ีการ แลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้เช่ียวชาญจะเป็นช่วงเวลาของการสัมมนา เชิงปฏบิ ัตกิ าร และการสะทอ้ นผลในแตล่ ะวงรอบของการดาเนนิ การ 4) มีทัศนคติที่ดีต่อการดาเนินการ การท่ีการดาเนินการ เสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้ของครูที่ดาเนินการมาเป็น ระยะเวลาประมาณ 4 เดือน น้ัน ตอบสนองความต้องการของครู สอดคล้องกับวัฒนธรรมของโรงเรียน เป็นการพัฒนาโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน ไม่นาครูออกนอกโรงเรียน ไม่เพ่ิมภาระค่าใช้จ่ายของครู ครูได้รับความรู้ใหม่ๆ จากผู้เชี่ยวชาญได้แลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อนครู จงึ ทาให้ครูมีทัศนคติที่ดีต่อการดาเนินการในภาพรวม เม่ือครูมีทัศนคติ ท่ีดีจงึ ทาใหเ้ กดิ ความร่วมมอื ในการทดสอบวดั ความร้คู วามเข้าใจในด้าน ต่างๆ โดยทาการทดสอบอย่างเต็มความรู้ความสามารถ ทาให้คะแนน จากการทดสอบอย่ใู นระดบั สูง

54 สาหรับการรู้คิด ทักษะชีวิตและความสุขในการเรียนรู้ของ ผู้เรียน จากผลการวิจัยที่พบว่าผู้เรียนมีทักษะการรู้คิดจากการจัดการ เรียนรู้ของครู และมีทักษะชีวิตในด้านต่างๆ ได้แก่ ทักษะชีวิตด้านการ รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ด้านการดูแลรักษา สุขภาพร่างกาย ด้านการประกอบอาชีพ และด้านการทางานร่วมกับ ผอู้ นื่ และผูเ้ รยี นมีความสุขในการเรียนรู้จากการที่ได้ทาในสิ่งที่ต้องการ ความสุขจากการได้เลน่ หรือทากิจกรรมต่างๆ กับเพ่ือน ความสุขท่ีได้ให้ ส่ิงดีๆ กับครู ความสุขจากการได้สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ตามจินตนาการ ของตนเอง ความสขุ จากการท่ีไดท้ ากิจกรรมที่ตนเองถนัด ความสุขจาก การท่ีได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และความสุขที่ได้อยู่ กับครูที่มีความรักความเมตตาและครูที่อารมณ์ดีมีความสุข ส่วนหนึ่ง เป็นผลสืบเนื่องมาจากครูได้นาความรู้จากการสัมมานาเชิงปฏิบัติการ ตลอดจนการนาไปปฏิบัติจริง ในช้ันเรียน ท้ังในเรื่องการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ การโค้ชเพื่อการรู้คิด การทากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตลอดจนกิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี น ทาให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิด ต่างๆ โดยเฉพาะการคิดขั้นสูง เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การคิดสรา้ งสรรค์ เป็นตน้ ซ่ึงการที่ครูเปดิ โอกาสให้ได้ทากิจกรรมต่างๆ ดว้ ยตนเองน้ันเป็นการพัฒนาทักษะการรู้คิดของผู้เรียนไปในตัว เพราะ ผู้เรียนจะต้องคิดวางแผน ลงมือปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วย ตนเอง แตกต่างกับการท่ีครูเป็นผู้ออกคาสั่งให้ผู้เรียนทาตาม ผู้เรียน จะไมไ่ ด้ใช้กระบวนการคดิ ของตนเอง ทาใหไ้ ม่ได้พฒั นาทกั ษะการร้คู ดิ

55 สาหรับทักษะชีวิตของผู้เรียนได้รับการพัฒนาโดยการที่ครู ให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง อย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่องจน ผู้เรียนเกิดทักษะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทักษะการเลือกรับประทานอาหาร ท่ีเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ทักษะการดูแลรักษาสุขภาพ ทักษะการ ทางานร่วมกับผู้อ่ืน และทักษะอาชีพ โดยผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ผ่ า น ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ต า ม โ ค ร ง ก า ร พ ร ะ ร า ช ด า ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้แก่ โครงการ เกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน โครงการส่งเสริมสหกรณ์ โครงการส่งเสริม คณุ ภาพการศึกษา โครงการฝึกอาชีพ โครงการส่งเสริมโภชนาการและ สุขภาพอนามัยแม่และเด็กในถ่ินทุรกันดาร โครงการควบคุมโรคขาด สารไอโอดีน และโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยครจู ะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมวางแผน ลงมือปฏิบัติงานจริงด้วย ตนเองอย่างต่อเน่ืองจนเป็นวิถีชีวิตของผู้เรียน ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ ผ้เู รยี นมที ักษะชีวิตทด่ี ี สาหรับความสุขในการเรียนรู้ของผู้เรียนนั้น มีปัจจัยหลาย ประการทที่ าให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ ได้แก่ ปัจจัยทางด้านครู ที่มีจิตใจดี ตั้งใจถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน การเป็นคนใจเย็น ไม่ โกรธง่าย การยิ้มแย้มแจ่มใส อารมณ์ดี ทาให้ผู้เรียนอยากเข้าใกล้ อยากใกล้ชิดด้วย และที่สาคัญคือ ผู้เรียนจะกล้าเรียนรู้กับครู พร้อมท่ี จะเรียนรู้ในสิ่งที่ครูอบรมสั่งสอน และพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ อย่าง ต่อเน่ือง สาหรับปัจจัยทางด้านการเรียนรู้ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้

56 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเองสอดคล้องกับความถนัดและ ความสนใจ ตลอดจนได้แสดงความรู้ความสามารถของตนเอง ได้ช่วยเหลอื เพอื่ นและครู ส่วนปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ทาให้ผู้เรียน มีความสุขในการเรียนรู้ คือการได้อยู่ในโรงเรียนท่ีมีบรรยากาศอบอุ่น มีสัมพันธภาพที่ดีกับครู ไม่เครียด ไม่กังวล สอดคล้องกับที่นักวิชาการ หลานทา่ นไดร้ ะบไุ ว้ 7. ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ 1. การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียน ตารวจตระเวนชายแดน ควรเป็นการพัฒนาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ท่ีเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ โดยมีโค้ชทางวิชาการทาหน้าที่ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ อยา่ งต่อเน่อื ง 2. การโค้ชเป็นกลไกลสาคัญของการการเสริมสร้างศักยภาพ การจดั การเรยี นรู้ของครู ครูใหญ่ ครู และผู้เช่ียวชาญภายนอกโรงเรียน ควรใช้เทคนิคการโค้ชอย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ความสาคัญกับ การโคช้ การรู้คิด 3. กรอบประเด็นการเสริมสร้างศักยภาพของครูสามารถ ปรับเปล่ียนได้ตามสภาพปัญหาและความต้องการของโรงเรียน โดยจะต้องเป็นสภาพปัญหาและความต้องการท่ีแท้จริง โดยอาศัย ข้อมลู ต่างๆ มาสนบั สนุน

57 4. ควรดาเนินการเสริมสร้างศักยภาพครูด้านการจัดการ เรียนรู้ตามกระบวนการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ 2) การประยุกต์ใช้ในช้ันเรียน 3) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ และ 4) การ สะท้อนผล เพื่อให้ครูได้ใช้กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาอย่างเป็น ระบบโดยมีความยืดหยุ่นสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และมีการ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และนาผลการประเมินนั้นมาปรับปรุงและ พฒั นาประสทิ ธภิ าพของการดาเนินการเสริมสร้างศกั ยภาพครู 5. การมีภาวะผู้นาทางวิชาการของครูเป็นปัจจัยที่สาคัญของ การใช้รูปแบบ ดังน้ันครูใหญ่จึงควรศึกษาและทาความเข้าใจรูปแบบ ท่ีพัฒนาข้ึนจากการวิจัยคร้ังนี้ เพ่ือท่ีจะเป็นกลไกลขับเคลื่อนรูปแบบ ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครงั้ ต่อไป 1. ควรมีการวิจัยขยายผลการใช้รูปแบบการเสริมสร้าง ศักยภาพการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ในเขตอาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ท่ีได้จากการวิจัยในครั้งนี้ ในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนแหง่ อ่ืนๆ 2. ควรมีการวิจัยการเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนในประเด็นที่มี ความสาคัญต่อผู้เรียน เช่น การอ่าน การเขียน และการคิดขั้นสูง โดยนารูปแบบที่ไดจ้ ากการวจิ ัยครั้งเป็นแบบแผนการดาเนนิ การ

58 3. ควรมีการศึกษาวิจัยถึงแนวทางการบูรณการรูปแบบท่ีได้ จากการวิจัยในครั้งนี้กับการพัฒนาครูโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันเพื่อให้ครูได้รับการเสริมสร้างศักยภาพการจัด การเรียนร้อู ย่างมีประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้ ***********************************************

59 บรรณานุกรม กมลวรรณ รอดจ่าย และคณะ. (2550). การวิเคราะหป์ จั จัยที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็ก. ปริญญาครศุ าสตรดุษฎี บัณฑิต ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเปน็ ผนู้ า ทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธิ์. (2556). รปู แบบการพัฒนาวิชาชีพ เพอื่ เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพครู ดา้ นการจัดประสบการณ์ ท่สี ง่ เสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยา ศาสตร์ของเดก็ ปฐมวยั . วทิ ยานพิ นธ์ (ปร.ด. หลักสตู ร และการสอน). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ชนดิ า วิสะมติ นนั ท์. (2549). การวจิ ัยและพัฒนาการนเิ ทศการศกึ ษา เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชร้ ูปแบบ DOS-SBM. สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาสงขลา เขต 1. สบื ค้นเม่อื วันที่ 21 มกราคม 2557 จาก http://thaimisc.pukpik.com/freewebboard /php/vreply.php?user=pratom&topic=2481 ชศู รี วงศร์ ัตนะ, วนั ทยา วงศ์ศลิ ปะภิรมย,์ และศิริกาญจน์ โกสมุ ภ.์ (2546). การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้. กรุงเทพฯ: เมธที ิปส์

60 มารตุ พัฒผล. (2556). รายงานการวิจัยฉบับสมบรู ณ์ เรื่อง รปู แบบ การพฒั นาครดู า้ นการจัดการเรยี นร้ทู ีเ่ สริมสรา้ งการร้คู ดิ และความสุขในการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษา กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ วชิ ัย วงษใ์ หญ่. (2557). การจดั การเรยี นร้ทู ่ใี ช้วิจยั เป็นฐาน. เอกสาร ประกอบการบรรยาย รายวิชาสัมมนา นวัตกรรมทางหลักสตู ร และการสอน. บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. วิชยั วงษ์ใหญ่ และมารตุ พฒั ผล. (2556). จากหลักสูตรแกนกลาง สู่หลกั สูตรสถานศกึ ษา: กระบวนทศั นใ์ หม่การพฒั นา. พิมพ์ครงั้ ท่ี 6). กรงุ เทพฯ: จรัลสนิทวงศก์ ารพิมพ์ จากดั . . (2557). การโคช้ เพื่อการรูค้ ิด กรุงเทพฯ: จรลั สนทิ วงศ์ การพิมพ์ จากัด. ศศธิ ร เขียวกอ. (2548). การพัฒนาสมรรถภาพดา้ นการประเมิน สาหรับครโู รงเรยี นประถมศึกษา:การเปรยี บเทียบผลการ ฝึกอบรมระหว่างการฝึกอบรมครแู บบดง้ั เดมิ และแบบ ใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน. ดษุ ฎีนพิ นธ์ ปริญญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สวุ ิมล ว่องวานิช. (2550). การวจิ ัยปฏบิ ัตกิ ารในช้นั เรียน = Classroom action research. พมิ พค์ ร้ังที่ 10. กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรมหาวทิ ยาลยั .

61 อมลวรรณ วรี ะธรรมโม. (2555). รายงานการวจิ ยั การพฒั นารปู แบบ การพัฒนาครแู ละผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาแบบใชโ้ รงเรียน เปน็ ฐานในโรงเรียนขนาดเลก็ จงั หวัดสงขลา. สงขลา: มหาวิทยาลัยทกั ษิณ. Battista, Michael T. (2012). Cognition – based assessment & teaching of geometric measurement: Building on student’s reasoning. Portsmouth: Heinemann. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert j. (2002). Cognitive Coaching A Foundation For Renaissance Schools. 2nd ed. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. DeMonte, Jenny. (2013). High – Quality Professional Development for Teachers: Supporting Teacher Training to Improve Student Learning. Washington D.C. Center for American Progress. Hodges, John R. (2007). Cognitive assessment for clinicians. 2nd ed. New York: Cambridge University Press. Jasper, M. (2006). Professional Development, reflection, and decision–making. Oxford: Blackwell Publishing.

62 Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Leighton, Jacqueline., and Gierl, Mark J. (2011). The learning science in educational assessment: The role of cognitive models. New York: Cambridge University Press. Marzano Research Laboratory. (2012). Teacher Development Toolkit for the Marzano Teacher Evaluation Model. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Marzano , Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Mizell, Hayes. (2010). Why professional development matters. Oxford: Learning Forward. Moss. Pamela A., and other. (2008). Assessment, equity, and opportunity to learn. New York: Cambridge University Press. National Professional Development Center. (2008). What do we mean by professional development in the early childhood field? Chapel Hill: The University of North Carolina.

63 Scharmer, C. Otto. (2007). Theory – U leading from the future as it emerges. San Francisco: Berrett – Koehler Publishers. Sprenger, Marilee. (2008). Differentiation through learning styles and memory. 2nded. California: Corwin Press. Stringer, Ernie. (2004). Action research in education. Upper Saddle , New Jersey : Pearson Merrill Prentice Hall. Sweeney, Diane. (2011). Student – Centered Coaching: A Guide for K – 8 Coachers and Principles. California: Corwin Press. Tan, Oon – Seng., and Seng, Alice Seok – Hoon. (2008). Cognitive modifiability in learning and assessment: International perspectives. Singapore: Eengage Learning Asia Pte Ltd. The Organization for Economic Co-operation and Development. (2009). Evaluation feedback for effective learning and accountability. Paris: OECD Volk, Kenneth S. (2010). Action research, September 2010 ; vol. 8, 3: pp. 315-332., first published on March 15.

64 ประวตั ิผวู้ จิ ัย ชื่อ อาจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล การศกึ ษา ปริญญาตร:ี กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปรญิ ญาโท: กศ.ม. (การวจิ ัยและสถติ ิทางการศกึ ษา) มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปริญญาเอก: กศ.ด. (การวจิ ัยและพัฒนาหลกั สตู ร) มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ สถานท่ีทางาน บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ผลงานวิชาการ วชิ ัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2557). การโค้ชเพ่อื การรู้คดิ (Cognitive Coaching). พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: จรัลสนทิ วงศ์การพมิ พ.์ มารุต พัฒผล (2555). การประเมินหลักสูตรเพือ่ การเรยี นร้แู ละพัฒนา. กรุงเทพฯ: จรลั สนิทวงศ์การพมิ พจ์ ากัด. วิชัย วงษใ์ หญ่ และมารุต พฒั ผล (2556). จากหลกั สูตรแกนกลางสหู่ ลกั สตู ร สถานศึกษา: กระบวนทัศน์ใหมก่ ารพฒั นา. พิมพค์ รั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จรลั สนิทวงศ์การพมิ พจ์ ากัด. มารตุ พฒั ผล (2553). การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้บรู ณาการท่ีสอดคล้องกบั ทอ้ งถิ่นและการประเมินผลระดับชนั้ เรียน. กรุงเทพฯ: จรลั สนิทวงศ์การพมิ พ์จากดั . มารุต พฒั ผล (2553). การวจิ ยั ปฏบิ ตั กิ ารในชัน้ เรยี น: ขบั เคล่ือนสงู่ านประจา อย่างพอเพยี งและยัง่ ยืน. กรงุ เทพฯ: จรัลสนทิ วงศ์การพิมพ์จากัด.

65 ผลงานวจิ ัย มารุต พัฒผล (2557). รายงานการวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ เรื่อง รูปแบบการพัฒนา ครูด้านการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเสรมิ สร้างการรคู้ ิดและความสุขในการ เรียนรู้. กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. มารุต พฒั ผล (2556). รายงานการวจิ ัยฉบบั สมบูรณ์ เรอื่ ง การพฒั นาหลักสตู ร ฝกึ อบรมครดู า้ นการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชว้ จิ ยั เปน็ ฐาน. กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. มารตุ พฒั ผล (2554). “ผลการใช้ทฤษฎียู (Theory - U) สาหรับการประเมนิ หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา”. ศรนี ครนิ ทรวิโรฒวชิ าการ ครั้งท่ี 5. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook