บทท่ี 1 บทนำ 1. ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของกำรวิจยั การจัดการศึกษานอกระบบ ยึดหลักการและความมุ่งหมายตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ควบคู่กบั หลกั การศึกษานอกระบบ หลกั ความเสมอภาค การมีส่วนร่วมในความ รับผิดชอบ กระบวนการเรียนรู้ ความหลากหลาย ความยืดหยุ่น การบูรณาการ และการกระจาย อานาจ เพอ่ื ใหก้ ารศึกษานอกระบบเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน การจดั การศึกษานอกระบบ เชื่อว่าการศึกษาอาจเกิดข้ึนไดท้ ุกหนทุกแห่ง ไม่เฉพาะใน โรงเรียนเท่าน้นั การศึกษานอกระบบอาจพิจารณาการศึกษาได้ 2 ดา้ น คือ ดา้ นท่ี 1 เป็นการศึกษา ท่ีจดั ข้ึนนอกเหนือจากที่จดั ในโรงเรียน โดยมีหลกั สูตร วิธีการจดั การเรียนการสอน การวดั และ ประเมินผล แต่ก็มีความยืดหยนุ่ สามารถปรับให้เหมาะสมกบั สภาพของชุมชน ผู้เรียนสามารถนา เน้ือหาจากสภาพแวดล้อม หรือความตอ้ งการของผูเ้ รียนมากาหนดเป็ นหลักสูตรก็ได้ แนวคิด ดงั กล่าวให้ความสาคญั กบั ความเป็ นมนุษยท์ ี่มีเลือดเน้ือ มีชีวิต จิตใจ มีอารมณ์ มีศกั ด์ิศรีของความ เป็ นมนุษย์ มีเสรีภาพท่ีจะเลือกและตดั สินใจ สามารถรับผิดชอบต่อส่ิงท่ีตนตดั สินใจ เป็ นมนุษย์ ที่พฒั นาไดด้ ว้ ยตนเอง มนุษยส์ ามารถเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง มิใช่ถูกสอน เม่ือปรารถนาที่จะเรียน ก็จะขวนขวายที่จะเรียน และสามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างลึกซ้ึงจนนาความรู้น้ันไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ แก่ตนเอง ผูป้ กครอง และชุมชนของตนได้ ด้านที่ 2 เป็ นการศึกษาท่ีจัดข้ึนสาหรับผูท้ ่ีอยู่ นอกระบบโรงเรียน เป็ นผูท้ ี่ไม่สามารถเขา้ ถึงบริการที่โรงเรียนจดั ให้ได้ โดยขอ้ จากัดต่าง ๆ ท้งั ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ตลอดจนทางดา้ นร่างกาย จิตใจ ท่ีสาคญั คอื ส่วนใหญ่เป็นผใู้ หญ่ ซ่ึงมี ความรู้และประสบการณ์ในการใช้ชีวิตและการทางานมาระดบั หน่ึง สามารถรับผิดชอบตนเองได้ การจัดการศึกษาจึงใช้หลักการสอนผูใ้ หญ่ (Andragogy) เป็ นหลักการสาคัญ คือ เป็ นการจัด การศึกษาที่เนน้ การมีส่วนร่วมของผเู้ รียน และครูผสู้ อนในการวางแผนการเรียนร่วมกนั ตอ้ งเขา้ ใจ เหตุผลของการเรียน มีเป้าหมายของการเรียนท่ีชดั เจน ผูเ้ รียนสามารถเลือกวิธีเรียนท่ีเหมาะสมกบั ตนเองได้ ผเู้ รียนจึงเป็นศนู ยก์ ลางของการเรียนรู้ท่ีจะร่วมตดั สินใจและมีส่วนร่วมในการประเมินผล การเรียนของตนเอง ครูผสู้ อนท่ีอยนู่ อกระบบโรงเรียนจะตอ้ งเขา้ ใจธรรมชาติ จิตใจและอารมณ์ของ กลุ่มเป้าหมายและจดั โอกาสให้เรียนดว้ ยตนเอง เรียนจากของจริง เอาความรู้และประสบการณ์จาก
2 การทางานมาเป็ นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ด้วย การออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน จะตอ้ งคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ท้ังดา้ นร่างกาย ความคิด จิตใจ สติปัญญา และ สภาพแวดลอ้ ม กลุ่มเป้าหมายการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็ นเยาวชนและผใู้ หญ่ ซ่ึงเป็นผมู้ ีวุฒิ ภาวะ มีประสบการณ์ มีความรับผิดชอบในการประกอบอาชีพ ดูแลผูป้ กครอง และมีขอ้ จากดั มากมายในการเรียนรู้ ซ่ึงลักษณะดังกล่าวทาให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่เหมือนกับเด็ก แตกต่างกนั หลายอย่าง เช่น ความคิดอ่าน ประสบการณ์ ความพร้อม การจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนจึงจาเป็นตอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและธรรมชาติของผเู้ รียน ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีส่วน ร่วม นาความรู้และประสบการณ์ท่ีมีอยู่มาแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน และส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ตนเอง การศึกษานอกระบบเป็ นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจสาคัญที่มุ่งให้ ประชาชนไดร้ ับการศึกษาอย่างทว่ั ถึง โดยเฉพาะการศึกษาพ้ืนฐานท่ีจาเป็ นต่อการดารงชีวิตตาม มาตรฐานของสังคมซ่ึงเป็ นสิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับ นอกจากน้ันยงั จะต้องได้รับการศึกษาที่ ต่อเน่ืองจากการศึกษาพ้ืนฐานนาความรู้ไปพฒั นาอาชีพ พฒั นาคุณภาพชีวิตและพฒั นาชุมชนและ สงั คมในท่ีสุด (อญั ชลี ธรรมะวิธีกลุ , 2551: น. 1-2) การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็ นการจัดการศึกษาท่ีจดั ข้ึน นอกเหนือไปจากการศึกษาในระบบโรงเรียน มีลกั ษณะเป็นการจดั กิจกรรมการศึกษาที่สนองความ ตอ้ งการและความสนใจเฉพาะอยา่ ง ท้งั ในแง่ที่เป็ นความรู้ การฝึ กอาชีพ การคิดเป็น ทาเป็นและ สามารถแกป้ ัญหาในชีวิตประจาได้ เป็นการจดั การศึกษาที่มีความคล่องตวั ยดื หย่นุ ส่งเสริมให้ผู้ ที่ขาดโอกาสทางการศึกษาในระบบโรงเรียนไดร้ ับความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และวฒั นธรรมอนั จาเป็น ในการประกอบอาชีพและดารงตนเป็นคนดี โดยเมื่อวนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 กระทรวงศึกษา การไดป้ ระกาศให้ใชห้ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็ นหลกั สูตรที่มุ่งจดั การศึกษา เพ่ือตอบสนองอุดมการณ์การจดั การศึกษาตลอดชีวิตและสร้าง สังคมไทยให้เป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็ น” เพ่ือสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มี การบูรณาการอย่างสมดุลระหวา่ งปัญญาธรรม ศีลธรรม และวฒั นธรรม การศึกษานอกระบบเป็น กระบวนการของการพฒั นาชีวติ และสังคม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และรู้เทา่ ทนั การเปล่ียนแปลง เป็ นหลกั สูตรท่ีมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียนซ่ึงเป็ นผูม้ ี ความรู้และประสบการณ์จากการทางาน และการประกอบอาชีพ โดยการกาหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล ให้ความสาคญั กับการพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย ด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจดั การกบั องคค์ วามรู้ ท้งั ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินและเทคโนโลยเี พื่อใหผ้ ูเ้ รียนสามารถปรับตวั อยู่ ในสังคมที่มีการเปล่ียนตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ัง
3 คานึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผูท้ ี่อยู่นอกระบบและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยแี ละการส่ือสาร โดยกาหนดสาระการ เรียนรู้ไว้ 5 สาระ ไดแ้ ก่ สาระทกั ษะการเรียนรู้ สาระความรู้พ้ืนฐาน สาระทกั ษะการดาเนิน ชีวติ สาระการพฒั นาสังคม และสาระการประกอบอาชีพ การประเมินหลกั สูตรมีความสาคญั ในการตดั สินใจปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรหลาย ประการดว้ ยกนั คือ ทาให้ไดข้ อ้ มูลข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวกบั หลกั สูตร ทาให้ไดป้ ระเมินหลกั สูตรท่ี พฒั นาข้ึน ประเมินความก้าวหน้าของการนาไปใช้และความสาเร็จของหลักสูตร รวมถึงผูท้ ่ี รับผิดชอบหลกั สูตรและให้ผใู้ ชห้ ลกั สูตร และทราบถึงจุดอ่อนของหลกั สูตร พิสณุ ฟองศรี (2549: น. -135) จากเหตุผลดังกล่าว ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมือง สมุทรปราการ ในฐานะเป็ นหน่วยที่รับผิดชอบดาเนินการใชห้ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ต้งั แต่ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2552 จนถึงปัจจุบันมี ผสู้ าเร็จการศึกษาแลว้ ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 ซ่ึงยงั ไม่มีการประเมินว่าหลกั สูตรจดั ทา ข้ึนเหมาะสมหรือไม่ ดงั น้ันจึงความจาเป็ นและความสาคญั อย่างยิ่งที่ควรมีการประเมินหลกั สูตร การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ เพ่ือ นาผลที่ได้จากการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการปรับปรุงและการพัฒนาหลักสูตร การจัด กระบวนการเรียนการสอนใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของนกั ศึกษาและใหเ้ กิดประสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ 2. วตั ถุประสงค์ของกำรวิจยั การวิจยั น้ีมีวตั ถุประสงค์เพ่ือประเมินหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555) ใน 3 ดา้ น โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะดงั น้ี 2.1 เพือ่ ประเมินดา้ นพฤติกรรมการเรียนรู้ของนกั ศึกษาไดแ้ ก่ 2.1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 2.1.2 ผลคะแนนการทดสอบระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) นกั ศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 2.1.3 สมรรถนะสาคญั ของนกั ศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
4 2.1.4 คุณธรรมของนักศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 2.2 เพ่ือประเมินด้านการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การจัดช้ันเรียนและตารางสอน เน้ือหาวิชา วธิ ีการสอน สิ่งอานวยความสะดวก และงบประมาณ 2.3 เพ่ือประเมินดา้ นสถาบนั ไดแ้ ก่ คุณลกั ษณะและพฤติกรรมการเรียนของนกั ศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู การส่งเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของ ผบู้ ริหาร และการสนบั สนุนการเรียนของผปู้ กครอง
5 3. กรอบแนวคิดกำรวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ไดศ้ ึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสารวชิ าการ และงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง เพ่ือใชเ้ ป็นกรอบ ความคดิ ในการทาทาวิจยั คร้ังน้ี ซ่ึงแสดงดงั ภาพท่ี 1.1 การประเมินหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2555) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองสมทุ รปราการ ด้ำนพฤติกรรมกำรเรียนรู้ ด้ ำนกำรจัดกำรเรียนกำร ด้ำนสถำบนั 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 1. คณุ ลกั ษณะและ ตามหลกั สูตร สอน พฤติกรรมการเรียนของ 2. ผลคะแนนการทดสอบ 1. การจดั ช้นั เรียนและ นกั ศึกษา ระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษา ตารางสอน 2. การจดั กิจกรรมการเรียน นอกระบบโรงเรียน 2. เน้ือหาวิชา การสอนของครู (N-NET) 3. วธิ ีการสอน 3. การส่งเสริมการจดั 3. สมรรถนะสาคญั ของ 4. ส่ิงอานวยความสะดวก กิจกรรมการเรียนการสอน นกั ศึกษา 5. งบประมาณ ของผบู้ ริหาร 4. คณุ ธรรมของนกั ศึกษา 4. การสนบั สนุนการเรียน ของผปู้ กครอง ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคดิ การวิจยั
6 4. ขอบเขตของกำรวิจัย 4.1 เนื้อหำกำรวจิ ัย 4.1.1 หลกั สูตรที่ประเมิน ไดแ้ ก่ หลกั สูตรนอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2555) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ศูนยก์ ารศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองสมุทรปราการ 4.1.2 ประชากรการวิจยั 2,438 คน ประกอบดว้ ย ผบู้ ริหาร 1 คน ครูผสู้ อน 33 คน บคุ ลากรของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองสมทุ รปราการ 4 คน และนกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 2,400 คน 4.2 ประเดน็ ท่ีศึกษำ ไดแ้ ก่ 4.2.1 พฤติกรรมการเรียนรู้ของนกั ศึกษา ไดแ้ ก่ - ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2555) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ - ผลคะแนนการทดสอบระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) นกั ศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ - สมรรถนะสาคญั ของนกั ศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2555) ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนตน้ - คุณธรรมของนกั ศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2555) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 4.2.2 การจดั การเรียนการสอน ไดแ้ ก่ การจดั ช้นั เรียนและตารางสอน เน้ือหาวชิ า วิธีการสอน ส่ิงอานวยความสะดวก และงบประมาณ 4.2.3 สถาบนั ไดแ้ ก่ คณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมการเรียนของนกั ศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู การส่งเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของ ผบู้ ริหาร และการสนบั สนุนการเรียนของผปู้ กครอง 4.3 ระยะเวลำทีด่ ำเนินกำรตดิ ตำมประเมินผล คือ ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2559
7 5. คำนยิ ำมศัพท์เฉพำะ 1. หลักสู ตร หมายถึง หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองสมุทรปราการ 2. กำรประเมินหลักสูตร หมายถึงการพิจารณาตัดสินคุณค่าของหลักสูตรท่ีสร้างข้ึนมา วา่ สามารถบรรลุตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตรหรือไม่ โดยใชก้ ารวิจยั เชิงประเมินในประเด็น 3 ดา้ น ได้แก่ 1) พฤติกรรมการเรียนรู้ 2) การจัดการเรียนการสอน และ 3) สถาบัน ซ่ึงประกอบด้วย รายละเอียดดงั น้ี 2.1 พฤติกรรมการเรียนรู้ของนกั ศึกษา ประกอบดว้ ย 2.1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ฉบับปรับปรุ ง พุทธศักราช 2555) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองสมุทรปราการ 2.1.2 ผลคะแนนการทดสอบระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) นกั ศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 2.1.3 สมรรถนะสาคญั ของนกั ศึกษาตามหลกั สูตร ประกอบดว้ ย 1. ความสามารถในการสื่อสาร หมายถึง การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเอง เพื่อเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณ์ อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด หมายถึง การรู้จกั คดิ วเิ คราะห์ และคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศ เพือ่ การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้ อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา หมายถึง การแสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ ความรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพ้นื ฐานของหลกั เหตุผล 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ หมายถึง การทางานและอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบคุ คล จดั การปัญหาและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี หมายถึง การรู้จักเลือกและใช้ เทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและทางาน
8 2.1.3 คุณธรรมของนกั ศึกษา หมายถึง ผเู้ รียนมี คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ พ้นื ฐานสาหรับการดาเนินชีวิต ความสามารถในการประกอบสมั มาอาชีพ ทกั ษะในการดาเนินชีวิต จิตสานึกในการอนุรักษแ์ ละพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ 2.3 การจดั การเรียนการสอน หมายถึง การจดั ช้ันเรียนและตารางสอน เน้ือหาวิชา วิธีการสอน ส่ิงอานวยความสะดวก และงบประมาณ 2.4 สถาบนั หมายถึง คุณลกั ษณะและพฤติกรรมการเรียนของนกั ศึกษา การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของครู การส่งเสริมการจดั การกิจกรรมเรียนการสอนของผบู้ ริหาร และ การสนบั สนุนการเรียนของผปู้ กครอง 6. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ผลการประเมินหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555) ในคร้ังน้ีจะเป็ นข้อมูล สารสนเทศให้กับผูบ้ ริหาร นักวิชาการ ศึกษานิเทศก์ และผูเ้ กี่ยวขอ้ ง ไดท้ ราบขอ้ มูล ปัญหาและ อุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการใชห้ ลกั สูตร เพ่ือประกอบการพิจารณาปรับปรุงพฒั นาหลกั สูตรให้ดี ยงิ่ ข้ึน ตลอดจนการจดั การเรียนการสอนใหม้ ีคณุ ภาพและประสิทธิภาพ
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: