Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: 39.

Search

Read the Text Version

87 สาระนา รูของกฎหมายแพง 1. บุคคล หมายถึง สิ่งซ่ึงสามารถมีสิทธิและหนาที่ไดตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท 1.1 บคุ คลธรรมดา หมายถงึ คนซง่ึ มีสทิ ธแิ ละหนาทีต่ ามกฎหมาย 1.2 นิติบุคคล หมายถึง กลุมบุคคลหรือองคกรซ่ึงกฎหมายบัญญัติใหเปน บุคคลอีกประเภทหนึ่งทไ่ี มใ ชบคุ คลธรรมดา และมสี ิทธแิ ละหนา ทตี่ ามกฎหมาย สภาพบคุ คล บคุ คลธรรมดามีสภาพเปน บคุ คลตงั้ แตเ รมิ่ คลอดแลวอยูรอดเปนทารก สิ้นสุดสภาพเมื่อตาย สวนนิติบุคคล มีสภาพเปนนิติบุคคลเมื่อกฎหมายใหอํานาจ หรือเม่ือ ปฏิบัติตามข้ันตอนของกฎหมายครบถวน เชน พรรคการเมือง เปนนิติบุคคลตามข้ันตอนการ กอ ต้งั ตามพระราชบญั ญตั พิ รรคการเมือง 2. ความสามารถของบคุ คล หมายถงึ ความสามารถในการมีสิทธหิ รอื ใชสิทธติ าม กฎหมาย ซึ่งโดยปกติบุคคลทุกคนยอ มมีความสามารถในการใชสทิ ธิไดท ัดเทียมกัน แตมีบาง กรณเี พื่อคมุ ครองบคุ คลบางประเภท กฎหมายจึงไดจาํ กัดหรือตัดทอนความสามารถของบคุ คล ประเภท นั้น ๆ เสีย ซ่งึ บคุ คลเหลา นี้ไดแก ผหู ยอ นความสามารถซงึ่ แบง ออกไดเปน 3 ประเภท คอื ผเู ยาว คนไรความสามารถ และคนเสมือนไรความสามารถ 3. ทรพั ยส นิ หมายถงึ วัตถุทัง้ ทมี่ รี ูปรา งและไมม ีรปู ราง ซึ่งอาจมรี าคาและอาจ ถอื เอาได เชน บา น ที่ดิน เปนวัตถุมรี ปู รา ง ลขิ สิทธ์ิ สิทธบิ ัตร เปนวัตถุไมม ีรูปราง ซงึ่ แบง ประเภทเปน อสังหารมิ ทรพั ย-สงั หารมิ ทรพั ย 4. นติ กิ รรมและสญั ญา คอื การใดๆ อันทําลงโดยชอบดวยกฎหมายและดว ยใจ สมคั ร มงุ โดยตรงตอ การผกู นิตสิ มั พันธข นึ้ ระหวา งบุคคลเพอื่ จะกอ เปลย่ี นแปลง โอน สงวนหรือ ระงับซ่ึงสทิ ธิ นิตกิ รรม คอื การกระทําของบุคคลโดยชอบดว ยกฎหมายและมุงตอผลในกฎหมาย ที่จะเกิดข้ึนอันไดแก การเคลื่อนไหวแหงสิทธิ มีการกอสิทธิ เปลี่ยนแปลงสิทธิ โอนสิทธิ สงวน สิทธิและระงับซึ่งสิทธิ เชน สัญญาซื้อขาย, สัญญากูเงิน, สัญญาจางแรงงาน สัญญาใหและ พนิ ยั กรรม เปน ตน

88 การแบงแยกประเภทของนติ กิ รรม 1. นติ กิ รรมฝายเดียว ไดแ ก นติ กิ รรมซงึ่ เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลฝา ย หนึง่ ฝา ยเดียวและมีผลตามกฎหมาย ซึ่งบางกรณกี ็ทําใหผูทาํ นิติกรรมเสยี สิทธไิ ด เชน การกอ ตั้ง มูลนธิ ิ คําม่นั โฆษณาจะใหรางวลั การรบั สภาพหน้ี การผอ นเวลาชําระหนีใ้ หล กู หนี้ คาํ มั่นจะซอื้ หรือจะขาย การทําพนิ ยั กรรม การบอกกลาวบังคบั จํานอง เปนตน 2. นิติกรรมสองฝาย (นิตกิ รรมหลายฝาย) ไดแ ก นิติกรรมซง่ึ เกิดขึ้นโดยการแสดง เจตนาของบคุ คลต้ังแตส องฝา ยขึ้นไปและทกุ ฝายตองตกลงยินยอมระหวางกนั เชน สัญญาซอื้ ขาย สัญญากยู มื สัญญาแลกเปลย่ี น สัญญาขายฝาก จาํ นอง จาํ นาํ เปนตน 5. การซ้ือขาย คือ สญั ญาซึง่ บุคคลฝายหนึ่งเรียกวา \"ผูขาย\" โอนกรรมสิทธแ์ิ หง ทรัพยสิน ใหแกบคุ คลอีกฝา ยหนง่ึ เรียกวา \"ผซู ือ้ \" และผซู ้อื ตกลงวาจะใชราคาทรัพยน ้ันใหแ ก ผขู าย” ทรัพยสินทซ่ี อ้ื ขายกันไมไ ด 1. สาธารณะสมบัติแผนดิน เชน ท่ีชายตลิง่ ปาสงวน 2. สทิ ธซิ งึ่ กฎหมายหวงหามโอน เชน สิทธทิ ไ่ี ดร บั มรดกขณะเจาของมรดกยงั มี ชวี ติ อยู 3. ทรัพยส ินที่กฎหมายหามมีไวใ นครอบครอง เชน อาวุธปน เถอ่ื น ยาเสพติด 4. วัดและทธ่ี รณสี งฆ 5. ทรพั ยส นิ ทม่ี าโดยขอ กาํ หนดหามโอน ประเภทของสญั ญาซอื้ ขาย ประเภทของสัญญาซ้อื ขายสามารถพิจารณาไดดังนี้ 1. สญั ญาซือ้ ขายเสร็จเดด็ ขาด เปนสญั ญาซอื้ ขายทม่ี ีการกาํ หนดตัวทรัพยซอ้ื ขาย ทแ่ี นนอน โดยผขู ายจะตอ งมสี ทิ ธิเหนอื ทรพั ยสนิ ท่ซี ้อื ขาย 2. สญั ญาจะซือ้ ขาย เปน สญั ญาที่คสู ญั ญามีเจตนาจะไปทําการโอนกรรมสทิ ธิก์ ันใน ภายหลงั เพราะฉะนนั้ กรรมสทิ ธจิ์ ะยงั ไมโอนในขณะทท่ี าํ สญั ญา ซง่ึ รวมถึงกรณกี ารทําสญั ญาซื้อ ขายทรัพยสนิ ทีต่ อ งทําใหถูกตองตามแบบท่กี ฎหมายกําหนด 3. คํามนั่ วา จะซื้อขาย ถา ทรพั ยสินที่ซอื้ ขายเปนอสงั หาริมทรัพย หรือ สงั หารมิ ทรพั ยชนิดพิเศษ การจะทาํ คาํ มนั่ จะตอ งมหี ลักฐานเปนหนงั สืออยางใดอยางหน่งึ ลง ลายมอื ชื่อ ฝา ยทีต่ อ งรบั ผิด หรือไดวางประจําไว หรอื ไดชําระหนีบ้ างสว นจงึ จะฟอ งรอ งบังคบั คดีกนั ได

89 หนา ทข่ี องผูขาย 1. ตอ งสงมอบทรัพยสินทีข่ ายใหแ กผ ูซือ้ 2. ตอ งสง มอบทรัพยสินท่ีขาย ตอ งไมชํารุดบกพรอ ง ซ่ึงในความชํารุดบกพรอ ง ในท่นี ้ี หมายถงึ ลักษณะทท่ี รัพยสินทซี่ อื้ ขายในตัวของมนั เองมคี วามชํารุดหรอื มีความบกพรอง อยูจนเปน เหตุใหท รัพยน ั้นราคาตกหรอื ไมเหมาะแกก ารใชประโยชนตามปกติหรือตามสภาพ ของทรัพยส ินน้นั และความบกพรอ งหรือความชํารดุ นี้จะตอ งมอี ยูกอ นหรือตามสภาพของสัญญา ซื้อขายเทา นั้น หนา ท่ขี องผูซอ้ื 1. หนา ทใี่ นการรับมอบทรัพยส นิ ทีซ่ อื้ ขายตามเวลาตามสถานทแ่ี ละดวยวธิ ีการ ตามที่ตกลงกนั ในสัญญาซอื้ ขายเวนแตผ ซู อื้ จะมสี ิทธบิ อกปดในกรณที ่ีเปนสงั หาริมทรพั ยเ มือ่ ผูข าย สง ทรัพยสินใหม ากเกินไปหรอื นอยกวาไปกวาทไ่ี ดต กลงกันไวหรอื ผขู ายสง มอบทรัพยสิน ตามที่ตกลงกนั ปะปนกบั ทรพั ยสนิ อยางอื่นหรือในกรณที ่เี ปนอสังหาริมทรพั ยผูข ายสงมอบ อสงั หาริมทรพั ยน นั้ มากเกินไปหรอื นอยกวาเกนิ ไปจากท่ไี ดต กลงกันไว 2. หนา ที่ในการชาํ ระราคาทรัพยสินทซ่ี ้อื ขายตามราคาทกี่ ําหนดไวใ นสญั ญาหรอื ตามทางการทคี่ สู ัญญา เคยประพฤตปิ ฏิบตั ิตอ กันแตถาไมไ ดก ําหนดราคาไวเ ปน ที่แนนอน ผูซ อื้ กต็ อ งชําระราคาตามสมควรและการชาํ ระราคาก็ตอ งชําระภายในเวลาทีก่ ําหนดตามสญั ญาดว ย แตถ า หากไมไดก ําหนดเวลาไวใ หชาํ ระราคาในเวลาเดียวกับเวลาที่สงมอบทรัพยส นิ ท่ซี อื้ ขายน้นั 3. หนา ทใ่ี นการชาํ ระคา ธรรมเนียมในการซ้อื ขาย หากตกลงกันไวในสัญญาวา ใหผู ซ้ือชําระคนเดียวท้งั หมด แตถ า ไมไดต กลงกันไวผซู ือ้ ก็ตองมีหนาทช่ี าํ ระคา ธรรมเนียมคร่ึงหนึง่ 6. การเชาทรพั ยส นิ ป.พ.พ. มาตรา 537 บญั ญัติวา “อนั วาเชาทรัพยสินนั้น คือสัญญาซ่ึงบุคคลคนหน่ึง เรียกวาผใู หเชา ตกลงใหบ ุคคลอีกคนหนึง่ เรยี กวา ผเู ชา ไดใชหรอื ไดรับประโยชนในทรัพยสินอยาง ใดอยางหนง่ึ ช่วั ระยะเวลาอนั มจี ํากัด และผูเชา ตกลงจะใหค า เชา เพอ่ื การน้นั ” 7. การเชา ซอื้ สัญญาเชาซ้ือ คือ สัญญาที่เจาของทรัพยสินเอาทรัพยสินของตนออกใหผูอื่นเชา เพอื่ ใชสอยหรอื เพ่อื ใหไ ดประโยชนและใหค ํามั่นวา จะขายทรัพยน้ันหรือจะใหทรัพยสินที่เชาตก เปนสิทธิแกผูเชาซ้ือเม่ือไดใชเงินจนครบตามที่ตกลงไวโดยการชําระเปนงวด ๆ จนครบตาม ขอ ตกลง

90 สัญญาเชาซ้อื มใิ ชส ญั ญาซ้ือขายผอนสงแมวาจะมีลักษณะคลายคลึงกันเรื่องชําระ ราคาเปนงวดๆ ก็ตามเพราะการซอื้ ขายผอ นสง กรรมสทิ ธ์ิในทรัพยสินเปนของผูซ้ือทันทีขณะทํา สัญญาไมตองรอใหชําระราคาครบแตประการใดสวนเรื่องสัญญาเชาซ้ือ เม่ือผูเชาบอกเลิก สญั ญาบรรดาเงินทไ่ี ดช าํ ระแลวใหริบเปนเจาของทรัพยสินและเจาของทรัพยสินชอบที่จะกลับ เขาครอบครองทรัพยส ินท่เี ชาได 8. การกยู ืมเงิน การกูยืมเงิน คือ สัญญาอยางหนึ่ง ซึ่งเกิดจากบุคคลใดบุคคลหน่ึง ซ่ึงเรียกวา “ผูก”ู มี ความตองการจะใชเงิน แตตนเองมีเงินไมพอ หรือไมมีเงินไปขอกูยืมจากบุคคลอีกคน หน่ึงเรียกวา “ผูใหกู” และผูกูตกลงจะใชคืนภายในกําหนดเวลาใดเวลาหน่ึง การกูยืมจะมีผล สมบูรณก ต็ อเมอ่ื มกี ารสง มอบเงิน ทยี่ มื ใหแ กผูทย่ี ืมในการกยู มื นี้ผใู หกูจะคดิ ดอกเบ้ยี หรอื ไมก ไ็ ด หลักฐานในการกูยืม ในการตกลงทําสัญญากูยืมเงินน้ัน ถาหากวากูยืมกันเปน จํานวนเงินเล็กนอ ยไมเกนิ 50 บาท กฎหมายไมไ ดบ งั คบั วาตอ งทําหลกั ฐานเปน หนงั สือ แสดงถึง การกยู มื หรอื ทาํ สัญญาไวต อ กนั เชน ยมื เงนิ 20 บาท หรือ 30 บาท แลว เพยี งแตพูดจาตกลงกัน กพ็ อ แตถ าหากวา กูยืมเปนจํานวนเกินกวา 50 บาท ตองทําหลักฐานแหงการกูยืมเปนหนังสือ หรอื ทําหนังสือสัญญากไู วตอกัน เพ่ือจะไดใชเปนหลักฐานในการฟองรองบังคับคดีในกรณีท่ีไม ปฏิบตั ิตามสัญญา ในหลกั ฐานแหงการกเู ปน หนังสือดงั กลา วนตี้ องมีขอ ความแสดงวาไดกูยืมเงิน เปนจํานวนเทาใด มกี ําหนดใชคนื เมื่อใด และท่สี ําคัญจะตองมีการลงลายมือชือ่ ผูกู อายุความ การฟองรองเรียกเงินตามสัญญากูจะตองกระทําภายในกําหนดอายุ ความ ซง่ึ กฎหมายกาํ หนดไววา จะตอ งฟองภายใน 10 ปน ับแตวนั ที่ถึงกําหนดชําระเงนิ คนื 9. การหมนั้ การหมั้น หมายถึง การท่ีฝายชายตกลงกับฝายหญิงวาชายจะสมรสกับหญิงนั้น และการหมั้นจะสมบูรณตอเม่ือไดสงมอบหรือโอนทรัพยสินอันเปนของหมั้นใหแกหญิงแลว ของหม้นั คือทรัพยส นิ ทฝ่ี า ยชายสงมอบหรือโอนใหแกหญิงเพื่อเปนหลักฐานวาจะ สมรสกบั หญิง สินสอด คือทรัพยสินซ่ึงฝายชายให แกบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรมหรือ ผปู กครองฝายหญงิ แลวแตกรณี เพ่อื ตอบแทนการท่หี ญงิ ยอมสมรส

91 ผลของการหม้นั เมอ่ื มกี ารหมนั้ แลว ทาํ ใหเ กดิ สทิ ธิและหนา ทตี่ อกันคอื 1. สิทธิเรียกคาทดแทนจากคูสัญญา เมื่อมีการหม้ันแลว ถาฝายใดผิดสัญญาหม้ันอีก ฝา ยหนงึ่ มสี ทิ ธเิ รียกใหร บั ผดิ ใชค าทดแทนไดในความเสยี หาย 3 ประการตอ ไปนี้ 1.1 ทดแทนความเสียหายตอ กายหรอื ชอ่ื เสยี งแหง ชายหรอื หญิงน้ัน 1.2 ทดแทนความเสียหายเน่ืองจากการท่ีคูหม้ัน บิดามารดา หรือบุคคล ผูกระทําการในฐานะ เชน บิดามารดาไดใชจายหรือตองตกเปนลูกหนี้เน่ืองในการเตรียมการ สมรสโดยสุจรติ และตามสมควร 1.3 ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คูหมั้นไดจัดการทรัพยสินหรือการ อนื่ อนั เกี่ยวแกอาชีพหรือทางทํามาหาไดของตนไปโดยสมควรดวยการคาดหมายวาจะไดมีการ สมรส 10. การสมรส การสมรส หมายถึง การท่ีชายและหญิงสมัครใจเขามาอยูกินกันฉันสามี ภริยา ช่ัวชีวิตโดยจะไมเก่ียวของทางชูสาวกับบุคคลอ่ืนใดอีก การสมรสประกอบดวยหลักเกณฑ 4 ประการคอื 1. คูส มรสฝา ยหน่งึ จะตอ งเปน ชายและอกี ฝายจะตอ งเปน หญงิ 2. การสมรสจะตองเปนการกระทําโดยสมัครใจของชายและหญงิ หากชายหญิง ไมยนิ ยอมสมรสกัน การสมรสน้ันเปนโมฆะ 3. การอยูก ินกนั ฉนั สามภี ริยาจะตองเปน ระยะเวลาชั่วชวี ิต 4. การสมรสจะตอ งมคี สู มรสเพยี งคนเดียวเทานั้น เง่ือนไขการสมรส และผลของการสมรสทีฝ่ า ฝน เงอื่ นไขตามกฎหมาย 1. ชายและหญิงจะตอ งมีอายุ 17 ปบริบรู ณแลวทัง้ สองคน 2. ชายและหญิงจะตอ งไมเปน คนวิกลจริต หรือเปน บุคคลซ่งี ศาลสั่งใหเปน คนไร ความสามารถ 11. การปกครองบตุ ร สทิ ธิและหนา ท่รี ะหวา งบดิ ามารดากบั บตุ ร 1. บุตรมสี ิทธิไดชือ่ สกุลของบดิ าในกรณที บี่ ิดาไมป รากฏ บตุ รมีสทิ ธิใชชอ่ื สกลุ ของ มารดา

92 2. ผใู ดจะฟอ งบพุ การีของตนเปนคดีแพงหรอื คดอี าญา มไิ ด แตเ ม่ือผูนน้ั หรือญาติ สนทิ ของผูน้นั รองขอ อยั การจะยกคดขี ้ึนวากลาวก็ได 3. บุตรจาํ ตองอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา 4. บดิ ามารดาจําตองอุปการะเลยี้ งดแู ละใหก ารศกึ ษาตามสมควรแกบ ุตรใน ระหวางท่เี ปน ผเู ยาว บิดามารดาจําตอ งอปุ การะเล้ยี งดบู ุตรซึง่ บรรลนุ ติ ภิ าวะแลวแตเฉพาะ ทพุ พลภาพและหาเลยี้ งตนเองมไิ ด 5. การรอ งขอคาอปุ การะเลยี้ งบตุ รหรอื ขอใหบ ุตรไดรับการอุปการะ เล้ยี งดโู ดยประ การอ่ืน นอกจากอยั การจะยกคดขี ึ้นวา กลาวตามมาตรา 1562 แลว บดิ าหรอื มารดาจะนาํ คดขี ึน้ วากลา วกไ็ ด มาตรา 1566 บตุ รซง่ึ ยงั ไมบ รรลนุ ติ ภิ าวะตอ งอยูใตอ าํ นาจปกครองของบิดามารดา 12. การรับรองบุตร การจดทะเบียนรับรองบุตร เปนวิธีการหน่ึงที่จะทําใหบุตรนอกสมรสเปนบุตร ที่ชอบดว ยกฎหมายของบิดา เนอ่ื งจากบตุ รทีเ่ กดิ จากบดิ า และมารดาไมไ ดจ ดทะเบียนสมรสกัน จะเปน บุตรท่ชี อบดว ยกฎหมายของมารดาเทานน้ั ขั้นตอนการจดทะเบียนรับรองบุตร สามารถทําไดโดยใหบิดาเปนผูยื่นคํารอง ณ สํานกั ทะเบยี นอําเภอ หรือสํานักงานเขต แหงใดก็ได โดยนาํ หลกั ฐานคอื 1. สําเนาทะเบยี นบานฉบับเจา บา น ของบิดา มารดา และ บตุ ร 2. บตั รประจําตัวประชาชน ของบิดา มารดา สูติบตั รของบตุ ร ไปแสดง 3. พยานบคุ คลจํานวน 2 คน 13. การรับบตุ รบญุ ธรรม คณุ สมบัตขิ องผทู จ่ี ะรับบุตรบุญธรรม และผูทีจ่ ะเปน บตุ รบุญธรรม 1. ผรู ับบุตรบญุ ธรรมตองมีอายุไมต า่ํ กวา 25 ป และตองมอี ายแุ กก วา ผจู ะเปน บตุ รบุญ ธรรมอยา งนอ ย 15 ป 2. ผเู ปน บตุ รบญุ ธรรมที่มีอายไุ มตาํ่ กวา 15 ป ตอ งใหความยินยอมดวยตนเอง 3. ผเู ปนบตุ รบุญธรรมท่ีเปน ผูเยาวตอ งไดร ับความยนิ ยอมจาก บิดา และมารดา หรอื ผปู กครอง 4. ผจู ะรับบุตรบุญธรรม หรือผูจะเปน บุตรบญุ ธรรม ถา มีคูสมรสอยูตองไดร ับความ ยินยอมจากคสู มรสกอน

93 5. ผเู ยาวที่เปนบุตรบญุ ธรรมของบคุ คลใดอยจู ะเปน บุตรบญุ ธรรมของบุคคลอ่ืนอีก ในขณะเดยี วกันไมไดเวน แตเ ปนบตุ รบญุ ธรรมของคูสมรสของผูรบั บุตรบุญธรรม ข้ันตอนการปฏบิ ัติการจดทะเบียนรับเดก็ เปนบุตรบุญธรรม กรณีบุตรบุญธรรมเปน ผเู ยาว ตอ งผานขน้ั ตอนของคณะกรรมการรับเดก็ เปน บตุ รบุญธรรมกอ นโดย 1. กรณที ่ีผูขอรับเดก็ เปนบุตรบุญธรรมมภี ูมลิ ําเนาอยูใ นกรุงเทพมหานคร หรอื ตางประเทศใหย ื่นคาํ ขอพรอมหนงั สอื แสดงความยินยอมของบคุ คลผูมีอาํ นาจใหค วามยนิ ยอม ณ ศูนยอํานวยการรบั เดก็ เปน บตุ รบุญธรรม กรมประชาสงเคราะห 2. กรณีมภี ูมลิ าํ เนาอยใู นตา งจงั หวัด ใหย่นื คําขอพรอ มหนงั สือแสดงความยนิ ยอม ของบคุ คลผูมีอํานาจ ใหค วามยนิ ยอม ณ ทวี่ า การอําเภอ หรือท่ที ําการประชาสงเคราะหจังหวัด 14. การรับมรดก มรดก คือ ทรัพยสินทุกชนิดของผูตาย รวมตลอดทั้งทรัพยสินที่เปนสิทธิ หนาที่ และความรับผิดตาง ๆ ของผูตายดวย เวนแตบรรดาที่ตามกฎหมายแลว หรือโดยสภาพแลว เปน การเฉพาะตัวของผูต ายโดยแท ท้งั หมดนี้เรียกรวม ๆ วา กองมรดก ที่สําคัญทรพั ยสินท่จี ะเปน มรดกไดนั้น ตองเปนทรัพยสินที่ผูตายมีอยูในขณะที่ตาย ดวย ดงั น้นั เงนิ บํานาญซึ่งไมใ ชท รพั ยสนิ ทผ่ี ูตายมอี ยูในขณะท่ีตาย จงึ ไมเ ปน มรดกตามกฎหมาย มรดกจะตกทอดแกทายาทเม่ือเจามรดกถึงแกความตายอาจจะเปนการตายโดย เสียชีวิต หรือตายโดยผลของกฎหมาย คือ ถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญก็ได กองมรดกของ บคุ คลน้ันยอมตกทอดแกทายาทโดยสิทธิตามกฎหมาย เรียกวา ทายาทโดยธรรม มี 6 ลําดับ ดังน้ี 1. ผูสบื สันดาน ไดแ ก ลกู หลาน เหลน ลอ้ื 2. บิดามารดา 3. พน่ี อ งรวมบดิ ามารดาเดยี วกนั 4. พนี่ อ งรว มบดิ าหรือมารดาเดียวกนั 5. ปู ยา ตา ยาย 6. ลุง ปา นา อา คสู มรสทีถ่ ูกตองตามกฎหมาย และยังมีชีวิตอยู ถือเปนทายาทโดยธรรมดวย หาก เจามรดกทาํ พนิ ยั กรรมยกทรัพยใหผ ใู ดไว มรดกยอ มตกทอดแกผนู ัน้ เรียกวา ผรู บั พินยั กรรม

94 15. พินยั กรรม พินัยกรรม คือ คําสั่งครั้งสุดทาย ซ่ึงแสดงเจตนากําหนดการเผื่อตายในเรื่อง ทรพั ยส ินหรือ กจิ การตา ง ๆของผูทําพนิ ยั กรรม เพ่ือที่จะเกิดผลบังคับตามกฎหมายในเมื่อผูทํา พินยั กรรมถงึ แกความตาย โดยทําแบบใดแบบหน่งึ ที่กฎหมายกําหนดไว กฎหมายอาญา ความผดิ ทางอาญา คือ การกระทําที่มีผลกระทบกระเทือนตอสังคม รัฐจึงตองลงโทษ ผูกระทาํ ผิด โดยมีหลักสําคัญ คือ การกระทํานั้นตองมีกฎหมายกําหนดไวชัดแจง โทษท่ีลงตองเปน โทษท่กี ฎหมายกาํ หนดไว กฎหมายตองไมมีผลยอ นหลัง โทษอาญาทีใ่ ชลงแกผ ูก ระทําผิดมี 5 ประการ เทา น้ัน คือ 1) ประหารชวี ติ 2) จาํ คุก 3) กกั ขงั 4) ปรบั 5) ริบทรัพยสิน ความรับผิดทางอาญา ผูกระทําการท่ีกฎหมายกําหนดวาเปนความผิดจะตองรับ ผดิ ทางอาญาเม่อื ไดกระทําโดยเจตนาเทาน้ัน เวน แตมีกฎหมายกําหนดไววาแมไมไดกระทําโดย เจตนาก็เปนความผิด เชน การกระทําโดยประมาท การกระทําความผิดลหุโทษ ผูกระทําการ ที่กฎหมายกําหนดวาเปนความผิดจะแกตัววาไมรูกฎหมายไมได เวนแตศาลเห็นวามีเหตุผล สมควร ขอยกเวนที่ไมตองรับผิดในทางอาญา เหตุยกเวนความผิด ถือวาผูกระทําไมมี ความผิดอาญาเลย เชน การปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย ผูเสียหายยินยอมใหกระทํา มีกฎหมายประเพณี มีกฎหมายอ่ืนใหอํานาจกระทําได เหตุยกเวนโทษทางอาญา ถือวายังเปน ความผิดอยูแ ตผูกระทําไมตองรบั โทษทางอาญา 1. การกระทําความผดิ ดวยความจาํ เปน 2. การกระทาํ ความผิดเพราะความบกพรอ งทางจติ 3. การกระทาํ ความผดิ เพราะความมึนเมา 4. การกระทําตามคาํ ส่งั ของเจา พนักงาน 5. สามี ภริยา กระทําความผดิ ตอ กันในเรื่องทรัพย 6. เด็กอายไุ มเกนิ 14 ป กระทาํ ความผดิ เหตลุ ดหยอ นโทษ เปน เหตทุ ี่ศาลอาจลงโทษสถานเบาได 1. ศาลเชื่อวาบคุ คลนัน้ ไมร ูกฎหมาย 2. การกระทาํ โดยบนั ดาลโทสะ 3. บุพการกี บั ผูสืบสนั ดาน หรือพี่นองทก่ี ารกระทําความผดิ เกี่ยวกบั ทรพั ย

95 เด็กและเยาวชนกระทาํ ความผิด เด็กและเยาวชนท่ีกระทําความผิดอาจกระทําไปเพราะขาดความสํานึกเทาผูใหญ โทษสาํ หรับเด็กจงึ ตอ งแตกตางกับผใู หญโดยแบงออก เปน 4 ระดับ คือ 1. อายุไมเ กนิ 7 ป ไมตองรับโทษ 2. อายกุ วา 7 ป แตไมเ กิน 17 ป ไมตอ งรับโทษ แตศาลอาจวากลา วตกั เตือนและ วางขอ กําหนดใหบ ิดามารดาปฏบิ ตั หิ รือสงตัวเดก็ ไปใหหนวยงานของรัฐ (บา นเมตตา) ดแู ล อบรม สั่งสอนจนอายุครบ 18 ป 3. อายกุ วา 14 ป แตไมเกิน 17 ป อาจใชวิธกี ารดังกลา วขา งตนหรอื ลงโทษ เชน เดยี วกบั ผูใหญแตลดมาตราสวนโทษลงกงึ่ หนึง่ 4. อายกุ วา 17 ป แตไ มเกิน 20 ป ลงโทษเชน เดียวกับผูใหญแ ตลดมาตราสว นโทษ ลง 1 ใน 3 หรือ ก่งึ หนึ่ง เหตุบรรเทาโทษ เพิม่ โทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ เหตุบรรเทาโทษ เปนการกําหนดโทษใหเหมาะสมกับแตละบุคคลเพื่อใหโอกาส ผูกระทาํ ความผดิ ไดมีโอกาสกลับตัวเปนพลเมืองดมี ีหลกั คอื ใชห ลังจากที่เพ่ิมโทษแลว เปนดุลย พินิจของศาล ลดไดไมเกินกึ่งหนึ่งของโทษท่ีจะลง เหตุบรรเทาโทษ ไดแก เปนผูโฉดเขลาเบา ปญญา อยูในความทุกขอยางสาหัส มีคุณความดีมากอน รูสึกความผิดและพยายามบรรเทา ผลราย หรือใหความรูแกศาลอันเปนประโยชนแกการพิจารณา หรือมีเหตุอ่ืนๆท่ีสมควร เหตุ เพ่ิมโทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ เปนการกําหนดโทษใหเหมาะสมกับแตละบุคคลเพ่ือ ปอ งกนั สังคม และแกไขผกู ระทาํ ผิดใหก ลบั ตนเปนพลเมืองดีและกลับเขา อยใู นสังคมไดต อไป การพยายามกระทําความผิด คือการกระทําความผิดที่พนขั้นตอนการลงมือ กระทาํ ความผิดแลว แตก ระทาํ ความผดิ น้ันไมบรรลุผล ตามที่ตองการมี 2 กรณี คือ กระทําการ ไปไมต ลอดจนความผดิ สําเร็จซึ่งอาจเกิดจากการสมัครใจเองหรือถูกขัดขวางจากภายนอกก็ได ไดกระทําไปตลอดแลวแตการกระทํานั้นไมบรรลุผลตามที่ตองการ ผูท่ีพยามกระทําความผิด ตอ งรับโทษ 2 ใน 3 สว น ของโทษสําหรบั ความผิดนั้น การรวมกันกระทําความผิด การรวมกันกระทําความผิดหรือท่ีเรียกกันวา “ตัวการ” คือ การท่ีบุคคลตั้งแตสองคน ขึ้นไปตกลงใจรวมกันท่ีจะกระทําความผิดเดียวกัน ซ่ึงอาจมีการแบงหนาที่กันทําเพ่ือหวังผลในการกระทําความผิดน้ัน ทุกคนตองรับโทษสําหรับ

96 ความผดิ นน้ั การกอ ใหผ ูอ นื่ กระทําความผดิ การกอ ใหผูอืน่ กระทาํ ความผิดหรอื ทีเ่ รียกวา “ผูใช” คือ การท่ีทําใหผูอ่ืนกระทําความผิดไมวาจะเปนการบังคับ ขูเข็ญ จางวาน ยุยงสงเสริม หรือ ดวยวิธีการใด ทุกคนตองรับโทษสําหรับความผิดน้ัน แตถาผูถูกใชมิไดกระทําตามท่ีถูกใช ผูใช ตองรับโทษเพยี ง 1 ใน 3 การสนบั สนนุ การกระทําความผิด การสนบั สนุนการกระทําความผดิ คอื การทเ่ี ขา ไปมีสวนในการกระทําความผิดท่ียังไมเปนตัวการแตเขาไปชวยเหลือใหความสะดวกกอนหรือ ขณะกระทําความผดิ ตอ งรับโทษ 2 ใน 3 อายคุ วาม อายคุ วาม เปนระยะเวลาทก่ี ฎหมายกําหนดไวเพ่ือมิใหผูกระทําผิดตองมีชนักติดหลังไป ตลอดชวี ิตและเปนการที่เรงรดั คดีใหไดต ัวผกู ระทําความผิด อายคุ วามมี 3 ประเภท คอื 1. อายคุ วามฟอ งคดีทว่ั ไป มี 5 ระดบั คือ 1.1 20 ป สําหรบั ความผิดที่มีระวางโทษประหารชวี ิต จําคกุ ตลอดชวี ิตหรอื จําคกุ 20 ป 1.2 15 ป สาํ หรบั ความผิดทม่ี ีระวางโทษจาํ คกุ กวา 7 ป แตย งั ไมถึง 20 ป 1.3 10 ป สาํ หรบั ความผดิ ท่มี รี ะวางโทษจาํ คุกกวา 1 ป ถงึ 7 ป 1.4 5 ป สาํ หรับความผดิ ที่มรี ะวางโทษจําคุกกวา 1 เดอื น ถึง 1 ป 1.5 1 ป สําหรับความผดิ ทมี่ รี ะวางโทษจาํ คกุ ต้ังแต 1 เดือนลงมา หรือตอ ง ระวางโทษอยางอ่ืน 2. อายุความฟองคดคี วามผดิ อันยอมความได นอกจากถือตามอายุความฟองคดที ่ัวไป แลว ยังตองรองทุกขภ ายใน 3 เดอื น นบั แตว ันทร่ี ูเ รอื่ งและรตู วั ผูกระทําความผิดดวย 3. อายุความฟองขอใหกักกัน จะฟอ งไปพรอมกบั การฟองคดีอนั เปนเหตุท่ีขอให กกั กันหรอื อยา งชาภายใน 6 เดอื นนับแตวันทฟ่ี องคดีดังกลา ว ความผิดตอแผน ดนิ และความผิดตอ สว นตวั ความผิดตอ แผน ดิน คือ ความผิดทีม่ ผี ลกระทบตอ ผูท่ีถูกกระทําแลวยังมีผลกระทบ ตอสังคม รัฐจงึ ตองเขา ดาํ เนินการเอาตัวผูกระทําผิดมาลงโทษใหไดแมผูที่ถูกกระทําจะไมติดใจ เอาความกับผูกระทาํ ผดิ ตอไปแลวก็ตามเพือ่ ปอ งกนั สงั คม

97 ความผิดตอสวนตัว คือ ความผิดท่ีมีผลกระทบตอผูที่ถูกกระทํา แตไมมีผลกระทบ ตอสงั คมโดยตรง ดังนัน้ เมอ่ื ผูทถ่ี ูกกระทาํ จะไมติดใจเอาความกับผูกระทําผิดตอไปแลว รัฐก็ไม จําตอ งเขาไปดาํ เนนิ คดีกบั ผูก ระทําความผิดอีกตอ ไป เรื่องท่ี 5 การปฏิบัติตนใหสอดคลองตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและการสนับสนุน สงเสรมิ ใหผ อู ่นื ปฏิบัติ การปกครองระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองท่ีหลักการยึดมั่นในความเสมอ ภาคและเสรีภาพของบุคคล เปนการปกครองที่ยึดหลักกฎหมาย จึงจําเปนที่จะตองมี รัฐธรรมนูญกําหนดกฎเกณฑและมาตรการตางๆ เพ่ือเปนส่ิงประกันหลักการ วิธีการและ เปาหมายของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพ่ือใหเปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชนและเพอ่ื ประชาชนอยางแทจ รงิ ดงั นัน้ สงั คมหน่งึ สงั คมใดจะอางวามีการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยไมไ ดถ า ไมย อมรับและใหหลกั ประกันในความสําคัญของสิทธิและเสรีภาพ บุคคล สิทธิ คือ อํานาจหรือประโยชนซึ่งกฎหมายรับรองและปองกันใหอํานาจอันชอบ ธรรม เสรีภาพ คอื สทิ ธิทจี่ ะทาํ และพูดไดโ ดยไมล ะเมิดกฎหมายและสิทธขิ องผอู ่ืน การใช สทิ ธิภายในขอบเขตของกฎหมาย การใชส ิทธภิ ายในขอบเขตของกฎหมาย คอื อํานาจอนั ชอบธรรมหรือความสามารถ ทจ่ี ะกระทําไดโดยชอบธรรม สทิ ธิของบุคคลหรือกลมุ บคุ คล เปน สงิ่ ท่ไี ดรับการยอมรับโดยธรรม เนียมประเพณีหรือกฎหมาย เพราะฉะน้ันอํานาจอ่ืนๆ แมกระทั่งอํานาจของรัฐจะกาวกายใน สิทธิของบุคคลไมได ถาสิทธิของบุคคลใด บุคคลหน่ึงถูก กาวกายโดยบุคคลหรือนิติบุคคล หรอื เจาหนา ท่ขี องรฐั เขาผูน้นั สามารถท่จี ะรองขอความยุตธิ รรมจากศาลได สิทธิของประชาชน อาจจําแนกได ดังน้ี 1. สิทธิสวนบุคคล สิทธิมูลฐานที่ถือเปนสิทธิสวนบุคคลมีหลายประการ เชน เสรีภาพในรางกาย การไปไหนมาไหน การเลือกประกอบอาชีพ การนับถือศาสนา นอกจากน้ี การสมรส การหยารา ง ความสมั พนั ธในครอบครัว เหลา น้ีลวนเปนสิทธิสวนบุคคลท้ังส้ิน บุคคล ทกุ คนยอ มมเี สรภี าพตราบเทาทีไ่ มขัดกฎหมาย

98 2. สิทธิในทรัพยสิน บุคคลทุกคนมีสิทธิจะมีสมบัติเปนของตนเอง รัฐจะตองทํา หนาท่ีปองกันภัยอันจะเกิดตอทรัพยสินของประชาชนในรัฐดวย สิทธิของบุคคลเก่ียวกับ ทรัพยสินน้ี ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 15 วรรค 2 บัญญัติวา “ทารกใน ครรภมารดา ก็สามารถจะมีสิทธิตาง ๆ ไดหากวาภายหลังเกิดมาแลวอยูรอด” หมายความวา แมแ ตท ารกท่อี ยูในครรภมารดาก็มีสทิ ธิในทรัพยสินหรือในมรดก ถาหากวาหลังจากที่ทารกนั้น เกดิ มาแลวยงั มีชีวิตอยู 3. สทิ ธิท่ีจะไดรบั การคมุ ครองตามกฎหมาย หากบุคคลใดตกเปนผูตองหา ไมวาจะ เปนคดีแพง หรืออาญา บุคคลนั้นไดร บั สิทธิท่ีจะไดรบั ทราบขอ หาจากเจาหนาที่ของรัฐรวมตลอด ถึงการไดร บั สทิ ธทิ ี่จะสามารถกระทําได เชน ขอพบทนายเพ่ือรับคําปรึกษาหรือผลัดการใหการ ท่ีสําคัญที่สุดคือ บุคคลจะตองไมถูกลงโทษถึงแกชีวิต เสียอิสรภาพ หรือเสียทรัพยสิน โดยปราศจากการพจิ ารณาตามกระบวนการของกฎหมาย 4. สิทธใิ นทางการเมอื ง หมายถงึ ประโยชนในทางการเมืองท่ีกฎหมายใหแกบุคคล ผมู ีสญั ชาติไทย เชน ประชาชนทุกคนเมื่ออายุครบ 18 ปบริบูรณข้ึนไปมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และเมือ่ มีอายุครบ 25 ป กม็ สี ทิ ธสิ มคั รรับเลอื กต้งั เปน ตน ความเปนอยูของประชาชนในปจจบุ นั ยอมเกี่ยวพนั กับสทิ ธินานาประการ ทงั้ สทิ ธขิ องตนเอง และสิทธิของผูอื่น การท่ีสังคมสับสนวุนวาย มีคดีแพงและคดีอาญาเกิดข้ึน มากมาย เพราะมีการละเมิดสิทธิของผูอื่น ถาทุกคนไดรูจักสิทธิของตนเองภายในขอบเขตของ กฎหมายแลว สงั คมทกุ วนั นก้ี ็คงไมสบั สนวุน วาย สิทธิของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ในกฎหมายรัฐธรรมนูญไดให หลักประกันในสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลไว เพื่อใหทุกคนรูสิทธิของตน ตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย ฉบับ พ.ศ. 2541 ไดกําหนดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยไว ดงั ตอ ไปนี้ 1. บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย และไดรบั การคุมครองเทาเทียมกัน คนยากจน หรือคนมเี งินเม่อื ไดก ระทําความผิดแลว ยอ มไมไดร บั การยกเวน กฎหมายยอ มลงโทษเทาเทียมกัน 2. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา นิกายศาสนาหรือลัทธินิยม ในทาง ศาสนาและยอมมเี สรภี าพในการปฏบิ ตั ิพิธกี รรมตามความเช่อื ถือของตน เม่ือไมเปนปฏิปกษตอ หนาทข่ี องพลเมอื งและไมข ัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ในการใช เสรภี าพดังกลา ว บคุ คลยอ มไดรบั ความคมุ ครองมิใหร ัฐกระทําการใดๆ อนั เปน การรอนสิทธิหรือ

99 เสียประโยชนอันควรมิควรได เพราะเหตุที่นับถือศาสนานิกายศาสนา หรือลัทธินิยมในทาง ศาสนา หรอื ปฏิบตั ิพิธีกรรมตามความเชอ่ื ถือแตกตา งจากบุคคลอนื่ 3. บุคคลจะตองไมรับโทษอาญา เวนแตจะไดกระทําการอันผิดกฎหมายซึ่งอยูใน เวลาที่การกระทาํ นน้ั บญั ญตั ิเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษลงที่จะลงแกบุคคลนั้นจะ หนกั กวาโทษท่ีกาํ หนดไวในกฎหมาย ซงึ่ ใชอ ยูในเวลาที่กระทาํ ความผดิ นั้นมิได 4. ในคดอี าญา ใหส ันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิด ความผิด ในคดอี าญาจะตองมีหลักฐานพสิ ูจนใหแ นช ดั ถามีหลักฐาน ถือวาบุคคลน้ันไมมีความผิด ดังนั้น กอนทจี่ ะมีคําพิพากษาอันถึงท่ีสดุ แสดงวาบคุ คลใดแสดงความผดิ จะปฏบิ ตั ติ อ บุคคลน้ันเสมือน ผูกระทําผิดมิได 5. บุคคลยอมมีเสรภี าพในรา งกาย การจับกุม คุมขัง หรือตรวจคนตัวบุคคล ไมวา กรณีใดๆจะกระทาํ มไิ ด เวน แตโ ดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติตามกฎหมาย เชน มีหมายศาล ยืนยนั ระบุไว เปนตน 6. ในกรณีที่ผูตองหาหรือจําเลย ในคดีอาญาเปนผูยากไร ไมมีทุนทรัพยพอ จะจัดหาทนายความสําหรับตนเองได บุคคลดังกลาวยอมมีสิทธิที่จะรับการชวยเหลือ จากรัฐ ตามท่กี ฎหมายบญั ญัติ เชน ใหอัยการเปน ทนายแกตา งให 7. บคุ คลใดตอ งรบั โทษอาญาโดยคําพิพากษาของศาลถึงท่ีสุด หากปรากฎตามคํา พิพากษาของศาลท่ีร้ือฟนคดีขึ้นมาพิจารณาใหมในภายหลังวา บุคคลน้ันมิไดเปนผูกระทําผิด ยอ มมสี ิทธทิ ี่จะไดร บั การทดแทนและไดรบั บรรดาสทิ ธทิ ่เี สียไป เพราะผลแหงคําพิพากษาน้ันคนื 8. การเกณฑแรงงาน เวน แตโ ดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะ เพื่อประโยชนทางภัยพิบัติสาธารณะอันมีมาเปนการฉุกเฉิน หรืออาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ แหงกฎหมาย ซ่ึงบัญญัติใหกระทําไดในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการรบหรือการ สงครามหรือในระหวา งเวลาทมี่ ปี ระกาศสถานการณฉ ุกเฉนิ หรอื ประกาศใหใชอยั การศกึ 9. บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหะสถาน ยอมไดรับความคุมครองในการท่ีจะอยู อาศัยและครอบครองเคหะสถานโดยปกติสุข การเขาไปในเคหะสถานโดยปราศจากความ ยินยอมของผูครอบครองก็ดี การตรวจคนเคหะสถานก็ดี จะกระทํามิเวนแตโดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัตติ ามกฎหมาย 10. สิทธิของบุคคลในทรพั ยส ินยอมไดรบั ความคุมครอง ขอบเขตแหงสิทธิและการ กําจัดสิทธิเชนวานี้ ยอมเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย การสืบมรดกยอมไดรับความ

100 คุมครองสิทธิของบุคคลในการสืบมรดกยอมเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย การเวนคืน อสงั หาริมทรพั ยจ ะกระทํามิได เวน แตโ ดยอาศัยอาํ นาจตามบทบัญญตั แิ หง กฎหมายเฉพาะ เพื่อการอันเปนสาธารณูปโภค หรือการอันจําเปนในการปองกันประเทศหรือการไดมาซ่ึง ทรัพยากรธรรมชาติ หรอื เพื่อการผงั เมือง หรือเพ่ือการพัฒนาการเกษตรหรือการอุตสาหกรรม หรอื เพ่อื การปฏริ ปู ทดี่ ี หรือเพอ่ื ประโยชนสาธารณะอื่นๆ และตองชดใชคาทดแทนภายในเวลา อันควรของเจา ของ ตลอดจนผูท รงสิทธิบรรดาท่ีไดรับการเสียหายในการเวนคืนนั้น ท้ังนี้ตามที่ ระบไุ วใ นกฎหมาย 11. บคุ คลยอมมเี สรีภาพในการพดู การเขียน การพิมพ และการโฆษณา การจํากดั เสรภี าพเชนวานี้ จะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพอื่ รักษาความม่ันคงของรัฐ หรือเพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพ เกียรติยศ หรือชื่อเสียงของ บุคคลอน่ื หรือเพอ่ื รักษาความสงบเรยี บรอย หรอื ศลี ธรรมอันดีของประชาชนหรือ เพ่ือปองกัน หรือระงับความเสอ่ื มโทรมทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน 12. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการฝกอบรมเมื่อไมขัดตอหนาท่ีของพลเมืองตาม รัฐธรรมนูญ และไมขัดตอกฎหมายวาดวยการศึกษาภาคบังคับ และกฎหมายวาดวยการจัดตั้ง สถานศึกษา 13. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบหรือปราศจากอาวุธ การจํากัด เสรภี าพเชนวาน้ีจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะใน กรณี การชมุ นุมสาธารณะและเพอ่ื รักษาความสงบเรียบรอ ย ในระหวางเวลาที่ในประเทศอยูใน ภาวะการรบหรือการสงคราม หรือในระหวางเวลาท่ีมีการประกาศสถานการณฉุกเฉินหรือ ประกาศใชก ฎอยั การศกึ 14. บคุ คลยอมมีเสรีภาพในการรวมกนั เปนสมาคม สหภาพ สหพันธ สหกรณหรือ หมคู ณะอ่ืนๆ การรวมกนั การจดั ตั้งการดาํ เนนิ กจิ การและการเลิกของสมาคม สหภาพ สหพันธ สหกรณ หรอื หมูค ณะอน่ื ๆ ยอ มเปน ไปตามบทบญั ญัตแิ หง กฎหมาย 15. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันเปนพรรคการเมืองเพ่ือดําเนินการในทาง การเมืองตามวิถีทางปกครองระบอบประชาธปิ ไตยทบี่ ญั ญตั ิไวใ นรฐั ธรรมนูญน้ี การรวมกันเปน การจัดตั้ง การดําเนินกิจการและการเลิกพรรคการเมือง ยอมเปนไปตามบทบัญญัติแหง กฎหมายวาดวยพรรคการเมอื ง ยอมไปตามบัญญัตแิ หง กฎหมายวา ดวยพรรคการเมอื ง

101 16. บคุ คลยอ มมีเสรภี าพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบดวยกฎหมายการตรวจ การกักหรือการเปดเผยสิ่งสื่อสารที่บุคคลที่ติดตอถึงกัน รวมท้ังการกระทําดวยประการอื่นใด เพื่อใหรูถงึ ขอ ความในสิ่งทส่ี ื่อสารท้งั หลายท่ีบุคคลมีตดิ ตอ ถึงกันจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัย อาํ นาจบทบญั ญตั ิแหงกฎหมายเฉพาะ เพอื่ รักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีงามของ ประชาชน หรอื เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ 17. บคุ คลยอมมีเสรใี นการเดินทาง และเสรภี าพในการเลือกถิ่นที่อยูภายในราชอา ราชจักร การจํากัดเสรีภาพเชนวาน้ีจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจบทบัญญัติแหง กฎหมายเฉพาะ เพื่อความม่ันคงของรัฐ หรอื ความสงบเรียบรอยของประชาชน หรือสวัสดิภาพ ของประชาชน หรือการผังเมือง หรือเพื่อสวัสดิภาพของผูเยาว การเนรเทศบุคคลผูมีสัญชาติ ออกนอกราชอาณาจักร หรือหามมิใหบุคคลผูมีสัญชาติไทยเขามาในราชอาณาจักรจะกระทํา มิได 18. สิทธบิ คุ คลในครอบครัวยอมไดร ับความคมุ ครอง 19. บุคคลยอมมสี ิทธเิ สนอเร่ืองราวอันรอ งทุกข ภายในเงื่อนไขและวิธที าง ทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ 20. สทิ ธิบคุ คลที่จะฟอ งหนว ยราชการ ซ่ึงเปนนิติบุคคลใหรับผิด เพื่อการ กระทํา ของเจาพนกั งาน ยอ มไดร บั ความคมุ ครอง 21. บุคคลซ่ึงเปนทหาร ตํารวจ ขาราชการ พนักงานสวนทองถ่ินและพนักงาน องคกรของรฐั ยอมมีสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกับประชาชนพลเมืองเวนแตท่ี จํากัดในกฎหมายหรือกฎ หรือขอบังคับท่ีออกโดยอาศัยอํานาจกฎหมาย เฉพาะในสวนท่ี เกย่ี วกบั การเมือง สมรรถภาพหรือวินัย 22. บุคคลจะใชสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญใหเปนปฏิปกษตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และรฐั ธรรมนญู มไิ ด หนาที่ของประชาชนชาวไทย หนาที่ คือ พันธะหรือความผูกพันที่กฎหมายกําหนดใหกระทํา หรืองดเวนไม กระทาํ อยางใดอยางหนง่ึ การที่จะถอื วา เปนหนาทน่ี นั้ ตองมีกฎหมายบงั คบั ใหกระทําหรืองดเวน ไมกระทาํ ถา ไมมีกฎหมายบงั คับกไ็ มถือเปน หนาที่ บคุ คลเรานอกจากจะเปนสมาชิกคนหน่ึงของ ครอบครัวแลว เรายังเปนสมาชิกคนหนึ่งของสังคมและประเทศชาติ ฉะน้ันเราจึงจําเปนตองมี

102 บทบาทและหนา ทพ่ี ึงปฏบิ ัติตอประเทศชาติท้ังนี้เพื่อความอยูรอดของประเทศชาติและเพื่อตัว เราเองดว ย ดงั น้ี 1. ตอ งจงรักภัคดีและรกั ษาไวซ่งึ สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนสถาบันสูงบสุดของชาติ เปนที่เคารพสักการบูชาของประชาชน ชาวไทยทกุ คน 2. ตองรักษาไวซ่ึงการปกครองระบบประชาธิปไตย ประเทศไทยปกครองโดย ระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมีพระมหากษัตริยเปน ประมขุ และมรี ฐั ธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสุดของ ประเทศไทย ประชาชนทุกคนจึงตองมีหนาท่ีของคนไทยทุกคนที่จะตองดํารงรักษาไวซึ่งการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย 3. ตองชวยกันปองกันประเทศ ประเทศชาติเปนของประชาชนชาวไทยทุกคน ดงั นั้นในฐานะท่ีเราเปนสวนหนึ่งของประเทศ จึงตองมีหนาที่รักษาไวซ่ึงความเปนเอกราชและ ความมน่ั คงของชาตโิ ดยการปอ งกันประเทศชาตใิ หพ น จากภัยอันตรายตางๆ ซ่ึงเกิดจากศัตรูท้ัง ภายในและภายนอกประเทศ เมื่อมีเหตุรายข้ึนภายในประเทศ ตางก็ตองชวยกันปองกันและ ปราบปรามใหความรวมมือกับเจาหนาท่ีของบานเมืองอยางเต็มท่ี โดยเฉพาะอยางย่ิงเปนงาน โดยตรงทชี่ ายไทยทุกคนจะตองเขา รบั ราชการทหาร 4. ตอ งปฏิบตั ิตามกฎหมายบานเมืองอยางเครงครัด กฎหมายบานเมือง หมายถึง กติกาหรือระเบียบกฎเกณฑที่วางไวใหประชาชนทุกคนปฏิบัติ เพ่ือความสงบเรียบรอยของ บานเมืองในการปกครองระบอบประชาธิปไตยไดกําหนดใหประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการ พิจารณาเห็นชอบและกําหนดกฎหมายขึ้นใชในประเทศ โดยการเลือกต้ังผูแทนของตนเพ่ือไป ปฏบิ ตั ิหนาทีอ่ อกกฎหมายในสภานิติบญั ญัติ จึงเทากับวาประชาชนทุกคนรวมกันตรากฎหมาย ออกมาใชรวมกัน ประชาชนทุกคนจึงควรปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัดเพ่ือความสงบ เรียบรอ ยและความผาสกุ รวมกัน 5. ตองใหค วามรว มมอื ชวยเหลือแกทางราชการ เจาหนาที่เปนตัวแทนของรัฐบาล ในการที่จะใหบริการแกประชาชนและปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายของบานเมือง ชวยเปนหู เปนตา แกเ จา หนาท่ีบานเมอื ง เพ่ือชวยกันปราบปรามโจรผูราย หรือผูเปนภัยตอความสงบสุข ตอ บานเมอื ง 6. ตองเสียภาษีอากรตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว ประเทศชาติจะรุงเรืองและ ประชาชนจะมีความสงบสขุ อยไู ด ก็ตองอาศัยการบรหิ ารราชการแผนดินของรัฐบาล เปนหนาท่ี

103 สําคัญที่ประชาชนชาวไทยจะตองชวยเหลือกันเสียภาษีอากร เพ่ือเราจะไดมีกําลังทหารไว ปอ งกันเอกราชของชาติ มถี นนหนทางดีๆ ไวใ ช มโี รงเรยี นใหลูกหลานไดศึกษาเลา เรยี น มีโรงพยาบาลสาํ หรบั รักษาเมอ่ื เราเจบ็ ไขไดปว ย เปนตน การสนบั สนุนใหผูอ นื่ ปฎบิ ตั ิตามรัฐธรรมนูญ ประชาชนควรปฏิบัติตน และสงเสริมใหผูอื่นปฏิบัติตนใหสอดคลองกับบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญ โดยปฏิบัติและสงเสริมใหผูอ่ืนปฏิบัติตามสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของ ประชาชนชาวไทย 1. ประชาชนตองตระหนักถึงความสําคัญของรัฐธรรมนูญวา รัฐธรรมนูญเปน แมบ ทของกฎหมาย เปน กฎหมายสงู สดุ ท่กี ฎหมายอ่ืนจะขัดแยงไมไ ด 2. ประชาชนจะตองมีจิตสํานึกในหนาท่ีของคนไทยทุกคนท่ีจะตองรู และปฏิบัติ ตามกฎหมาย โดยเฉพาะตอ งรกู ฎหมายรฐั ธรรมนญู เปนเบ้ืองตน 3. ประชาชนจะตอ งมีหนาทใี่ นการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐของบุคคลฝายตางๆ วามีการดาํ เนนิ การถูกตองตามบทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนูญหรือไม ถาไมถูกตองสามารถรองทุกข ตอองคก รท่มี ีอํานาจตรวจสอบตามรัฐธรรมนญู ได 4. ประชาชนจะตองมีความกลา หาญในทางจริยธรรม การมีสวนรวมทางการเมือง การปกครองในรูปแบบตางๆ ท่ีรัฐธรรมนูญบัญญัติไว เชน การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นใน การศกึ ษา การรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ การสงเสรมิ ภูมปิ ญ ญาทองถิ่น เปน ตน 5. การรูจักใชส ทิ ธิของตน และเสนอแนะใหผูอื่นใชสิทธิเลือกตั้ง สิทธิในการกอตั้ง การรัฐประหาร การปอ งกนั การซือ้ สิทธขิ ายเสียง สิทธิในการเขาชื่อกันไมนอยกวา 50,000 คน เพื่อขอใหม ีการถอดถอนผูดํารงคต ําแหนงระดบั รัฐ เปน ตน 6. ประชาชนตองรูจักใชวิจารณญาณในการสนับสนุนคนดีใหเปนตัวแทนของ ประชาชน เขา ไปทาํ หนาท่ีในรฐั สภา หรอื เปน คณะรฐั มนตรี เพ่อื บริหารประเทศใหก าวหนา

104 เรื่องที่ 6 หลกั สิทธิมนษุ ยชนและบทบาทหนา ที่ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการสทิ ธิ์ ความหมายของสทิ ธมิ นษุ ยชน 1. สิทธิมุนษยชน สทิ ธิมนุ ษยชน (Human Right) หมายถงึ สทิ ธิมุนษยทุกคนเกิดมามีความเทาเทียม กันมีศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย มีอิสรภาพ เสรีภาพ ท้ังความคิดและการกระทําที่ไมมีใคร สามารถลวงละเมิดไดโดยไดรับการคุมครองและไดรับความเปนธรรมจากรัฐและผูปกครองรัฐ ท้ังเร่ืองการไดรับความชวยเหลือในการดํารงชีวิตและการบริโภคทรัพยากรของชาติอยางเทา เทยี มกนั 2. ศักดศิ์ รคี วามเปน มุนษย ศักด์ิศรีความเปนมุนษย (Human Dignity) หมายถึง คณุ สมบัติ จิตใจ สทิ ธิ เฉพาะตวั ท่ีพ่งึ สงวนของมนษุ ยทุกคนและรักษาไวมใิ หบคุ คลอน่ื ละเมดิ ได การถูกละเมิดศกั ดิศ์ รี ความเปนมนษุ ยจงึ เปน สิง่ ทีต่ องไดร บั การคุมครองและไดรบั ความยุตธิ รรมจากรัฐ 3. สทิ ธิมนษุ ยช นตามพระราชบญั ญตั ิสิทธิมนษุ ยชนแหง ชาติ พ.ศ.2542 สิทธมิ นุษยชนตามพระราชบัญญตั ิสิทธิมนุษยช นแหงชาติ พ.ศ.2542 หมายถึง ศกั ดิ์ศรีความเปน มนุษย สิทธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคของบคุ คลทไี่ ดร บั การคมุ ครองตาม รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย 4. สาเหตทุ ีม่ นษุ ยต อ งไดรบั ความคมุ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน เกดิ จาก 1. มนษุ ยท ุกคนเกดิ มาแลว ยอมมีสิทธใิ นตัวเอง 2. มนษุ ยเปน สตั วส งั คม 3. มนุษยมเี กียรติภมู ิทเี่ กิดมาเปน มนุษย 4. มนษุ ยท ุกคนเกิดมามฐี านะไมเทา เทยี มกัน

105 เรื่องที่ 7 กฎหมายระหวา งประเทศท่วี าดว ยการคุมครองสทิ ธดิ านบุคคล ปฏญิ ญาสากลวา ดวยการคุมครองสิทธมิ นุษยชนแหงสหประชาชาติ (ค.ศ.1948) ปฏิญญาสากลวาการคุมครองสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ (ค.ศ. 1948) เปนเอกสารรับรองสิทธิมนุษยชนท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือมาตรฐาน เพ่ือมวลสมาชิกขององคการ สหประชาชาติ (ซึ่งไทยก็เปนหนึ่งในสมาชิก) ไดยึดถือเปนกรอบแนวทางสําหรับการคุมครอง สทิ ธิมนุษยชนในประเทศตนและสงั คมโลก อันประกอบดวยคําปรารภและรายละเอียดของสิทธิ ประเภทตา งๆ ท่ีสาํ คัญดังนี้ การคมุ ครองสิทธิ 1. การคุม ครองสิทธติ ามธรรมชาตขิ องบคุ คล 1.1 ความเทา เทียมกนั 1.2 การไมเลือกปฏบิ ัตติ อบคุ คลโดยไมเปน ธรรม 1.3 การคุมครองชวี ิตและรางกาย 1.4 การไมถ กู บังคับเปน ทาส 1.5 การไดร ับสัญชาติและการเปนพลเมือง 1.6 สทิ ธิสมรสและครอบครัว 2. การคมุ ครองสทิ ธขิ องบุคคลจะไดร บั ประโยชนจากรัฐ 2.1 การศึกษาและการใชช วี ติ อยูรวมกับบุคคลอ่ืน 2.2 การพักผอ นจากการทํางาน 2.3 การรกั ษาพยาบาลเม่ือเจบ็ ปว ย 2.4 มีงานทาํ และไดร ับคาจา งเปน ธรรม 2.5 มาตรฐานการครองชพี ทดี่ ี 2.6 สิทธิทจี่ ะไดรบั การดแู ลจากรฐั ในบคุ คลทุกวัย 2.7 สิทธิดานนนั ทนาการ ศิลปะ ดนตรี และกีฬา 3. การคมุ ครองสิทธิของบุคคลดานกระบวนการยตุ ิธรรม 3.1 ความเทาเทยี มกนั ทางกฏหมาย 3.2 ผถู กู กลา วหาวา กระทําความผิดทางอาญา จะตอ งสันนิษฐานไวก อนวา เปน ผบู ริสุทธ์ิ 3.3 การจับกมุ ขงั ใหเ สียอสิ รภาพ หรือถูกเนรเทศโดยพลการไมไ ด

106 3.4 กฎหมายคุมครองการละเมิดสิทธสิ วนบุคคลไมได 3.5 การพจิ ารณาพพิ ากษาคดอี ยางเปนธรรม 4. การคมุ ครองดา นเสรีภาพ 4.1 การนบั ถือศาสนา 4.2 การแสดงความคดิ เห็น 4.3 การเดนิ ทางและเลือกถน่ิ ทอี่ ยอู าศัย 4.4 การรวมกลุมและทํางานดว ยกันอยางสงบสุข องคกรระหวา งประเทศทเ่ี ก่ียวขอ งสทิ ธมิ นุษยชนโลก 1. คณะรฐั มนตรีเศรษฐกจิ และสังคมแหงสหประชาชาติ 1.1 ใหคําแนะนาํ ตอ สมชั ชาสหประชาชาติ ภาคสี มาชกิ และองคก รชํานาญ พเิ ศษตา งๆ เพอ่ื สง เสริมและปฏิบตั ิตามหลกั การสทิ ธมิ นุษยชน 1.2 จัดตงั้ คณะกรรมาธิการตา งๆ เพอื่ ทําหนาทีส่ ง เสรมิ ในเรือ่ งสทิ ธมิ นษุ ยชน เชน คณะกรรมาธกิ ารสถานภาพสตรี คณะกรรมาธิการดานสังคม คณะกรรมาธกิ ารดานสทิ ธิ มนษุ ยชน เปนตน 2. คณะมนตรีสิทธิมนษุ ยชน ( Human Rights Council : HRG ) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน ตั้งขึ้นเม่ือวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2549 ณ กรุงเจนีวา สวสิ เซอรแ ลนด ซึ่งประเทศไทยเคยเปน สมาชิกระหวา ง พ.ศ. 2543 - 2546 มอี ํานาจหนาท่ีดงั นี้ 2.1 สงเสริมสทิ ธมิ นุษยชนศกึ ษา ใหการเรยี นรแู ละคําปรกึ ษาชวยเหลือดาน เทคนิค 2.2 เปนเวทเี พือ่ การหารือประเด็นเฉพาะดานสิทธิมนุษยชน 2.3 ใหขอเสนอแนะเพื่อสงเสริมพัฒนาการจัดทํามาตรฐานหรือกฎหมาย ระหวางประเทศดานสิทธมิ นุษยชน 2.4 ปอ งกันไมใหเ กดิ การละเมดิ สิทธิมนุษยชน 2.5 ดําเนนิ ภารกจิ ดา นสทิ ธิมนษุ ยชนโดยรว มมือใกลช ดิ กบั รัฐบาลสถาบันสิทธิ มนุษยชนแหงชาตแิ ละภาคประชาสังคม 2.6 นําเสนอรายงานประจําปตอทป่ี ระชุมสมชั ชาสหประชาชาติ

107 3. องคการแรงงานระหวางประเทศ (International Labour Organization) องคการแรงงานระหวางประเทศ เกิดข้ึนเพ่ือเรียกรองความยุติธรรมของสิทธิ มนุษยชน เพ่ือใหมีหลักประกันดานการคุมครองแรงงานแกสหภาพแรงงานกรรมการท่ัวโลก โดยประเทศไทยไดรวมกอตั้งองคการแรงงานระหวางประเทศประจําภูมิภาคเอเซียแปซิฟกใน ประเทศไทย เมอื่ พ.ศ. 2509 4. องคการทุนเพ่ือเดก็ แหง สหประชาชาติ หรอื ยนู เิ ซฟ (UNICEF) องคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ หรือยูนิเซฟ มีวัตถุประสงคเพื่อใหความ รวมมือกันประเทศกาํ ลงั พฒั นา ในความพยายามปรับปรุงสภาพความเปนอยูของประชากรวัย เด็กท่ัวโลก โดยทูตยูนิเซฟประจําประเทศไทย คือ นายอานันท ปนยารชุน (พ.ศ. 2539) นางสาวแอน ทองประสม และนายธีรเดช วงศพ ัวพันธ (พ.ศ. 2551) ซึ่งมสี วนรวมชวยรณรงคให สงั คมหันมาสนใจสิทธิเด็ก ระดมเงนิ ชว ยเหลือเดก็ ยากจน 5. องคก ารนริ โทษกรรมสากล ( Amnesty International : AL ) องคการนิรโทษกรรมสากล ตั้งข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2504 ณ กรุงลอนดอน อังกฤษ มีวัตถุประสงคดานการคนควา การปองกันและการยุติการทํารายสิทธิมนุษยชน โดยแสวงหา กระบวนการยตุ ธิ รรมสําหรับผูถ กู ละเมิดสทิ ธิ รณรงคเรียกรอ งความเห็นใจจากประชาชน เพื่อกดดันใหบุคคลหรือองคการท่ีเก่ียวของใหความสนใจเร่ืองสิทธิมนุษยชนมากขึ้นตาม ปฏิญญาสากลวา ดว ยสทิ ธิมนษุ ยชน ตลอดจนเสนอรายงานการละเมดิ สทิ ธิมนุษยชนประจําปแก สังคมโลก 6. พันธมิตรทัว่ โลกดา นการคา หญิง ( GAATW ) พันธมิตรทั่วโลกดานการคาหญิง ต้ังข้ึนเม่ือป พ.ศ. 2537 ทําหนาที่เปนองคการ ประสานและดําเนินกิจกรรมในประเด็นท่ีเก่ียวเน่ืองกับการยายถ่ินของแรงงานสตรีในทุก ภูมิภาคทวั่ โลกเพ่อื พทิ กั ษคุม ครองสตรีทถี่ ูกคาและตอ ตานการคา หญงิ บทบาทของประเทศไทยในการคมุ ครองสิทธมิ นษุ ยชนโลก ในป 2543 ประไทยไดรับคัดเลือกเขาเปนสมาชิกคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน แหงสหประชาชน ( United Nation Commission on Human Right : & HR ) เปนคร้ังแรก ในประวัติศาสตรโดยมีวาระการดํารงตําแหนง 3 ป ระหวางป พ.ศ. 2544 - 2548 คณะกรรมาธกิ ารสทิ ธมิ นษุ ยชนแหงสหประชาชาตซิ ง่ึ ประชมุ กันทกุ ปที่เจนีวา ถือเปนองคกร

108 ที่สําคัญที่สุดในดานสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ มีสมาชิก 53 ประเทศจากท่ัวโลก โดย ไดรับการเลือกต้ังจากคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแหงสหประชาชาติ สมาชิก คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนฯ อยูในฐานะที่จะริเร่ิมหรือกําหนดมาตรฐานสากลดานสิทธิ มนษุ ยชนในเวทีระหวางประเทศ ในกรอบการประชุมคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติและการ ประชุมในกรอบอ่ืนๆ ดานสิทธิมนุษยชน ไทยไดดําเนินการสงเสริมและคุมครองสิทธิ ในการ พัฒนา (Right to Development) ซ่ึงครอบคลุมถึงสิทธิในการเมืองและสิทธิ ทางเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม และไทยไดถ ายทอดประสบการณในการดาํ เนนิ งานภายในของไทยอันเปน การสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน เชน การสงเสริมการมีสวนรวมของ ประชาชนโครงการกองทนุ หมบู านโครงการ 30 บาทรกั ษาทกุ โรค การดาํ เนนิ งานดานยาเสพติด เพ่ือฟนฟูผูติดยา การแกไขปญหาการคามนุษย เปนตน ซึ่งถือเปนการคุมครองสิทธิมนุษยชน อยางเปนรูปธรรม

109 เรื่องท่ี 8 การปฏิบัตติ ามหลกั สิทธมิ นุษยชน การปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน หมายถึง การที่รัฐและหนาท่ีของรัฐปฏิบัติและ ใ ห ค ว า ม รั บ ร อ ง คุ ม ค ร อ ง ด า น สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น อั น เ ป น สิ ท ธิ พื้ น ฐ า น ต า ม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห ง ราชอาณาจักร พ.ศ. 2550 แกป ระชาชน บทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนญู พ.ศ. 2550 ที่เกีย่ วขอ งกับสทิ ธิมนษุ ยชนทีส่ าํ คญั มีดังน้ี 1. สทิ ธิสว นบุคคล ไดแก 1.1 สิทธิและเสรีภาพในชวี ิตและรางกาย 1.2 เสรีภาพในการเคหะสถาน 1.3 เสรีภาพในการเดนิ ทางและเลอื กถ่ินท่อี ยู 1.4 เสรภี าพในการสื่อสาร 1.5 เสรภี าพในการนับถอื ศาสนา 1.6 หามเกณฑแรงงาน ยกเวน เพ่ือประโยชนในการปอ งกันภัยพิบัติสาธารณะ หรอื ประกาศใชกฎหมายอัยการศึก 1.7 เสรใี นการในการประกอบอาชีพ 1.8 สิทธิไดร บั หลักประกันความปลอดภัยในการทํางาน 1.9 สทิ ธิในทรัพยสิน 1.10 สิทธิการเวนคืนอสังหาริมทรพั ย 1.11 สิทธิในการรบั การศึกษา 1.12 เสรีภาพทางวชิ าการ 1.13 สทิ ธใิ นการเสนอเร่ืองราวรองทกุ ข 2. สิทธิในกระบวนการยุตธิ รรม ไดแก 2.1 สทิ ธโิ ทษทางอาญา บคุ คลผถู กู กลาวหาตองสนั นิษฐานวา ไมมีความผิด จนกวา จะมคี ําพพิ ากษาอันถึงท่สี ดุ 2.2 สิทธขิ องผเู สียหาย ตองไดรับการสอบสวนอยา งถูกตอ ง รวดเร็ว เปน ธรรมและ ไดร ับความชว ยเหลือจากรัฐ 2.3 สิทธเิ ดก็ เยาวชน สตรี ผูสงู อายุ และผพู กิ าร ยอ มมสี ิทธิไดร ับการปฏบิ ตั ิ ตอ อยา งเหมาะสม

110 3. สทิ ธทิ างการเมอื งการปกครองและสาธารณะ ไดแก 3.1 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น 3.2 สิทธิสื่อสาธารณะ 3.3 สิทธใิ นการฟอ งรองหนว ยงานรัฐ 3.4 เสรีภาพในการชุมชน 3.5 เสรภี าพในการจัดตั้งพรรคการเมอื ง 3.6 สทิ ธิในการตอ ตา นโดยสันติวธิ ี 4. สิทธิในความเสมอภาค และการสงเสริมของรฐั 4.1 สทิ ธบิ รกิ ารทางสาธารณสขุ 4.2 สทิ ธขิ องเด็กและเยาวชน 4.3 สทิ ธิในการไดรับความคมุ ครองจากรฐั 4.4 สทิ ธิของผสู ูงอายุ ผพู กิ าร ผยู ากไร 5. สิทธิในการรวมกลุมและในชมุ ชน 5.1 สิทธขิ องผบู รโิ ภค 5.2 เสรีภาพในการรวมกันเปนสมาคม 5.3 สิทธิชุมชนในการฟนฟจู ารีตประเพณี ภมู ปิ ญญา ศลิ ปวัฒนธรรมของ ทอ งถิ่น

111 เรอ่ื งท่ี 9 หลกั การสาํ คญั ของประชาธปิ ไตย หลกั ความเสมอภาค หลักนิตริ ัฐและ นิตธิ รรม หลกั เหตผุ ล หลกั การประนปี ระนอมและหลักการยอมรบั ความคดิ เห็น ตาง เพอื่ การอยรู วมกนั อยางสนั ติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉนั ท หลกั การสําคญั ของประชาธิปไตย หลกั การของประชาธปิ ไตยแตกตา งกนั ไปตามการ ทศั นะของนักวิชาการแตละทาน ในท่ีนข้ี อกําหนดหลักการของประชาธปิ ไตยเฉพาะท่สี าํ คญั ๆ ดังนี้ 1. หลกั อํานาจอธปิ ไตยของปวงชน (popular sovereignty) ดังท่กี ลา วมาแลว วาประชาธิปไตยหมายถึงระบอบการปกครองท่ีถือมติปวงชนเปนใหญการถือเสียงขางมากเปน ใหญ เพราะประชาธิปไตยตั้งอยูบนหลักปรัชญามนุษยนิยมท่ีเชื่อวามนุษย มีคุณคา มีศักด์ิศรี มคี ุณภาพ สามารถท่จี ะปกครองกันเองได ไมควรที่จะใหอํานาจสูงสุด ในการปกครองประเทศ ไปอยูที่คนเดียว หรือกลุมคนสวนนอยกลุมเดียว หากแตควรที่จะใหประชาชนทุกคนมีสวนใน การกาํ หนดความเปน ไปของสังคมและประเทศชาติรว มกัน คงเปนไปไมไดที่จะใหทุกคนมีความ คิดเห็นเหมือนกันหมดทุกคน หากกลุมหนึ่งมีความคิดเห็นอยางหนึ่ง แตอีกกลุมหนึ่งมีความ คิดเห็นอีกอยางหน่ึง บางครั้งการกําหนด ความเปนไปของสังคมและประเทศชาติจําเปนตอง เลือกทจ่ี ะปฏิบัติ อยา งใดอยางหนึ่งเทา นน้ั ดังนั้นสังคมและประเทศที่เปนประชาธิปไตยจึงตอง ใหสมาชิกทุกคนในสังคมลงมติเพ่ือใหทราบความคิดเห็นของคนสวนใหญและนํามาใชเปน แนวทางในการกําหนดความเปน ไปของสังคมและประเทศชาติ อยา งไรก็ดสี มาชกิ ในสังคมประชาธปิ ไตยจําเปนตอ งเขา ใจวา ฝา ยทีเ่ ปน เสียงขางมาก ไมควรใชความเปนเสยี งขางมากละเมิดสิทธิและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของฝายเสียงขางนอย ดังท่ี เรียกวา “ปกครองโดยเสียงขางมากและเคารพสิทธิของเสียงขางนอย(majority rule and minority rights)” เชน ฝา ยเสียงขางมากไมพึงใชมตเิ พอ่ื จดั สรรงบประมาณใหแกพ้นื ท่ีของพวก ตนโดยไมคํานงึ ถงึ ความจําเปนของคนสว นนอยท่ีไดร ับความเดือดรอนและเม่ือตองปกครองดวย เสียงขางมากตองยอมรับวาเสยี งขางมากอาจ จะบอกไดถงึ ความคดิ เห็นหรือความตอ งการของ คนสวนใหญในสังคมเทาน้ัน แตอาจจะไมสามารถตัดสินความจริงและความถูกตองได ดังเชน เมอื่ ประมาณหา รอ ยปก อ น คนเกือบทง้ั โลกนบั พันลา นคนเชื่อวาโลกเปนศูนยกลางของจักรวาล มีเพียงนิโคลัส โคเปอรนิคัส และกาลิเลโอ กาลิเลอีเทานั้นท่ีบอกวาดวงอาทิตยเปนศูนยกลาง ของจักรวาล แมเสียงขางมากจะลงมติใหโลกเปนศูนยกลางของจักรวาล แตความจริงก็หาได เปนไปตามเสียงขางมากดว ย แลวอะไรที่จะทําใหเสียงขางมากเปนเสียงขางมากแหงความจริง

112 และความถูกตองก็คือการศึกษานั่นเอง ดังนั้น ประชาธิปไตยจะสําเร็จผลดวยดีน้ันจําเปนตอง พัฒนาคุณภาพประชาชนอยา งมปี ระสิทธภิ าพดวย 2. หลักความเสมอภาค (equality) ประชาชนในระบอบเผด็จการยอมมีความ เสมอภาคในความเปน มนษุ ยนอ ยกวา ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย เชน สิทธิทางการเมือง การปกครอง สิทธิเลือกต้ัง สิทธิในฐานะมนุษยหรือท่ีเรียกวาสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค ในฐานะที่เปน มนุษย ความเสมอภาคในโอกาสทางการศกึ ษาการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม อยางไรก็ดี มิไดหมายความวาประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะตองมีความ เสมอภาค เสมอภาคกนั ทุกเรื่องทั้งหมด ความเสมอภาคน้ีหมายถึงความเสมอภาคกันในฐานะ มนุษย แตป ระชาชน ในระบอบประชาธปิ ไตยอาจมีบทบาท หนา ที่ทีแ่ ตกตางกันได เชน ครูยอม มคี วามเสมอภาคกับนกั เรยี น ในฐานะท่เี ปนมนุษย และในฐานะท่ีเปนพลเมือง แตการที่ครูเปน ผูทําหนาท่สี อน มอบหมายภารกิจการเรียน วัดและประเมินผลผูเรียน และนักเรียนเปนผูเรียน รับมอบภารกิจการเรียน รบั การวัดและประเมนิ ผลจากครูนั้น มิไดหมายความวาครูกับนักเรียน ไมเ สมอภาคกัน กลาวคือ ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยตองยึดหลักการประสานกลมกลืน (harmony) คือการกาวไปดวยกัน ทํางาน และพัฒนาไปพรอมกัน ดวยสํานึกความเปนอันหนึ่งอัน เดียวกนั ของสังคมไมใ ชจําใจตอ งประนปี ระนอม ยอมลดราวาศอกใหกัน อันอาจเปนความจําเปนตอง อยูรว มกนั ทไี่ มย ่ังยนื 3. หลักนิติธรรม (rule of law) ประชาธิปไตยจะเขมแข็งและมีสันติสุขได ประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตยจะตองยดึ หลักนิติธรรมอันหมายถึงหลักการเคารพกฎหมาย ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะเคารพกฎหมายเปนอยางดี กฎหมายน้ันตองเปนธรรม เทยี่ งตรง และแนนอน ไมเ ปล่ยี นไปเปล่ียนมาตามอําเภอใจ จึงตองเปนกฎหมายท่ีบังคับใชเพื่อ ประโยชนส ุขของประชาชนทุกคนเอง เชน กฎจราจร กฎหมายอาญา หากประชาชนไมเคารพ กฎหมายสงั คมก็จะเกดิ ความสบั สนวนุ วายได ทั้งนี้หมายรวมถึงระบบศาลและราชทัณฑดวย เพื่อท่ีประชาชนจะไดไมใชวิธีแก แคน ลงโทษกันเองประชาชนในระบอบประชาธิปไตยพึงเห็นความสําคัญ เห็นคุณคา เห็นประโยชนของการปฏิบตั ิตามกฎหมายไมใ ชจ ําใจปฏิบัติตามกฎหมายเพราะถูกบังคับที่คอย แตจ ะฝาฝน เมอ่ื มีโอกาส

113 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข (constitutional monarchy) ประเทศทป่ี กครองดว ยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข หมายถึง ประเทศท่ีพระมหากษัตริยมีเพียงพระราชอํานาจในฐานะที่ทรงเปนประมุขเทาน้ัน สวนอํานาจ นิติบัญญัติและอํานาจบริหารน้ันเปนของประชาชนท่ีเลือกและมอบอํานาจให ตัวแทนใชอํานาจแทน แตตองใชอํานาจในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยเพ่ือใหเปนท่ี ยอมรับ เนือ่ งจากยังมปี ระชาชนจํานวนมากที่คุนเคยและเห็นความสําคัญของการดํารงอยูของ สถาบันพระมหากษัตริย การบัญญัติกฎหมาย การออกคําสั่ง การบริหารราชการในนามของ ประชาชนดว ยกันเอง อาจไมไดรับการยอมรับเทาท่ีควร หรืออาจขาดเอกภาพในการปกครอง ประเทศได วัฒ น ธรรมและ วิถีชีวิต แบบ ป ระ ชาธิป ไต ยแบงต ามค ารวธรรม ปญญ าธรรม และสามคั คธี รรม การที่ประเทศจะเปนประชาธิปไตยไดน้ันจะมีแตเพียงรูปแบบและโครงสราง การเมือง การปกครองเทานั้นไมไดแตประชาชนในประเทศนั้นจะตองมีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต แบบประชาธปิ ไตยดว ย กลาวคือประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะตองมีวัฒนธรรมและวิถี ชวี ิตทส่ี อดคลอ งกบั ระบอบประชาธปิ ไตย ดังนี้ 1. คารวธรรม คือ เหน็ คุณคาและเคารพศักด์ิศรีความเปนมนุษยและสิทธิมนุษยชน ใชส ทิ ธิโดยไมล ะท้ิงหนาที่ ใชเสรภี าพอยางรับผิดชอบ ซ่อื สตั ยส จุ ริตและมีความโปรงใส ยึดหลัก ความเสมอภาคและความยตุ ิธรรม 2. สามคั คีธรรม คอื มีจติ สาํ นึกรวมหมแู ละทาํ งานเปนหมูคณะยึดหลักภราดรภาพ ใชหลักสันติวิธี ยึดหลักเสียงขางมากและเคารพสิทธิของเสียงขางนอย เห็นความสําคัญใน ประโยชนของสวนรวม มีจิตสาธารณะ (public mindedness) และการมีจิตอาสา (volunteerism) การมีสวนชวยในการพัฒนาครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติอยางยัง่ ยนื 3. ปญญาธรรม คือ ยึดหลักเหตุผล ความจริง และความถูกตอง รูทันขอมูล ขาวสารและรูทันส่ือสารมวลชน ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการเมือง มีความกลาหาญทางจริยธรรม กลาที่จะยืนหยัดในส่ิงที่ถูกตอง มีทักษะการคิดอยางมี วจิ ารณญาณ การใชเ หตผุ ล การตง้ั คําถาม การวิจัย การคนควา การรวบรวมขอมูล การโตแยง

114 ทักษะการสื่อสารในระบอบประชาธิปไตย ไดแก การฟง การอาน การคนควา การจับ ใจความ การสรุปความ การยอความ การขยายความ การตีความ การแปลความ การพูด การเขยี น การโตว าที การอภปิ ราย การวจิ ารณ การกลา แสดงออก การแสดงความคิดเห็น และ การรบั ฟง ความคิดเห็นของผูอื่น พัฒนาความรู ความคิด จิตใจ พฤติกรรมและการทํางานของ ตนเองอยูเสมอ มีสวนรวมทางการเมืองอยางสรางสรรค มีความรูพ้ืนฐานทางการเมือง (political literacy) คา นิยมพนื้ ฐานในการอยูร วมกันอยางสมานฉนั ท 12 ประการ 1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย เปน คุณลกั ษณะท่แี สดงถึงรักความเปน ชาติไทย เปนพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณคา ภูมิใจ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติ ตนตามหลักศาสนาท่ตี นนับถือ และแสดงความจงรกั ภกั ดตี อสถาบนั พระมหากษตั ริย 2. ซ่อื สัตย เสียสละ อดทน เปน คณุ ลกั ษณะที่แสดงถึงการยึดม่นั ในความถูกตอ ง ประพฤติตรงตามความเปนจริงตอ ตนเองและผูอื่น ละความเหน็ แกตัว รจู ักแบง ปน ชว ยเหลอื สังคมและบุคคลทค่ี วรใหรจู กั ควบคุมตนเองเมือ่ ประสบกบั ความยากลาํ บากและส่งิ ที่กอใหเ กิด ความเสยี หาย 3. กตัญตู อ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย เปน คุณลักษณะที่แสดงออก ถึงการ รูจักบุญคุณ ปฏิบัติตามคําส่ังสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาชื่อเสียง และตอบแทนบุญคณุ ของพอ แม ผปู กครอง และครูบาอาจารย 4. ใฝหาความรู หมน่ั ศึกษาเลา เรียนทงั้ ทางตรงและทางออ ม เปน คณุ ลักษณะที่ แสดงออกถึงความต้ังใจ เพียรพยายามในการศกึ ษาเลา เรยี น แสวงหาความรู ท้ังทางตรงและ ทางออ ม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม เปนการปฏิบัติสืบทอดอนุรักษ วัฒนธรรม และประเพณีไทยอันดงี ามดวยความภาคภมู ใิ จเหน็ คณุ คาความสาํ คญั 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวังดีตอผูอื่น เผ่ือแผและแบงปน เปนความ ประพฤติ ท่ีควรละเวน และความประพฤตทิ ี่ควรปฏบิ ตั ติ าม 7. เขาใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ท่ีถูกตอง คือ มีความรู ความเขาใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่ของตนเอง เคารพ สิทธิและหนาท่ีของผูอ่ืน ใชเสรีภาพดวยความรับผิดชอบภายใตขอบเขตของกฎหมาย ตาม ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข

115 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ เปนคุณลักษณะ ทแี่ สดงออก ถึงการปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมาย มีความ เคารพและนอบนอ ม ตอ ผูใหญ 9. มีสติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูห ัวเปนการประพฤติปฏิบตั ติ นอยา งมสี ตริ ูตัว รูคิด รูทํา อยางรอบคอบถูกตอง เหมาะสม และนอมนําพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั ฯ มาปฏิบตั ใิ นชวี ติ ประจําวัน 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัส ของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็ แจกจาย จําหนาย และขยายกิจการเมื่อมีความพรอม สามารถดําเนินชีวิตอยางพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวท่ีดี มีความรู มีคุณธรรม และปรับตัวเพ่ืออยูในสังคมไดอยางมี ความสขุ 11. มคี วามเขมแข็งทง้ั รางกายและจิตใจ ไมย อมแพตอ อํานาจฝา ยต่าํ หรอื กเิ ลส มีความละอายเกรงกลวั ตอ บาปตามหลกั ของศาสนา เปน การปฏบิ ัตติ นใหม ีรา งกายสมบรู ณ แขง็ แรงปราศจากโรคภยั และมีจติ ใจท่เี ขม แขง็ ไมก ระทําความชั่วใดๆ ยดึ มนั่ ในการทาํ ความดี ตามหลักของศาสนา 12. คํานึงถึงผลประโยชนของสว นรวมและตอชาติมากกวา ผลประโยชนของตนเอง ใหความรว มมอื ในกิจกรรมที่เปนประโยชนตอสว นรวม และประเทศชาติ เสยี สละประโยชนสวน ตนเพือ่ รกั ษาประโยชนของสวนรวม

116 เร่อื งที่ 10 การมีสวนรว มของประชาชนในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ การทจุ ริตคอรรัปชนั นับเปนมะเรง็ รา ยในสังคมไทยท่ีกําลังกัดกินประเทศของเราให สึกกรอนลงไปเรื่อยๆ ความจริงที่นากลัวก็คือ ในการจัดอันดับความโปรงใสของนานาชาติ ประจําป 2549 จากทั้งหมด 163 ประเทศ ไทยอยูอันดับท่ี 63 (จากคะแนนเต็ม 10 เราได 3.6 คะแนน) และถานับเฉพาะในแถบเอเชียดวยกันประเทศไทยถูกจัดใหเปนประเทศที่มีความ โปรง ใสอยูในอนั ดบั ทา ยๆโดยมีสิงคโปรเปนประเทศท่ีมีความโปรงใสมากท่ีสุดดวยคะแนน 9.4 คะแนน สว นประเทศท่ีมคี ะแนนต่าํ สุดในเอเซียคือ พมา (1.9 คะแนน) ท่ีเลวรายยิ่งกวาน้ันก็คือ ตลอดเวลา 12 ปที่ผานมา(ต้ังแต พ.ศ 2538–2550) ประเทศไทยไดคะแนนเฉลี่ยเพียง 3.3 คะแนน พ.ศ.2548 ดีข้ึนได 3.8 คะแนน แต พ.ศ 2549 ลดลงเหลือ 3.6 คะแนน จากตัวเลขท่ี ไดจากขอมูลการสํารวจดังกลาวชี้ใหเห็นวาประเทศไทยยังคงไมสามารถแกปญหาการทุจริต คอรัปชนั่ ไดเลย การทุจรติ หมายถงึ การโกง คดโกง ฉอโกง (พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ สถาน พ.ศ. 2542 หนา 534) คําท่ีมีความหมายเดียวกับการทุจริต ไดแก การฉอราษฎร การบังหลวง คอรรปั ชนั การทจุ รติ คอรร ัปชันในความรสู ึกของคนท่ัวไปคือมะเรง็ รา ยบอนทาํ ลายชาติ ในทาง กฎหมายการทุจริตคอรัปชั่นนับเปนอาชญากรรมรายแรง ตลอดเวลาท่ีผานมาได มีความ พยายามทจ่ี ะใชกลไกของรฐั ในรูปแบบตางๆเพือ่ ขจัดส่ิงเลวรา ยดงั กลาวไมวาในรูปแบบของการ ออกกฎหมาย ระเบียบ ขอกําหนด ขอบงั คับ จรรยาบรรณหรอื ในรูปแบบอื่นๆ การสรางองคกร ตางๆขึ้นมาปราบปรามไมวาจะอยูภายใตการกํากับดูแลของฝายราชการประจํา หรือฝาย การเมืองหรือแมการแตกําหนดใหอยใู นรูปแบบขององคกรอสิ ระ กต็ าม จะเห็นไดวามาจนถึงทุก วันนี้ความมุงหมายในการที่จะปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ ยังไมเปนผล เทาทคี่ วรในขณะท่ีการทุจริตประพฤติมิชอบนั้นได มีพัฒนาการทั้งวิธีการ เทคนิค รูปแบบไป มากมายและกอใหเ กดิ ความเสยี หายแกป ระโยชนของชาติแตละคร้ังนับเปนจํานวนเงินมากมาย มหาศาล กลไกของระบบราชการท่ีจะขจัดสิ่งเลวรายดังกลาวแมจะมีมาก แตส่ิงหนึ่งท่ีตอง ยอมรับก็คือ สังคมไทยเปนสังคมอุปถัมภ ท้ังระบบราชการไทยเปนระบบบังคับบัญชาจาก ผูบงั คับบัญชาสูงสุดลดหล่ันกันลงมาจนถึงลางสุด ผูบังคับบัญชามีอิทธิพลสูงตอการใหความดี ความชอบแกผูนอยอีกทั้งทัศนคติเดิมๆ ที่เจาหนาที่ของรัฐมักทําตัวเหมือนขุนนางเกาถือเอา ตําแหนง หนาที่หาประโยชนใสตน เมอ่ื ตา งก็คดิ เชนนก้ี เ็ ลยไมมีใครตรวจสอบใคร ขาราชการชั้น

117 ผูน อ ยเห็นอะไรตอ งเงยี บไวเพราะเกรงจะไมปลอดภัย สทู าํ เปน ไมรูไมเห็นจะปลอดภัยกวาทั้งยัง ไดรับความดีความชอบเสียดวยซ้ําไป ดีไมดีก็ทําตามกันไปเสียเลย ซ่ึงแมหากจับไดไลทัน กระบวนการลงโทษก็ไมเขมแข็งพอเพราะจะอยใู นลักษณะลูบหนาปะจมกู เสียเปนสวนใหญ แนวคิดการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยบทบาทของ ภาคประชาชน (ป.ป.ช.ภาคประชาชน) จึงเปนอีกชองทางหนึ่งท่ีจะรักษาผลประโยชนของชาติ โดยอาศัยการมีสวนรวมของประชาชนภายใตพื้นฐานความเขาใจวาคนไทยทุกคนตองมีสวน รับผิดชอบดูแลอนาคตและความอยูรอดของชาติไทยของเรา ในการที่ประชาชนจะเขามามี บทบาทในการตรวจสอบความโปรงใสของภาครัฐ ในฐานะ ป.ป.ช.ภาคประชาชนน้ันจึงตองมี หลักการทํางาน ดังนี้ 1. ตองมีความมงุ ม่ันตัง้ ใจท่ีจะอาสาเขามาทํางานเพือ่ ประโยชนข องบานเมอื ง จริงๆ น่ันคือตองมีความเปนผูมีจิตอาสา มีความเสียสละ อดทน กลาหาญ มีความซื่อสัตย สจุ ริต มคี วามโปรง ใสไมใ ชอ าํ นาจหนาที่เพื่อการแสวงหาประโยชนสวนตนหรือประโยชนใหแก พรรคพวก นั่นหมายความวาเราตองมีภูมิคุมกันใหกับตัวเองโดยการดําเนินชีวิตแบบปรัชญา พอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว 2. ตอ งติดอาวธุ ทางปญ ญาใหกับตัวเองตลอดเวลา นั่นคือตองมีความรูที่เก่ียวของ กับอํานาจหนาท่ีของ ป.ป.ช.ภาคประชาชน และตองแสวงหาความรูใหเทาทันเทคนิคกลโกง การทุจริตคอรัปชั่นดวยวิธีการตางๆเพ่ือเปนหลักในการทํางานใหถูกตองและเปนท่ีนาเช่ือถือ ของสงั คม 3. ตองสรางการมีสวนรวมของประชาชนในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนการการ สรางเครือขายภาคประชาชนดวยกันเอง การติดอาวุธทางปญญาใหกับประชาชนโดยการให ความรหู รือการเสนอแนะชอ งทางในการตรวจสอบความโปรงใสของการทาํ งานของภาครัฐ การ สรางทัศนคติทถ่ี กู ตอ ง และการชีใ้ หเ ห็นอนั ตรายของการทจุ ริตคอรปั ชั่น 4. การเฝาระวังพื้นท่ีท่ีเห็นวาสุมเสี่ยงตอการแสวงหาผลประโยชน การสราง เครือขา ยอาสาสมคั รแจงขอ มลู ขาวสารที่ไมชอบมาพากลตางๆเพ่ือรักษาผลประโยชนของชาติ ไดทนั การ 5. ดําเนินกิจกรรมตางๆ เพ่ือรณรงคตอตานการทุจริตอยางตอเน่ืองในชุมชน หมบู านตําบล และในทุกภาคสวนของสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่งในสถานศึกษาทุกระดับเพ่ือให เยาวชนไดต ระหนักถึงภยั รายของการทจุ ริตคอรปั ชน่ั

118 6. สงเสรมิ ใหประชาชนไดเ ขาไปมีบทบาทในการปองกันการทุจริตการเลือกต้ังทุก ระดบั ไมว า ในระดับชาติหรือในระดบั ทอ งถิ่นเพอื่ การคดั กรองคนดี มคี วามรูความสามารถ มีคุณธรรมเขา มาบริหารประเทศ ปองกนั คนไมด ไี มใ หเ ขามาแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดังพระ ราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวท่ีใหสงเสริมคนดีใหคนดีไดปกครองบานเมืองและ ควบคุมคนไมดีไมใ หมอี าํ นาจไมใ หก อความเดอื ดรอนวุนวายได 7. สง เสริมใหประชาชนไดเขา ไปมีบทบาทในการปองกันการทจุ ริตการบรหิ ารงาน ขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ินซ่ึงเปนการปกครองที่ใกลตัวของพีน่ องประชาชนมากที่สุดโดย การสงเสริมใหป ระชาชนไดมีโอกาสเขา รวมประชมุ กําหนดนโยบายการบรกิ ารสาธารณะให เปนไปตามความตองการของประชาชน ใหประชาชนไดเขา รว มตรวจสอบความโปรง ใสของการ จัดซ้อื จดั จาง ใหประชาชนประเมินการทํางานขององคก รปกครองทองถ่ินของตน เปนตน 8. จัดใหมีการแลกเปลี่ยนและรับฟงความคิดเห็นและรับฟงขอเสนอแนะของ สาธารณะชนเพื่อนํามาแกไขปรับปรงุ การทาํ งานของ ป.ป.ช. ภาคประชาชน ใหมีประสิทธิภาพมาก ยง่ิ ข้นึ 9. จดั ใหม ีกจิ กรรมเผยแพรช ่อื เสยี งเกียรตคิ ุณยกยองใหก าํ ลงั ใจและชวยกันรณรงค ปกปอ งคนท่ที าํ ความดี มคี วามซ่ือสตั ยสุจรติ มคี ณุ ธรรมเพอื่ ใหเ ปนตัวอยางทด่ี ีของสงั คม 10. หามาตรการรองรับการทํางานและคุมครองความปลอดภัยใหแก ป. ป. ช. ภาคประชาชนและเครือขา ย 11. ใหม ีการประชาสมั พันธผลงานของ ป.ป.ช.ภาคประชาชน อยางตอเนื่องเพื่อให ประชาชน ไดท ราบและรณรงคใหประชาชนเขารวมกนั เปน เครอื ขายปอ งกันและปราบปราม การทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบ กับ ป.ป.ช. ภาคประชาชน กันอยา งกวางขวาง ซึ่งจะยังประโยชนใน การปลกุ จติ สาํ นกึ ใหประชาชนดวยกันเอง ไดรวมกันรักษาผลประโยชนข องชาติ

119 กิจกรรมทา ยบทที่ 2 2.1 จงตอบคําถามตอไปน้ี 1. รัฐธรรมนญู หมายความวา อยา งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. สทิ ธมิ นษุ ยชนหมายถงึ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. พลเมอื งดตี ามวถี ีชีวิตประชาธิปไตยควรมีแนวทางการปฏบิ ตั ิอยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

120 4. กฎหมายระหวางประเทศ หมายถงึ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. สิทธมิ นุษยชน หมายความวาอยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2 จงเขยี นเคร่อื งหมาย x ทบั ตวั อกั ษร หนาขอท่ีถูกตองท่ีสุด 1. ขอใดจับคูองคก รและการใชอ ํานาจหนาทข่ี ององคก รผดิ จากที่บัญญตั ิไวต ามรัฐธรรมนู ก. ค.ต.ง : ตรวจสอบบญั ชีและการเงินของหนวยงานตา งๆของรฐั ข. ศาลปกครอง : วินิจฉัยอนั มาจากการกระทาํ หรอื ละเวน การกระทําการของ หนวยงานราชการ ค. ก.ก.ต. : ถอดถอนผดู าํ รงตาํ แหนงระดบั สงู ง. ผตู รวจการแผนดิน : พิจารณาและสอบสวนหาขอ เท็จจริงตามคาํ รอ งเรยี น ของประชาชน 2. ประเทศไทยมีการใช รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รสยาม พทุ ธศกั ราช 2475 เมื่อใด ก. 17 มิถนุ ายน 2475 ข. 27 มถิ ุนายน 2475 ค. 10 ธนั วาคม 2475 ง. 27 ธันวาคม 2475

121 3. ขอ ใดกลา วไมถ ูกตอ งเกย่ี วกับรฐั ธรรมนญู ก. 14 หมวด 303 มาตรา ข. 14 หมวด 309 มาตรา ค. 15 หมวด 303 มาตรา ง. 15 หมวด 309 มาตรา 4. รัฐธรรมนูญฉบับพุทธศกั ราช 2550 เปนรฐั ธรรมนูญฉบบั ทเ่ี ทา ได ก. ฉบบั ที่ 16 ข. ฉบบั ท่ี 17 ค. ฉบับที่ 18 ง. ฉบับท่ี 19 5. ขอ ใดกลาวไมถ กู ตอง เกย่ี วกับรฐั ธรรมนูญ ก. เปนกฎหมายท่จี ดั ระเบยี บการปกครองของบานเมือง ข. เปนกฎหมายสูงสดุ ของประเทศในประเทศประชาธิปไตย ค. รัฐธรรมนญู ในประเทศประชาธิปไตยเปนผูน าํ ประเทศ ง. รฐั ธรรมนูญเปน หลักสาํ คญั สูงสดุ ในการปกครองของผนู าํ ประเทศ 6. มาตรา 1 ของรัฐธรรมนญู บญั ญัตไิ วเ กี่ยวกับเรอื่ งใด ก. ประมขุ ของรัฐ ข. ความเปนรฐั เดย่ี วของราชอาณาจกั รไทย ค. ศักดศ์ิ รีความเปนมนุษยแ ละความคุมครอง ง. สิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย 7. องคกรใดมีอํานาจหนาทใ่ี นการวินิฉัยขอขัดแยงทางกฎหมายวา ขดั ตอรฐั ธรรมนูญหรอื ไม ก. ศาลรฐั ธรรมนญู ข. ศาลปกครอง ค. ป.ป.ช. ง. ก.ก.ต. 8. กฎหมายทขี่ ดั หรือแยงกบั รัฐธรรมนูญ มผี ลเปน อยางไร ก. ยังคงใชไ มไ ด ข. ใชบงั คับมิได ค. ใชห รอื ไมก ไ็ ด ง. ใชไ ดเพียงบา งสวน

122 9. ตามรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 1 ระบุวา ประเทศไทย เปนราชอาณาจักร ก. ท่มี พี ระมหากษตั ริยเปน ประมุข ข. ท่มี ีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ค. อันหน่งึ อันเดียวจะแบง แยกมิได ง. อนั หน่งึ อันเดียว จะแบง แยกมไิ ด อํานาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย 10. การกระทาํ ขอ ใด ไมข ัดตอบทบญั ญัตแิ หงรฐั ธรรมนญู ทีว่ า บคุ คลยอมมสี ิทธิและเสรีภาพใน ชีวิตและรา งกาย ก. พนกั งานสอบสวนใชไ ฟสอ งหนา และใชเ วลาสอบสวนผูตองหาตดิ ตอกนั ถึง 8 ชั่วโมง ข. ประหารชีวิตนกั โทษตามกฎหมาย ค. ตาํ รวจซอ มผูร า ยปากแขง็ เพือ่ ใหร ับสารภาพ ง. จาํ คกุ ตลอดชีวติ 11. สทิ ธมิ นษุ ยชน คอื อะไร ก. คือ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปนมนษุ ย ข. คือ การมีสิทธิ เสรภี าพ มีหนาท่ี ค. คือ การไดร บั คุมครองดวยกฎหมาย ง. คอื การไดรบั การคมุ ครองจากสนธิสญั ญา 12. ส่งิ ทป่ี ระชาชนควรปฏิบัติควบคูไปกบั สิทธิและเสรีภาพ คอื ขอใด ก. การประนปี ระนอม ข. หนาท่ีความรับผดิ ชอบ ค. บทบาท ง. ความเสมอภาค 13. สทิ ธขิ อใดไมนา จะเปนสทิ ธิของพลเมืองไทย ก. สิทธกิ ารไปออกเสียงเลอื กตงั้ ข. สทิ ธิการสมัครรับเลือกตงั้ สมาชิกสภาทุกระดบั ค. สทิ ธิการผูกมติ รกับกลุมผูคา สินคา ชายแดนท่ีผิดกฎหมาย ง. สิทธใิ นการอนรุ ักษภ ูมิปญ ญาพ้นื บา น และการรกั ษาคนไขดว ยสมุนไพร

123 14. ขอ ใดกลาวถูกตองเกีย่ วกับสิทธิมนุษยชน ก. สทิ ธทิ ่ไี ดม าจากการประกอบอาชีพ ข. สิทธทิ ่ีไดมาจากการปฏิบัติตนตามกฎหมาย ค. สิทธทิ ่ีไดม าโดยการทาํ ความดี ง. สทิ ธิมนุษยชนทกุ คนพึงไดร ับในฐานะทเ่ี กิดมาเปนมนษุ ย 15. คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง ชาติอยใู นตาํ แหนงคราวละกีป่  ก. 4 ป ข. 5 ป ค. 6 ป ง. 7 ป 16. ขอ ใดคอื การคมุ ครองปกปอ งผอู น่ื ตามหลักสิทธิมนุษยชน ก. ไมค บคาใกลชดิ กับบคุ คลทีไ่ มน า ไวว างใจ ข. ทํารา งกายใหแ ขง็ แรง รูจักเทคนคิ การปองกันตัว ค. ไมออกจากบาน และไมเขาไปในสถานทท่ี ไี่ มปลอดภยั ง. เผยแพรแนวความคดิ เก่ยี วกบั สทิ ธมิ นษุ ยชน 17. ขอใดคอื การคมุ ครองปกปอ งตนเองตามหลักสิทธิมนุษยชน ก. เคารพในสทิ ธแิ ละเสรภี าพของผูอ ่นื ข. ฝก ฝนการใชสติปญญาและเหตผุ ลตดั สนิ ใจเรื่องตา ง ๆ ดวยตนเอง ค. กระตนุ ใหผ ทู ถ่ี ูกละเมิดสิทธิมนษุ ยชนลุกขน้ึ มาตอสูเรยี กรองความเปนธรรม ง. การชวยกันเผยแพรแนวความคิดเกยี่ วกับสทิ ธิมนุษยชน 18. วิธีการทดี่ ีท่สี ดุ ในการคมุ ครองปกปอ งผอู ่นื ตามหลกั สทิ ธิมนษุ ยชนคือขอใด ก. แนะนาํ และสงเสรมิ ใหเขารจู ักชวยตัวเอง ข. เหน็ อกเหน็ ใจและมีเมตตากรุณาตอเพ่อื นมนุษยดวยกัน ค. รวมมอื กนั กระจายขอ มูลความรู เกย่ี วกบั สทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาค ของประชาชน ง. ไมลวงละเมดิ ลิดรอนหรือจาํ กัดสิทธแิ ละเสรีภาพของผอู ่ืน

124 19. หากพบการกระทาํ ที่ละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน ควรดาํ เนนิ การแจงเร่ืองดังกลา วตอ หนวยงานใด ก. คณะกรรมการตรวจเงนิ แผนดนิ ข. ศาลรัฐธรรมนญู ค. ศาลปกครอง ง. คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหงชาติ 20. ขอใดเปนแนวทางในการแกปญ ญาการละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนท่มี ผี ลย่ังยืนทีส่ ดุ ก. เพิม่ โทษตอ ผูก ระทําละเมิดสทิ ธิมนุษยชน ข. สรา งความเขา ใจและประชาสัมพนั ธแกประชาชนท่ัวไปใหทราบเร่ือง สิทธมิ นษุ ยชน ค. ปลูกฝง จติ สาํ นึกและรณรงคเร่อื งสิทธมิ นษุ ยชน รวมถงึ บรรจกุ ารเรยี นรเู รอ่ื ง สิทธมิ นุษยชนไวใ นหลักสูตรการเรยี นการสอน ง. ตง้ั หนวยงานดา นสิทธมิ นษุ ยชนและเพิม่ บุคคากรดา นสิทธิมนษุ ยชนใหมากขึ้น

125 เฉลยกิจกรรมทา ยบทที่ 1 1.1 จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. ใหนักศกึ ษาบอกความหมายของศาสนามาพอสังเขป แนวคาํ ตอบ ศาสนาคือ คาํ สอนที่ศาสดานํามาเผยแผ ส่ังสอน แจกแจง แสดงใหมนุษยเวนจาก ความช่ัว กระทําแตความดี ซึ่งมนุษยยึดถือปฏิบัติตามคําสอนน้ันดวยความเคารพเลื่อมใสและ ศรัทธา 2. ใหนักศึกษาบอกวธิ ีแกไ ขความขดั แยง ทางศาสนาเพ่ือการอยรู วมกันมาพอเขา ใจ แนวคาํ ตอบ 1. วิธียอมกัน คอื ทกุ คนลดทิฏฐมิ านะ หนั หนาเขาหากนั ใหเกียรติซง่ึ กันและกันไม ดูถูกไมติฉินนินทาไมกลาววา รา ยปา ยสศี าสนาของกนั และกนั พบกนั ครงึ่ ทาง รูจักยอมแพ รูจัก ยอมกัน หวังพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกันถือวาทุกคนเปนเพ่ือนรวมโลกเดียวกันโดยมีผูประสาน สมั พันธทท่ี กุ ฝา ยยอมรับนับถือ 2. วิธีผสมผสาน คอื ทุกฝายทกุ ศาสนาเปดเผยความจรงิ มกี ารแลกเปล่ียนทัศนคติ ความคิดเห็นแลกเปล่ียนขอมูลซึ่งกันและกัน รวมกันคิด รวมกันทํา และรวมกันแกปญหา ทาํ กิจกรรมในสงั คมรวมกัน เชน สรา งสระพานถนน ฯลฯ 3. วธิ ีหลกี เล่ยี ง คอื การแกป ญ หาลดความขัดแยง โดยวธิ ี ขอถอนตัว ขอถอยหนี ไมเ อาเรอื่ ง ไมเ อาความ ไมไ ปกา วกา ยความคดิ ความเชอื่ ของผูนบั ถอื ศาสนาทไ่ี มต รงกบั ศาสนาที่ ตนนบั ถือ

126 4. วธิ กี ารประนปี ระนอม คอื การแกป ญหาโดยวิธีทําใหทั้งสองฝายยอมเสียสละบางส่ิง บางอยา งลงมที งั้ การใหและการรบั ทุกฝายยอมเสียบางอยางและได บางอยางมีอํานาจพอๆ กัน ตางคนตางก็ ไมเ สยี เปรยี บ 3. ใหน ักศึกษาบอกแนวทางการเจริญปญ ญาทีถ่ ูกตองพอเขา ใจ แนวคําตอบ ตองเจริญท่ีเหตุของการเกิดปญญา เหตุปจจัยของการเกิดปญญาหรือสัมมาทิฏฐิ นั้นคือ พระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาท่ีพระองคตรัสไวเปนทางสายเอก คือ การวิปสสนา ภาวนา พิจารณาขันธ 5 และอินทรีย 5 ใหรูเห็นสิ่งทั้งปวงที่มากระทบสัมผัสตัวเราตามความ เปนจรงิ ของโลก และชีวิตวา สิง่ ทัง้ ปวงไมเทยี่ ง เปน ทกุ ข เปน อนัตตา 4. ใหนักศึกษาบอกความหมายของวัฒนธรรมพรอมยกตัวอยางวัฒนธรรมและประเพณีใน ทองถิ่นของตนเองมาอยา งนอย 2 ขอ แนวคําตอบ วัฒนธรรม หมายถึง ทุกส่ิง ทุกอยางที่มนุษยสรางข้ึนมา นับตั้งแตภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศลิ ปะ จรยิ ธรรม ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยี ตาง ๆ อาจกลาวไดวาวัฒนธรรมเปนเคร่ืองมือท่ีมนุษย คิดคนขึ้นมาเพื่อชวยใหมนุษยสามารถ ดาํ รงอยูตอไปได เพราะการจะมชี วี ติ อยใู นโลกนี้ไดมนุษยจะตองรูจักใชประโยชนจากธรรมชาติ และจะตองรจู ักควบคมุ ความประพฤตขิ องมนุษยดว ยกัน วัฒนธรรม คือคาํ ตอบที่มนุษยในสังคม คดิ ขึน้ มาเพอื่ แกปญหาเหลา น้ี ยกตวั อยางวฒั นธรรมและประเพณีในทองถนิ่ เชน วัฒนธรรมและประเพณใี นภาค กลาง มีการใชเคร่ืองปนดินเผาตามชุมชนและหมูบานในชนบท การละเลนพ้ืนบานที่เปน ลักษณะเดน ไดแก มงั คละราํ เตน เตนกาํ รําเคียว เพลงปรบไก เพลงลาํ ตัด เปนตน

127 5. ใหนกั ศึกษาอธิบายถึงคา นยิ มท่ีพงึ ประสงคของสงั คมไทยมาเปน ขอๆ แนวคําตอบ 1. ความเออื้ เฟอ เผอื่ แผ คุณลกั ษณะเชนนไี้ ดร บั อทิ ธิพลมาจากคําสอนท่ีวามนุษย เราไมวายากดีมีจนอยางไร ตางเปนเพื่อนรวมทุกข รวมสุข เวียนวายตายเกิดอยูใน สังสารวัฎ ดวยกัน ความสํานึกวาตนเองตองตาย ยอมกอใหเกิดความเห็นใจกัน แสดงออกมาในรูปความ เอ้ือเฟอ เผ่อื แผ ชวยเหลอื กันและกัน 2. การใหอภัย คือ การยกโทษใหคนท่ีทําผิด “การใหอภัย” มีความหมายวา “ปลอยไป” เหมือนกับที่เจาหน้ียอมยกหนี้ใหคนที่เปนหนี้เขา เราใหอภัยคนอื่นเมื่อเราไมถือ โทษและไมเรียกรองใหเขามาขอโทษหรือชดใช คัมภีรไบเบิลสอนวาความรักแบบไมเห็นแกตัว เปนหัวใจสําคัญของการใหอ ภัยอยา งแทจรงิ เพราะความรัก “ไมจดจาํ เรอ่ื งท่ที าํ ใหเจบ็ ใจ” 3. การยม้ิ แยม แจม ใส คนไทยทุกคนคงทราบกันดีวาประเทศไทยของเรามีความ ประทับใจในรอยยิ้มมาเปนเวลาชานานชาวตางชาติจึงไดใหประเทศไทยเปน สยามเมืองยิ้ม หรอื ย้ิมสยาม เพราะเห็นวาคนไทยเปนคนย้ิมเกงย้ิมงายหลายครั้งท่ีส่ือภาษากันไมคอยเขาใจ แตคนไทยก็จะยมิ้ ไวก อนเสมอทําใหอีกฝายรูสึกอบอุนใจวาจะไดรับ ความชวยเหลือดวยนํ้าใจ ไมตรี ทีด่ อี ยา งแนนอน 4. การเคารพผอู าวุโส คานิยมขอ น้ีไดแ สดงออกในพฤติกรรมของสมาชิกสังคมไทย เชน การมีกิริยา มารยาทสภุ าพออนนอ มตอผูอาวโุ สหรือผูใหญ การเคารพ ใหเกียรติ ผูอาวุโส ผูใหญ ผูที่ สงั คมยกยองตามวาระตา งๆ 5. ความมีระเบียบวินัย หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑขอบังคับสําหรับควบคุม ความประพฤติทางกายของคนในสังคมใหเรียบรอยดีงาม เปนแบบแผนอันหน่ึงอันเดียวกัน จะไดอยูรวมกันดวยความสุขสบาย ไมกระทบกระทั่งซ่ึงกันและกัน ใหหางไกลจากความชั่ว ทั้งหลาย การอยูรวมกันเปนหมูเหลา ถาขาดระเบียบวินัย ตางคนตางทําตามอําเภอใจ ความ

128 ขดั แยง และลกั ลนั่ กจ็ ะเกดิ ข้ึน ยิ่งมากคนก็มากเร่ือง ไมมีความสงบสุข การงานท่ีสําเร็จได ยอม ตองอาศัยความมีวินัยของผูปฎิบัติเปนหลัก ความมีวินัยจึงเปนประเด็นสําคัญของคานิยมที่พึง ประสงคของสังคมไทยและสงั คมโลก 1.2 จงเขียนเครือ่ งหมาย x ทบั ตัวอักษร หนาขอ ท่ถี ูกตอ งท่ีสุด 1. ข. 2. ค. 3. ง. 4. ก. 5. ค. 6 ข. 7. ง. 8. ข. 9. ง. 10. ง. 11. ก. 12. ก. 13. ค. 14. ข. 15. ข. 16. ง. 17. ก. 18. ค. 19. ก. 20. ค.

129 เฉลยกิจกรรมทา ยบทท่ี 2 2.1 จงตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. รฐั ธรรมนญู หมายความวา อยา งไร แนวคาํ ตอบ รัฐธรรมนูญ (Constitution) หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐ ถา แปลตามความหมายของคํา จะหมายถึง การปกครองรัฐอยางถูกตองเปนธรรม (รัฐ + ธรรม + มนญู ) ในความหมายอยางแคบ \"รัฐธรรมนูญ\" ตองมีลักษณะเปนลายลักษณอักษร และไมใชส่ิง เดียวกับ กฎหมายรัฐธรรมนญู (Constitutional Law) เพราะ \"กฎหมายรฐั ธรรมนญู \" มีความหมายกวางกวา และจะเปน รปู แบบลายลักษณอักษรหรือจารีตประเพณกี ไ็ ด รัฐธรรมนูญในปจจุบันนั้น มีท้ังเปนลักษณะลายลักษณอักษร และลักษณะไมเปน ลายลักษณอักษร โดยท่ลี ักษณะไมเ ปนลายลักษณอ กั ษร นอกจากจะใชห ลักของจารีต ประเพณี การปกครองแลว กฎหมายทุกตัวท่ีเก่ียวของกับการปกครอง ยอมถือวาเปนสวนหน่ึงของ รัฐธรรมนูญดว ย 2. สทิ ธมิ นุษยชนหมายถงึ แนวคําตอบ สิทธิข้ันพื้นฐานที่มนุษยเกิดมาพรอมกับความเทาเทียมกันในแงศักด์ิศรีความเปน มนุษยและสทิ ธิ เพื่อดํารงชีวิตอยางมีศกั ดิ์ศรี โดยไมคํานึงถึงความแตกตางในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ อายุ ภาษาศาสนา และสถานภาพทางกายและสุขภาพรวมทั้งความเชื่อทางการเมือง หรือ ความเชื่ออื่นๆท่ีข้ึนกับพ้ืนฐานทางสังคม สิทธิมนุษยชนเปนสิ่งท่ีไมสามารถถายทอดหรือโอน ใหแกผ ูอนื่ ได

130 3. พลเมอื งดตี ามวีถีชีวิตประชาธิปไตยควรมีแนวทางการปฏบิ ัติอยา งไร แนวคําตอบ 1. ดา นสังคม การแสดงความคดิ อยางมเี หตผุ ล 2. ดานเศรษฐกจิ การประหยัดและอดออมในครอบครัว 3. ดา นการเมอื งการปกครอง การเคารพกฎหมาย 4. กฎหมายระหา งประเทศ หมายถงึ แนวคําตอบ กฎ กฎเกณฑ และขอตกลงท่ีเกิดขึ้นจากความตกลงหรือการแสดงเจตนา เขาผกู พนั ของรฐั ต้งั แตส องรัฐข้ึนไปและมักใชเ ปน หลักในการพิพาทระหางประเทศ 5. สิทธมิ นษุ ยชนกับทหาร หมายความวาอยางไร แนวคาํ ตอบ ทหาร จาํ เปนตองไดรับความรูเก่ียวกับสิทธิมนุษยชน ท้ังนี้เปนผลสืบเน่ืองจากกรณี เหตกุ ารณใชกําลงั เขา ระงบั การชุมนุมระหวา ง วนั ท่ี 17 - 20 พฤษภาคม 2535 ซ่งึ คณะรัฐมนตรี ไดม มี ติเม่ือ 12 กันยายน 2535 รับทราบรายงานของคณะกรรมการกลั่นกรองรายงานผลการ ตรวจสอบขอเท็จจริงของ เหตุการณดังกลาว และเห็นชอบตามขอสังเกตและความเห็นของ คณะกรรมการ ฯ โดยมมี าตรการท่เี กยี่ วกบั กระทรวงกลาโหม คือ ขอ 3 รับไปดําเนินการบรรจุ วิชาวาดวยสิทธิมนุษยชนพื้นฐานในการแสดงออกอยางเสรีใน หลักสูตรการศึกษาทุกแขนง โดยเฉพาะการบรรจวุ ชิ าวาดว ยสิทธมิ นษุ ยชนพืน้ ฐานในหลกั สูตรวิชาทางทหาร ตํารวจ และนัก ปกครองระดับตาง ๆ เพื่อใหตระหนักในคุณคาของสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติตนของ เจาหนาท่ีของ รัฐ ฯลฯ

131 2.2 จงเขยี นเครอื่ งหมาย x ทบั ตวั อกั ษร หนาขอ ที่ถกู ตองท่สี ุด 1. ค 2. ค 3. ง 4. ค 5. ค 6. ก 7. ก 8. ข 9. ก 10. ข 11. ก 12. ข 13. ค 14. ง 15. ค 16. ง 17. ข 18. ก 19. ง 20. ค

132 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ (2540). ชุดการเรยี นการสอนเรอ่ื งสหประชาชาติ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพครุ ุสภาลาดพรา ว กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (2546) . ชดุ การเรียนทางไกล หมวดวิชาพฒั นาสงั คม และชมุ ชน (เลม 2) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรสุ ภา ลาดพรา ว คณะอาจารย กศน. คูมือการเรยี นรูห ลกั สตู รใหมร ะดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สาระ การเรียนรู หมวดวชิ า พัฒนาสงั คมและชุมชน. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ไผม ีเดยี เซ็นเตอร จาํ กัด จกั ราวธุ คาํ ทวี. สนั ต/ิ สามคั คี/ปรองดอง/คา นยิ ม 12 ประการ ของ คสช. : เนื้อหา ชว ยสอนและจดั กจิ กรรม เพ่อื นครู, 2557. (เอกสารอดั สาเนา). ทพิ วรรณ จันทรส วยและคณะ (2554). สาระการพฒั นาสังคม รายวิชา ศาสนาและ หนาทพี่ ลเมอื ง(สค31002) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศกั ราช 2551. นนทบรุ ี : สาํ นักพมิ พ ลอง ไลฟ เอด็ จาํ กัด. เผดจ็ เอมวงศ และคณะ (2551). กฎหมายในประจาํ วัน : ตนเองครอบครวั ชุมชน และประเทศชาติ ชวงชั้นท่ี 3 กลมุ สาระการเรยี นรู สังคมศึกษาศาสนาและ วฒั นธรรม. กรุงเทพฯ : สาํ นักพิมพเ อมพันธ จาํ กัด ยุรารัตน พันธยุ รุ า และคณะ (2552). สิทธิมนษุ ยชน หมวดวชิ าพัฒนาสงั คมและ ชมุ ชน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษาระดบั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 . กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพเอมพนั ธ จํากัด ราชกิจจานุเบกษา เลม ที่ 127 ตอนท่ี 69 ก. ประกาศวนั ที่ 12 พฤษจิกายน 2553. พระราชบญั ญัตวิ ฒั นธรรมแหง ชาติ พทุ ธศกั ราช 2553. วรทั ภพ มีชอบธรรม (2556). สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ า ศาสนาและหนา ที่ พลเมอื ง(สค31002) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551. นนทบรุ ี : สํานกั พิมพป ยมิตร

133 มัลติมเี ดยี จาํ กดั . วิไล ทรงโฉม (2548). ส่อื การเรยี นรู หมวดวชิ าพัฒนาสังคมและชมุ ชน ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลายการศกึ ษานอกโรงเรยี นตามหลกั สตู รการศกึ ษา ระดบั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 . กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทลามาจรัญพานชิ จาํ กัด สถาบันการศกึ ษาทางไกล สํานักงาน กศน. (2548). ชุดการเรยี นทางไกล หมวดวิชา พฒั นาสังคมและชุมชน(เลม 2) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคก ารรับสงสินคา และพสั ดภุ ัณฑ สํานักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั . หนังสอื เรยี น สาระการพฒั นาสังคม รายวิชา ศาสนาและหนาทพี่ ลเมอื ง(สค31002) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2557) สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาต(ิ ป.ป.ช.). รวม พลงั เดนิ หนา ฝา วกิ ฤตคอรรปั ชัน, เอกสารประชาสมั พนั ธ มปป. สํานกั กฎหมาย สาํ นักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.). รวมกฎหมาย ระเบยี บ ประกาศ ท่เี กยี่ วขอ งกบั การปอ งกนั และ ปราบปรามการทุจรติ , 2555. ______.โครงการเสริมสรางเครอื ขา ยประชาชนในการพทิ กั ษส าธารณสมบัต,ิ 2553. (เอกสารอดั สาํ เนา) ______. “ยทุ ธศาสตรช าติวาดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ”. สาํ นักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ ______.กรอบเนอื้ หาสาระ เรอ่ื ง การมีสว นรว มของประชาชนในการปองกันและ ปราบปรามการทุจรติ , 2556. เอกสารอดั สาํ เนา วิกิพเี ดีย สารานกุ รมเสร.ี องคก รตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย. (เวป็ ไซต) . เขาถึงได จาก : https://th.wikipedia.org/wiki สืบคนเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2559. วกิ ิพเี ดยี สารานุกรมเสร.ี องคก รอน่ื ตามรฐั ธรรมนญู (เว็ปไซต). เขาถงึ ไดจาก : http://www.ago.go.th/function_2.php สบื คนเม่ือวันที่ 9 พฤษภาคม 2559.

134 วิกิพีเดยี สารานุกรมเสร.ี การปกครองสว นทอ งถนิ่ . (เว็ปไซต). เขาถงึ ไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ สืบคน เม่ือวนั ท่ี 9 พฤษภาคม 2559. วกิ ิพเี ดยี สารานุกรมเสรี. กฎหมายแพง และพาณิชย. (เว็ปไซต) . เขาถงึ ไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki สืบคนเม่อื วันท่ี 9 พฤษภาคม 2559. วกิ ิพเี ดีย สารานกุ รมเสรี. บทบญั ญตั แิ หงประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ยสํานกั งาน คณะกรรมการ กฤษฎกี า. (เว็ปไซต) . เขา ถงึ ไดจ าก : http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%BB03/%BB03-20-9999- update.pdf สบื คน เมอ่ื วันท่ี 9 พฤษภาคม 2559.

135 คณะผูจดั ทาํ ทปี่ รกึ ษา เลขาธิการ กศน. นายสุรพงษ จําจด รองเลขาธกิ าร กศน. นายประเสริฐ หอมดี ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ นางตรีนุช สขุ สเุ ดช และการศกึ ษาตามอยั าศัย ผูอาํ นวยการ สถาบนั กศน.ภาคกลาง นายวิมล ชาญชนบท รองผอู าํ นวยการ สถาบัน กศน.ภาคกลาง ด.ต.ชาติวุฒิ เพ็ชรนอ ย ผสู รปุ เนอื้ หา ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอสามโก นางจิรชั ยา เฟอ งฟูรตั น ครู สถาบัน กศน.ภาคกลาง นายบุญฤทธิ์ วริ ยิ านภุ าพพงศ ครู กศน.อําเภอสามโก นางสาวรงุ แสง ชูวงษ ครู กศน.อําเภอสามโก นางสาวปท มา พณิ พพิ ฒั นวรากลุ ครู สถาบัน กศน.ภาคกลาง นายธนากร ไชยโพคา ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ผอู าํ นวยการสํานักงาน กศน.จังหวดั ราชบุรี นางสาวดารตั น กาญจนาภา ครู กศน.อาํ เภอโพธาราม นายสนั ติ อิศรพันธุ ครู กศน.อาํ เภอปากทอ นางฟาหมน รัตนฉายา ครู กศน.อําเภอดาํ เนินสะดวก นางสาวจิตรา ถันอาบ ครู กศน.อําเภอเมอื งราชบุรี นางสาวอัญชลี ภวู พาณชิ ผพู ิมพต น ฉบบั ครู สถาบนั กศน.ภาคกลาง นายธนากร ไชยโพคา ผูออกแบบปก กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป และการศึกษาตามอธั ยาศยั

136


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook