Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติการในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 โรงเรียนวลีรัตน์วิทยา

คู่มือปฏิบัติการในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 โรงเรียนวลีรัตน์วิทยา

Published by ขวัญใจ จันทร์คณา, 2021-01-25 07:12:00

Description: คู่มือปฏิบัติการในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 โรงเรียนวลีรัตน์วิทยา

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นวลีรัตน์วิทยา คู่มือปฏบิ ัตสิ ำหรับการป้องกนั การแพร่ระบาด ของโรคโควดิ 19 ปีการศกึ ษา 2563 สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน

คำนำ คูมือการปฏบิ ัติการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับโรงเรยี น วลีรัตน์วิทยาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19 อย่างต่อเนื่องโดยเนน ความสอดคลองกบั บริบท ของสถานศึกษาและเอื้ออำนวยใหเกิดการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อใหนักเรียนและบุคลากรใน สถานศึกษาสามารถดำรงชวี ติ อยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยมีสาระสำคัญ ประกอด้วยองคความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบั โรคโควิด 19แนวปฏิบัติสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา ได้แก่ผู้บริหารเจาของสถานศึกษา ครู ผู้ดูแลเด็ก นักเรียนผปู้ กครอง และแมค่ รวั ผู้ปฏบิ ัตงิ านทำความสะอาด การจัดการดานอนามัยสงิ่ แวดลอมบริเวณต่าง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 และสื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพนักเรียน ตลอดจนข้ันตอนการดำเนนิ งานคัดกรองและสง่ ต่อแบบประเมินตนเองสำหรับสถานศกึ ษาแบบประเมินตนเอง สำหรับนักเรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพสำหรับนกั เรียน การจัดการเรียนการสอนชวงเปิดภาค เรยี น คณะผู้จัดทำม่งุ หวงั ว่าคมู อื การปฏบิ ัตโิ รงเรียนวลรี ตั นว์ ทิ ยาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19” ฉบับนี้ เป็น “เครื่องมือ” สำหรับสถานศึกษาและผู้เกีย่ วของสามารถนำไปใชตามบริบทและสถานการณ ของแตล่ ะสถานศึกษาภายใตความรว่ มมือจากทกุ ฝ่ายทเี่ กี่ยวของ เพ่ือปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ใหเกิดประโยชนสงู สุดตอไป คณะผ้จู ัดทำ

สารบญั หนา้ 1 ทำความรจู้ ักโควดิ -19 สญั ญาณและอาการของโควิด-19 2 ตดิ โควดิ หรอื เปลา่ เช็คสญั ญาณและอาการไดท้ ่นี ่ี เมอื่ ไหร่ควรไปหาหมอ 3 โควิด-19 ตดิ ไดจ้ าก 3 รู 3 ใครมีความเสยี งมากท่ีสุด 4 การป้องกนั และหยุดย้ังการแพรก่ ระจายของโควดิ -19 5 การรักษาผปู้ ว่ ยตดิ เชื้อโควดิ -19 6 ทำความเข้าใจเส้นทางการรักษาโรคโควิด 19 ตรวจพบโควดิ 19 ตอ้ งทำอย่างไร 6 มาตรการการเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการเปดิ ภาคเรียน (Preparation before reopening) 7 มาตรการควบคุมหลักในมติ ิการดำเนนิ งานเพื่อความปลอดภยั จากการลดการแพร่เช้อื โรค 16 6 ขอ้ ปฏิบัตใิ นสถานศกึ ษา ความเช่อื มโยง 6 มิติกับมาตรการการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียน 17 ขั้นตอนการดำเนินงานคัดกรองนักเรียนและส่งต่อนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาใน 18 การปอ้ งกันควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 19 วธิ กี ารตรวจคดั กรองสขุ ภาพ 21 วิธีการวัดอุณหภูมทิ างหนา้ ผาก 21 ขนั้ ตอนการซักประวัตแิ ละสงั เกตอาการเส่ยี ง แนวปฏบิ ัติสำหรบั สถานศกึ ษาระหว่างเปดิ ภาคเรียน จุดเน้นหนกั ถือปฏบิ ัติในโรงเรียนรองรับสถานการณโ์ ควดิ 19

สารบญั หนา้ 22 แนวปฏิบตั สิ ำหรบั ผบู้ ริหาร เจา้ ของสถานศึกษา 23 แนวปฏบิ ัติสำหรับครู ผ้ดู ูแลนกั เรียน 24 แนวปฏิบัติสำหรบั นักเรียน 24 บทบาทหนา้ ท่ขี องนักเรยี นแกนนำดา้ นสุขภาพ 25 แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับผูป้ กครอง 26 แนวปฏิบตั ิสำหรบั แม่ครัว ผจู้ ำหนา่ ยอาหาร และผปู้ ฏิบัติงานทำความสะอาด 30 แนวปฏิบัตดิ ้านอนามัยส่งิ แวดล้อม 39 มาตรการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 กรณเี กิดการระบาดในสถานศึกษา 40 ผังข้นั ตอนการคดั กรองนักเรียนและบุคลากรในสถานศกึ ษา 41 แบบประเมินตนเองสำหรบั สถานศึกษาในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรยี น เพ่ือเฝ้าระวงั และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19

ทำความรจู้ กั โควดิ -19 ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โควดิ -19 (COVID-19 : CO = corona, VI = virus, D = Disease) เปน็ เชื้อ ไวรสั ทีส่ ามารถกอ่ ให้เกิดโรคทางเดินหายใจ หลังติดเช้อื อาจไม่มอี าการ หรอื อาจมีอาการตั้งแตไ่ มร่ ุนแรง คือ คล้ายกับไข้หวัดธรรมดา หรืออาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงเป็นปอดอกั เสบและเสียชวี ิตได้ สญั ญาณและอาการของโควิด-19 อาจมีไข้ ไอ และหายใจหอบสน้ั ถ่ี ในผปู้ ว่ ยรายที่รนุ แรงจะพบการตดิ เชอื้ ที่อาจทำให้เกิดโรคปอดบวม หรอื หายใจลาํ บากและอาจถงึ แกช่ ีวิตได้ อาการเร่มิ ตน้ จะมลี กั ษณะคล้ายกับไข้หวดั ใหญ่ (Infuenza) หรือ ไข้หวดั ธรรมดา (Common cold) ติดโควดิ หรอื เปล่า เชค็ สญั ญาณและอาการได้ทนี่ ่ี 87.9 % มไี ขต้ ัวรอ้ น 67.7% ไอแหง้ ๆ 38.1% อ่อนเพลยี 33.4% มเี สมหะ 18.6% หายใจติดขดั 13.9% เจบ็ คอ 13.6% ปวดหัว 14.8% คร่นั เนอ้ื คร่ันตวั /ปวดข้อ หนาวสัน่ 11.4% วงิ เวยี น/อาเจียน คัดจมกู 5.0% ทอ้ งเสีย 4.8% 3.7% ผปู้ ่วยในกลุ่มในกลุ่มน้แี สดงอาการภายใน 14 วันโดยเฉลยี่ แลว้ เริม่ มอี าการในวันที่ 5 และ 6 เมื่อไหร่ควรไปหาหมอ มีอาการไข้ : อณุ หภมู ิสูงกว่าง 37.5 C ตวั ร้อน ปวดเนอื้ ปวดตวั หนาวสน่ั มีอาการระบบทางเดนิ หายใจ : ไอ จาม เจบ็ คอ มีน้ำมกู หายใจลำบาก • ให้รบี ไปพบแพทย์ โดยแจง้ เจา้ พนกั งานควบคุมโรคตดิ ต่อ หรือแจง้ 1669 • ไม่ใช้รถสาธารณะในการเดินทางโดยสวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา

โควิด-19 ติดไดจ้ าก 3 รู โควดิ -19 สามารถตดิ ตอ่ ผา่ นทางการสมั ผัสโดยตรงกับละอองของสารคัดหล่งั จากระบบทางเดนิ หายใจ และน้ำลายของผู้ติดเชื้อเช่น ไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย และยังสามารถแพร่เชื้อจากบุคคลหนึ่งไปสู่บุคคลอื่นได้ จากการสมั ผสั พนื้ ผิวท่ปี นเปื้อนเช้อื ไวรัส ซ่ึงเชอ้ื ดังกล่าวสามารถมชี วี ิตอยู่บนพน้ื ผิวต่าง ๆ หลายชัว่ โมง เม่ือมือ ไปสัมผัสเช้ือจะเข้าส่รู ่างกายใน3ชอ่ งทาง คอื รนู ำ้ ตา รูจมูก และรูปาก ลงสู่ลำคอ ทางเดินหายใจ และลงสู่ปอด ในท่ีสุด รนู ้ำตา รจู มกู รูปาก ไม่ขยี้ ดวงตามีช่องระบายมีน้ำตาท่ี ไม่แคะจมูก เชื้อโรคสามารถเข้าทาง ไม่จับปาก ปากเป็นช่องร่วมที่เช้ือ เช้อื โรคสามารถเข้ามาได้ โพรงจมกู สู่ทางเดนิ หายใจ โรคสามารถเขา้ สู่ทางเดนิ หายใจตอ่ ไป ใครมคี วามเสยี งมากทส่ี ดุ กลุม่ เสย่ี งทต่ี ้องระวัง หากตดิ เชอื้ อาจมีอาการรนุ แรง ➢ผสู้ ูงอายุ 70 ปีขึน้ ไป กลมุ่ ท่เี สียงโดยตรงทอี่ าจสมั ผัสกบั เชอื้ ➢ผ้ปู ว่ ยโรคเรือ้ รงั เชน่ เบาหวาน ความดันโลหติ สูง - เพง่ิ กลับจากพื้นที่เสีย่ ง หลอดเลือดหัวใจ หรอื ภูมแพ้ - สัมผัสใกล้ชดิ ผู้ปว่ ยสงสยั ติดเชอื้ ➢เด็กเลก็ ต่ำกว่า 5 ปี - แยกตัวเพื่อสงั เกตอาการ ณ ท่ีพกั 14 วนั ➢ อยู่บ้าน หลีกเลย่ี งสถานทแ่ี ออดั ➢ ล้างมือบ่อยๆ รกั ษา 3 รู “ตา จมกู ปาก” ➢ เวน้ ระยะการใกลช้ ิด 2 เมตร และสวมหนา้ กากผ้า

การปอ้ งกันและหยดุ ยง้ั การแพรก่ ระจายของโควดิ -19 มาตรการทางสาธารณสขุ ทั้งดา้ นสขุ อนามยั สว่ นบุคคลและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นสิง่ สำคญั อย่างย่งิ ในการชะลอการแพรก่ ระจายของเชือ้ โรค เพือ่ ใชเ้ ป็นมาตรการปอ้ งกนั โรคในชีวติ ประจำวันของทุกคน จงึ มี คำแนะนำดังนี้ • อยู่บ้านหรือในที่พักเมอ่ื เจ็บป่วย • ปดิ ปากและจมูกโดยใชก้ ระดาษทิชชู หรอื ในกรณีทหี่ าไมไ่ ดค้ วรงอขอ้ ศอกของตนเองเพือ่ ป้องกันกา ฟุ้งกระจายของนำ้ มูกและน้ำลายและให้กำจัดกระดาษทชิ ชทู ่ีใช้แลว้ ทงิ้ ทนั ที โดยใส่ถงุ ปิดมิดชิดเพราะ เป็นขยะติดเชื้อ แล้วล้างมือและข้อศอกดว้ ยน้ำและสบทู่ นั ที • ลา้ งมอื บ่อยๆ ด้วยสบู่และนำ้ สะอาด หากไม่สะดวกให้ล้างดว้ ยเจลแอลกอฮอลฆ์ า่ เชอ้ื • ทำความสะอาดพืน้ ผวิ และวตั ถทุ ี่สัมผัสบอ่ ย ๆ ด้วยน้ำสบูน่ ำ้ ยาฆา่ เชื้อ และนำ้ สามารถเรียนรู้เพ่ิมเตมิ เกี่ยวกับการปอ้ งกนั และลดการแพร่เช้ือโควิด-19 จากเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ ประจำท้องถนิ่ การป้องกันและหยุดย้งั การแพร่กระจายของโควิด-19 จากเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ประจำถิน่ การรกั ษาผปู้ ว่ ยติดเช้อื โควิด-19 ปจั จบุ ันยังไมม่ ีวคั ซนี สำหรบั ใช้ป้องกนั หรือยารักษาโควดิ -19 อยา่ งไรก็ตามอาการหลายอย่างสามารถ รกั ษาไดห้ ากไดร้ ับการดูแลต้งั แตเ่ นนิ่ ๆ จากผใู้ ห้บริการด้านสุขภาพและแพทย์

ทำความเขา้ ใจเส้นทางการรกั ษาโรคโควดิ 19 กล่มุ เส่ยี งโดยตรงที่ อาจสัมผัสกับเชือ้ เพ่ิงกลับจากพ้นื ทีเ่ สีย่ ง สมั ผสั ใกล้ชดิ ผูป้ ่วยสงสยั ตดิ เช้อื ตรวจรา่ งกายเพือ่ หาเช้อื โควดิ 19 แยกตวั เพอื่ สงั เกตอาการ 14 แยกตัวเพื่อสงั เกตอาการระหว่าง 14 วนั ไมม่ ีอาการ วันมไี ข้ อณุ หภูมิ 37.5 องศาเซลเซยี ส ร่วมกับอาการทางเดนิ หายใจ เช่น ไอ นา้ มกู เจ็บคอ เหนอื่ ยหอบ ดาเนินชวี ิตตามปกติ หลีกเลย่ี งสถานท่ี แจ้งเจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ต่อ แออัด ล้างมือบอ่ ยๆ เวน้ ระยะหา่ ง 2 หรอื 1669 เพือ่ ประสานการรบั ตัวไป พบแพทย์ ไมใ่ ช้รถสาธารณะในการ เมตรและสวมหน้ากาก เดนิ ทาง และสวมหนา้ กากอนามัยใน การเดินทาง

ตรวจพบโควิด 19 ตอ้ งทำอยา่ งไร แพทย์จะแบง่ กลุ่มตามอาการ กลุม่ ที่ 1 ไม่มีอาการ ( 20 % ของผพู้ บเชอ้ื ) ->สงั เกตอาการในโรงพยาบาล 2-7 วัน -> สังเกตอากา ราต่อท่ีหอพักผู้ป่วยเฉพาะ/โรงพยาบาลเฉพาะกจิ เช่น โรงแรมที่เรียกว่า ฮอสพิเทล (Hospitel) 14 วนั นับจากตรวจพบเชอ้ื -> เม่อื หายกลับบ้านตามปกติ ต้องใส่หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาทอี่ อกไป นอกบ้าน/อยู่ห่าง 2 เมตร /แยกห้องทำงานไมก่ ินอาหารร่วมกันจนครบ 1 เดือน กลมุ่ ท่ี 2 อาการไมร่ ุนแรงคล้ายไขห้ วัด (อายมุ ากกวา่ 60 ปี หรอื เป็นโรคเร้ือรัง) ->รกั ษาตามอาการ/ให้ ยารักษาไวรสั ในโรงพยาบาล 2-7 วนั ->สังเกตอาการตอ่ ใน ฮอสพเิ ทล (Hospitel) จนครบอยา่ งน้อย 14 วนั นบั จากมอี าการ เม่ือหายกลบั บ้านจะตอ้ งปฏิบัติเช่นเดยี วกับกล่มุ ที่ 1 กลุ่มท่ี 3 อาการรนุ แรงคลา้ ยหวัดปวดปกติ แต่มปี ัจจยั เส่ียง -> ใหย้ ารกั ษาไวรสั ในโรงพยาบาลตดิ ตาม ปอด -> สง่ เขา้ สังเกตอุ าการตอ่ อาการตอ่ ในฮอสพเิ ทล (Hospitel) จนครบอยา่ งนอ้ ย 14 วัน นบั จากมี อาการ -> เม่ือหายจะต้องปฏบิ ตั เิ ชน่ เดียวกันกบั กลมุ่ ท่ี 1 และกล่มุ ที่ 2 กลุ่มท่ี 4 ปอดอกั เสบไมร่ นุ แรง (12 % ของผู้พบเชอ้ื ) ใหย้ ารักษาไวรัสในโรงพยาบาล กล่มุ ท่ี 5 ปอดอักเสบรนุ แรง (3 % ของผพู้ บเชื้อ) ให้ยารกั ษาไวรัสในหอ้ งไอซียู

มาตรการการเตรยี มความพร้อมกอ่ นการเปิ ดภาคเรยี น (Preparation before reopening) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทุกภาคส่วน เมื่อสถานการณ์ เป็นไปในทางท่ีดีขึน้ การเปิดสถานศึกษาหลังจากปดิ จากสถานการณ์ โควิด 19 มีความจําเป็นอยา่ งยิ่งในการ เตรียมความพร้อมของสถานศึกษา การปฏิบตั ติ นของนักเรยี นและบุคลากรในสถานศึกษา เพอื่ ลดโอกาส การ ติดเชื้อและป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อโรคโควิด 19 ให้เกิดความปลอดภัยแก่ทุกคน จึงควรมีการประเมิน ความพร้อมการเปดิ ภาคเรียนของสถานศึกษาซึ่งองคก์ ารเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาตแิ ละองค์กรภาคี ได้เสนอ กรอบแนวทาง 6 มิติ ได้แก่ การดําเนินงานเพื่อความปลอดภัยการเรียนรู้ การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความเชื่อมโยงกับ มาตรการป้องกนั โรคเพอื่ ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโควิด 19 ของศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ 19) (ศบค.) อนั จะเป็นการวางแผนทจี่ ะชว่ ยสร้างเสริมความเขม้ แขง็ ด้าน การคมุ้ ครองสขุ ภาพและความปลอดภยั ของนักเรยี น มาตรการควบคุมหลักในมิติการดำเนินงานเพือ่ ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรค 6 ข้อ ปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษาได้แก่ 1. คดั กรองวดั ไข้ 2. สวมหน้ากาก 3. ล้างมอื 4. เวน้ ระยะห่าง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออดั โดยมีรายละเอียดแนวปฏิบัติแต่ละมาตรการ มาตรการควบคุมหลักในมติอื่น อาทิ การเรียนรู้ การ ครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน ตลอดจน มาตรการเสริมในแต่ละมิติ ดังนั้น จึงมีความเชื่อมโยงตามกรอบแนวทาง 6 มิติกับมาตรการการป้องกันโรค เพือ่ ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโควิด 19 ในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรียน มดี ังน้ี

ความเชือ่ มโยง 6 มติ กิ บั มาตรการการเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรียน มิติ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 1.ความปลอดภยั จากการ 1. มมี าตรการคดั กรองวดั ไขแ้ ละ 1. ทำความสะอาดพ้นื ท่ีทน่ี ักเรียน ใช้ ลดการ แพร่เชอ้ื โรค อาการเสี่ยง กอ่ นเขา้ สถานศึกษา รว่ มกัน ก่อนและหลังใช้งาน ทุกคร้ัง พรอ้ มสังเกตอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เชน่ ห้องคอมพิวเตอร์ เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ หอ้ งดนตรี ลิฟต์ อปุ กรณ์กฬี า ไมไ่ ด้กลนิ่ ไม่รรู้ ส สำหรับนกั เรียน 2. จดั ให้มีพนื้ ทใี่ นการเข้าแถว บคุ ลากรของ สถานศกึ ษา และ ผ้มู า ทำกจิ กรรม หรือเล่นกลุ่มย่อย เวน้ ตดิ ตอ่ ทกุ คน ระยะห่างระหว่างบุคคลอยา่ งน้อย 1 - 2. ใหน้ ักเรยี น บุคลากร และผู้เขา้ มา 2 เมตร ในสถานศกึ ษา ทกุ คนต้องสวม 3. ให้นักเรยี นใชข้ องใช้ส่วนตัว ไมใ่ ช้ หนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย สิ่งของร่วมกับผอู้ น่ื เช่น แก้วน้ำข้อน ตลอดเวลาเมื่ออยูใ่ นสถานศึกษา สอ้ ม แปรงสีฟันยาสีฟนั ผา้ เช็ดหนา้ 3. ใหม้ จี ุดบริการลา้ งมอื ดว้ ยสบู่และ 4. จัดใหม้ หี อ้ งพยาบาลสำหรับ แยกผู้ น้ำหรือเจลแอลกอฮอล์อย่างเพียงพอ มีอาการปว่ ยระบบทางเดิน หายใจ ในบริเวณตา่ งๆ เช่น ทางเข้าอาคาร ออกจากผ้มู ีอาการป่วย ระบบอ่ืน ๆ ห้องเรยี น โรงอาหาร หรอื พจิ ารณาสง่ ไป สถานพยาบาล 4. ใหจ้ ดั เว้นระยะห่างระหว่าง บคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร เชน่ ระหว่างโตะ๊ เรียน ท่ีน่งั เรียน ที่นั่งใน โรงอาหาร ท่ีน่ังพกั ทางเดนิ จุดรอ คอย ห้องนอนเดก็ เลก็ กรณีห้องเรียน ไม่เพยี งพอในการ จัดเว้นระยะห่าง ระหวา่ งบคุ คล ควรจัดให้มีการสลับ วันเรียนแตล่ ะชัน้ เรียน การแบง่ จำนวนนักเรยี นหรอื การแบ่งพ้นื ทใี่ ช้ สอยบริเวณสถานศกึ ษาตามความ เหมาะสม ทง้ั นี้อาจพจิ ารณาวิธปี ฏิบตั ิ ตามบรบิ ทความเหมาะสมโดยยึดหลกั Social distancing

มติ ิ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 5. เปิดประตู หนา้ ต่างให้ อากาศ 5. จดั ให้มกี ารส่ือสารความรู้ ถา่ ยเท ทำความสะอาดหอ้ งเรยี น และ การปอ้ งกันโรคโควดิ 19แก่ นกั เรียน บริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทำความสะอาด บุคลากร เพ่อื ใหส้ ามารถ ลา้ งมือ สวม พน้ื ผวิ สัมผสั ของ โตะ๊ เก้าอี้ และวสั ดุ และถอดหน้ากาก อย่างถกู วิธี การเก็บ อุปกรณ์ ก่อนเข้าเรียน พักเท่ยี ง และ รักษาหน้ากาก ช่วงพักเท่ยี งและการ หลังเลกิ เรียนทุกวัน รวมถงึ จัด ใหม้ ีถัง ทําความ สะอาดสถานทีแ่ ละอปุ กรณ์ ขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวม ของใช้ ท่ีถกู สขุ ลกั ษณะ ตลอดจนจดั ขยะ ออกจาก ให้มนี กั เรยี นแกนนำด้านสุขภาพ ห้องเรยี นเพื่อนำไปกำจัดทกุ วัน นักเรียนท่ี มจี ิตอาสาเป็นอาสาสมคั ร 6. ให้พิจารณาควบคุมจำนวนนกั เรียน ในการชว่ ยดูแล สุขภาพเพ่อื นนกั เรยี น ท่มี าร่วมกิจกรรม ลดแออดั หรอื ลด ด้วยกันหรอื เวลาทำกิจกรรมใหส้ ้ันลง เทา่ ที่จำเป็น ดแู ลรุ่นน้องด้วย หรอื เหล่ือมเวลา ทำกิจกรรม โดยถอื 6. กรณี มรี ถรบั - สง่ นกั เรียน เนน้ ให้ หลักหลีกเล่ียง การตดิ ตอ่ สมั ผัส ผโู้ ดยสารทุกคน สวม หน้ากากผา้ หรอื ระหว่างกนั หนา้ กากอนามัยทำความสะอาด ยานพาหนะและ บรเิ วณจดุ สัมผสั รว่ มกนั เชน่ ราวจับ เบาะนง่ั ทวี่ าง แขน กอ่ นรับ และหลงั จากสง่ นกั เรยี น แลว้ ทุกครงั้ ลดการพดู คยุ หรอื เลน่ กนั บนรถ ตลอดจนการจัดเวน้ ระยะห่าง ระหว่างทน่ี ั่ง

มิติ มาตรการคมุ หลกั มาตรการเสริม 2. การเรยี นรู้ 1. จดั หาสือ่ ความรู้ในการปอ้ งกนั 1. กรณีเดก็ เล็ก ไม่แนะนำใหใ้ ช้ ควบคุมโรคโควิด 19 สำหรับ \" ใช้ใน สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเรียนการสอน การเรียนรู้ นอก โดยขาดปฏสิ ัมพนั ธ์กับผู้สอน หอ้ งเรียน หรอื กิจกรรมพฒั นา ผ้เู รียน ครู ผูป้ กครอง ในรูปแบบของสื่อออนไลน์ : VTR , 2. ไมป่ ล่อยใหเ้ ดก็ และวัยรุน่ อยกู่ ับ Animation, Infographic แ ล ะ สื่ อ สื่อออนไลน์ (ที่ไม่ใช่สื่อการเรียน การ สิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์ แผ่นพับ สอน)นานเกินไปโดยทั่วไปกำหนด ภาพพลิก คมู่ อื แนวปฏิบัติ ระยะเวลา - 1ชั่วโมงต่อวันสำหรับเด็ก 2. เตรียมความพร้อมด้านการเรยี นรู้ เล็ก /ประถมศึกษา - 2 ชั่วโมงต่อวัน ของเด็กตามวัยและสอดคล้องกับ สำหรับเดก็ โต /มัธยมศกึ ษา พฒั นาการดา้ นสังคม อารมณ์ และ 3. สง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษาและนักเรยี น สติปัญญา ประเมินตนเองในการเตรียมความ 3. สรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบดูแล พร้อมก่อนเปิดภาคเรียนรองรับ ช่วยเหลือนักเรียน โดยบูรณาการ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ กิจกรรมส่งเสริมพัฒนานักเรียน ด้าน โรคโควิด 19 รวมถึงมี การตรวจคัด ทักษะชีวิต และความเข้มแข็ง ทางใจ กรองสขุ ภาพนกั เรียน อย่างต่อเนือ่ ง เจ้าในการเรยี นการสอนปกติ เพือ่ ช่วย 4. สนับสนนุ ใหน้ ักเรยี นใช้สือ่ รอบรู้ ให้นักเรียนจัดการ ความเครียดและ ด้านสุขภาพในรูปแบบและผ่าน รับมือกับการ เปลี่ยนแปลงได้อย่าง ช่องทางหลากหลายที่สามารถ เข้าถึง เหมาะสม ได้ อันจะช่วยสง่ เสริมให้เกิดความรอบ รู้ด้านสุขภาพ นำไปสู่การปฏิบัติตน ด้านสุขภาพ ที่เหมาะสม สะท้อนถึง การมี พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ สตโรคและปลอดภยั

มติ ิ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 3. การครอบคลมุ ถึง เดก็ ตอ้ ย โอกาส ก. 1. จัดหาวสั ดุสิง่ ของเคร่อื งใช้ 1. ประสานและแสวงหาการ เด็กพเิ ศษ ข. เด็กใน พน้ื ที่ เฉพาะหา่ งไกล และอุปกรณ์ล้างมือ เช่น สบู่ เจล สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์การป้องกันโรค มาก แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์ ห น ้ า ก า ก ผ้าหรือ โควิด 19 จากหน่วยงานของ จังหวัด หน้ากากอนามัยอย่างเพียงพอ และผู้เกี่ยวข้อง เช่น ศบค.จ.ท้องถิ่น สำหรับนักเรียนและบุคลากรใน เอกชน บริษัทห้างรา้ น ภาคประชาชน สถานศึกษา ควรมีสำรองโดยเฉพาะ เป็นตน้ เด็กเล็กที่เปื้อนง่าย เพราะถ้าขึ้นแฉะ 2. ปร ะ สาน ก าร ดำเน ิน ง าน ตาม จะไมส่ ามารถ แนวทางพัฒนากิจกรรมผู้เรียน ของ ป้องกนั เชื้อได้ กระทรวงศึกษา การ กรณีมีข้อจำกัด 2. มีการปรับรปู แบบการเรยี น ด้านเทคโนโลยี การสอนให้สอดคล้องกับบริบท การ ทางการศกึ ษา เข้าถงึ การเรียนรู้ในสถานการณ์ 3. ใช้สื่อสร้างความเข้าใจเรื่อง โรคโค การระบาดของโรคโควิด 19 วิด 19 และแนวทาง การดูแลตัวเอง 3. มมี าตรการส่งเสรมิ ให้นกั เรยี น โดยคำนึงถึงข้อจำกัดทางภาษาและ ไดร้ บั บรกิ ารสุขภาพข้ันพน้ื ฐาน สังคม กลุ่มนักเรียน พิการเรียนร่วม อยา่ งทวั่ ถึง เลือกใช้สื่อที่เป็นรูปภาพ หรือ เสียงท่ี เข้าใจง่ายมากกว่า ใช้ตัวอักษรเพียง 4. มีมาตรการการททำความสะอาด อย่างเดียว และจดั สภาพแวดลอ้ มของทพ่ี กั และเรือนนอนให้ถูกสุขลกั ษณะ 5. มีมาตรการการทำความสะอาด และจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้อง กบั ข้อบญั ญัติการปฏบิ ัติด้านศาสนกิจ 6. มีมาตรการดแู ลนักเรียนที่มี ความ บกพร่อง ด้านพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรม อารมณ์ ที่ สามารถเรียนร่วมกับ เด็กปกติ ให้แก่ นักเรียนที่มีภาวะ บกพร่องทาง สติปัญญา บกพร่อง ทางการเรียนรู้ บกพร่องด้าน พฤติกรรมอารมณ์

รวมถึงภาวะ สมาชี้สั้นและเด็กออทิ สติก มิติ มาตรการคุมหลกั มาตรการเสริม 4. สวัสดภิ าพและ การคุ้มครอง 1. จัดเตรียมแผนรองรับด้านการเรียน 1. สือ่ สารทำความเขา้ ใจกับบุคคล การสอนสำหรับนักเรียนป่วย กักตัว ทกุ ฝ่าย ใหข้ อ้ มูลทใี่ ห้ความเช่ือมัน่ ใน หรอื กรณีปดิ สถานศึกษา มาตรการปอ้ งกันและการดูแล ตาม ช่วั คราว ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือ ใน 2. จดั เตรยี มแนวปฏบิ ตั ิเพ่ือลดการ สถานศึกษา โดยเฉพาะ การ รังเกยี จและการตตี ราทางสังคม ระมดั ระวงั การสอ่ื สารและ คำพดู ท่ีมี (Social stigma) ผลตอ่ ทศั นคติ เพอ่ื ลติ การรงั เกยี จ 3. จัดเตรียมแนวปฏิบตั ิ ดา้ น การท่ตี ราทางสังคม (Social sigma) การจดั การความเครยี ดของครู กรณที อี่ าจพบ บุคลากร ใน และบุคลากร สถานศึกษา นักเรยี น ผ้ปู กครองที่ติด 4. ตรวจสอบประวตั เิ สียงของ โรคโควดิ 19 บุคลากรและนักเรยี น ตรวจสอบ เรื่อง 2. กรณีนกั เรยี นหรือบุคลากรป่วยจรงิ การกักตัวให้ครบ 14 วัน ก่อนมาทำ ตอ้ งใหห้ ยดุ รักษาจนกวา่ จะหาย เปน็ การเรยี นการสอนตามปกติและทุกวัน ปกติ โดยนำหลกั ฐาน ใบรับรองแพทย์ เปิดเรยี น มายนื ยัน เพอ่ื กลับ เข้าเรียนตามปกติ 5. กำหนดแนวทางปฏิบตั ติ าม โดยไมถ่ ือวา่ ขาดเรียนหรือขาดงาน ระเบียบสำหรับบุคลากรและนักเรียน 3. กกั ตวั ผู้ใกล้ชดิ กับผปู้ ว่ ยตามเกณฑ์ ที่สงสยั ตดิ เช้ือหรือป่วย ดว้ ยโรคโควิด ควบคุมโรคและดำเนนิ การชว่ ยเหลอื 19 โดยไม่ถือเป็น วันลาหรือวันหยุด เช่นเดียวกับผปู้ ว่ ย เรยี น

มิติ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 5. นโยบาย 1. สอื่ สารประชาสมั พนั ธ์แก่ครแู ละ 1. จัดระบบให้นกั เรยี นสามารถเขา้ ถึง บุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ความเข้าใจเบือ้ งตน้ เกย่ี วกับ กรณีขาดเรียน ลาป่วย ปิดสถาน โรคโควิด 19 ทักษะการล้างมือการ ศึกษา เช่น จัดรูปแบบการเรียน สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ออนไลน์ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การ สุขลักษณะส่วนบุคคลที่ดีรวมทั้งการ ติดต่อทางโทรศพั ท์Secial media การ ทำความสะอาดอย่างถูกวธิ ี ตดิ ตามเปน็ รายวัน หรอื รายสปั ดาห์ 2. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการสถาน 2.พิจารณาปิดสถานศึกษ าต าม ศกึ ษาขัน้ พื้นฐานแบบออนไลน์ สถานการณ์และความเหมาะสม กรณี หรือกลมุ่ ย่อยตามความจำเป็น นักเรียน ครู หรือ บุคลากร ใน 3. มีแผนงาน โครงการ และกิจกรรม สถานศึกษาอยู่ในกลุ่มเลี้ยงหรือ เป็น รองรับนโยบายและแนวทาง การ ผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อเข้ามา ใน ป้องกันโรคโควิด 19 ของสถานศึกษา สถานศึกษา ให้ประสานองค์กร 4.แต่งตั้งคณะทำงานรับผิดชอบ ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อทำความ เกี่ยวกับโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา สะอาดอาคารสถานที่ ทั้งภายใน ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย ค ร ู บ ุ ค ล า ก ร ภายนอกอาคาร และ สิ่งของเครื่องใช้ สถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง รวมทั้งรับแจ้ง หน่วยงานสาธารณสุข เจ้าหนา้ ท่ี ในพืน้ ที่ เพ่ือทำการสอบสวนโรค สาธารณสขุ และผเู้ กยี่ วข้อง 3. ส่ือสารให้มีความรู้เก่ียวกับ 5.กำหนดบทบาทหนา้ ที่ โดยมอบ การสังเกต อาการเสยี ง การมี แนวโนม้ หมายครู ครูอนามัยหรือบุคลากร เสี่ยงต่อการติดเชื้อ โควิด 19 ได้ง่าย สถานศึกษา ทำหน้าที่คัดกรอง วัดไข้ ได้แก่ เด็กที่มี อาการสมาธิสั้น (เป็น นักเรียน สังเกตสอบถาม อาการเสียง โรคที่มี อาการแสดงด้าน พฤติกรรม : แ ล ะ ป ร ะ ส า น ง า น เ จ ้ า ห น ้ า ที่ ซนเกนิ ไป ใจลอย รอคอยไมไ่ ด้ รอคอย สาธารณสุขในพื้นที่ ให้บริการในห้อง ได้น้อย) ทำให้เด็กกลุ่มนี้ เสี่ยงต่อการ พยาบาล รวมทั้ง การดูแลทำความ สัมผัสกับบุคคลอื่นวง แตะ สัมผัส สะอาดในบริเวณ สถานศึกษาและ ใบหน้า จมูก ปาก ตัวเอง รวมทั้ง บรเิ วณจุดเส่ยี ง

หลงลืมการใส่ หน้ากากผ้า หรือ หนา้ กากอนามยั มติ ิ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 5. นโยบาย (ตอ่ ) 6. ส่อื สารททำความเข้าใจผู้ปกครอง และนักเรียน โดยเตรียมการกอ่ น เปิด ภาคเรียนหรือวันแรกของ การเปิด เรียนเก่ียวกบั แนวทาง การปอ้ งกนั โรค โควิด 19 และ มีช่องทางการยึดต่อ ส่อื สาร 7. สถานศึกษามีการประเมินตนเอง เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ผ่านระบบออนไลน์ของ กระทรวงศึกษาธิการ/Thai STOP COVID กรมอนามัย หรือ ตามแบบ ประเมินตนเองสำหรับ สถานศกึ ษาใน การเตรียมความพร้อม ก่อนเปิดภาค เรียนเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการ แพร่ระบาดของ โรคโควดิ 19 8. มีมาตรการการจัดการด้านความ สะอาด รถ รับ - ส่งนักเรียน และขึ้น เองผู้ประกอบการ เพื่อป้องกัน การ แพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 โดยถอื ปฏิบัติอยา่ งเคร่งครัด 9. เสรมิ สรา้ งวัคซีนชมุ ชนในสถาน ศึกษา โดยมาตรการ “4 สร้าง 2 ใช้” - - สรา้ งสถานศกึ ษาที่ร้สู กึ “ปลอดภยั (safety) - สรา้ งสถานศกึ ษาท่ี “สงบ” (calm)

- สรา้ งสถานศกึ ษาทมี่ ี “ความหวัง” (Heps) มิติ มาตรการคุมหลัก มาตรการเสริม 5. นโยบาย (ตอ่ ) - สร้างสถานศึกษาท่ี“เข้าใจ เห็นใจ และให้โอกาส” (De-stigmatization) - ใช้ศักยภาพสถานศึกษาและ ชุมชน (Efficacy) เช่น ระบบ ดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี น แบ่งปัน ทรัพยากรในชุมชน - ใชส้ ายสมั พนั ธใ์ นสถานศึกษา (Connectedness) 10. มีการกำกบั \"ตดิ ตามใหม้ ีการ ดำเนินงาน ตามมาตรการเพ่ือปอ้ งกัน การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อย่างเคร่งครัด 6. การบริหารการเงิน 1. พจิ ารณาการใช้งบประมาณของ 1. ประสานงานและแสวงหาแหล่งทนุ สถานศึกษาสำหรับกิจกรรม การ และการสนับสนุนจากหน่วยงาน ป้องกันการระบาดของ โรคโควิด 19 องค์กรหรือภาคเอกชน เช่น ท้องถิ่น ตามความจำเป็นและเหมาะสม บริษัท ห้างร้าน NGO เป็นต้น เพื่อ 2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกัน โรคโค สนับสนุนกิจกรรม การป้องกันการ วิด 19 สำหรับนักเรียนและ บุคลากร แพรร่ ะบาดของ โรคในสถานศึกษา ในสถานศึกษา เช่น หน้ากากผ้าหรือ 2.พิจารณาสรรหาบุคลากรเพ่ิมเติม ใน หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ การดูแลนักเรียนและการจัดการ เป็นตน้ ส่งิ แวดล้อมใน สถานศกึ ษา

การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ( Preparing the reopening of schools) หลังจาก ปิด สถานศึกษาเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เป็นสถานการณ์ไม่ปกติ ไม่เคยเกิดขึ้นมา ก่อน มคี วามไม่แนน่ อน อาจต้องปิดหรือเปิดตามสถานการณ์ สถานศกึ ษาควรมีการประเมนิ การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ( Preparing the reopening of schools) หลงั จาก ปดิ สถานศกึ ษาเนือ่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 เป็นสถานการณไ์ มป่ กติ ไม่เคยเกิดขน้ึ มา ก่อน มีความไมแ่ นน่ อน อาจตอ้ งปดิ หรือเปิดตามสถานการณ์ สถานศึกษาควรมีการประเมนิ ความพร้อมของ ตนเอง เพ่ือเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดเรียน ผ่านระบบออนไลน์ของกระทรวงศึกษาธกิ าร และ THAI STOP COVID กรมอนามัย มกี ลไกการตรวจรับรองการประเมนิ จากหน่วยงานหรือผู้เกี่ยวข้องในพนื้ ท่ี เชน่ คณะกรรมการ สถานศกึ ษาหรือหนว่ ยงานสาธารณสุขในระดับพื้นที่ เป็นต้น แนะนำใหม้ กี ารคัดกรองสขุ ภาพ นกั เรียนและ บคุ ลากรทเ่ี กีย่ วข้องก่อนเปิดภาคเรียน ตามแบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษา และแบบ ประเมินตนเองของ นกั เรยี น (ภาคผนวก)

ข้นั ตอนการดำเนินงานคัดกรองนักเรียนและสง่ ต่อนกั เรียนและบุคลากรในสถานศึกษาในการป้องกนั ควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 คัดกรองสุขภาพนกั เรยี นและบุคลากรในสถานศกึ ษา ก่อนเขา้ สถานศกึ ษา -วดั อุณหภมู ดิ ว้ ยเครือ่ งวดั อณุ หภูมทิ าง 1.จดั อปุ กรณ์การคัดกรองสขุ ภาพ หน้าผาก 2.จดั อุปกรณ์การล้างมือ - ให้นกั เรยี นล้างมอื ด้วยสบแู่ ละนำ้ หรือเจล 3.แบบบันทึกการตรวจคดั กรองสขุ ภาพ แอลกอฮอล์ (นักเรียนและบุคลากรได้รับการประเมนิ - ตรวจการใสห่ น้ากากผา้ หรอื หนา้ กาก ความเส่ียงก่อนเปดิ ภาคเรียนทกุ คน) อนามยั ทกุ คน - กรณบี ุคคลภายนอกกรอกขอ้ มูลประวตั เิ สีย่ ง ไม่มไี ข้ (<37.5 C) มีไข้ (≥37.5 C) กล่มุ เสีย่ ง หรอื ไมม่ อี าการ หรือมีอาการ ทางเดนิ หายใจ ทางเดินหายใจ ตดิ สัญลักษณ์ มปี ระวตั ิเส่ียงสงู มปี ระวัติเส่ยี งตำ่ - เขา้ เรยี นตามปกติ - แยกนักเรยี นไว้ทห่ี ้อง -แยกนกั เรียนไวท้ ่หี ้องจดั เตรยี มไว้ -แยกนักเรยี นไว้ท่หี ้องจดั เตรยี มไว้ - ปฏบิ ัติตาม จัดเตรยี มไว้ -บันทึกรายชอ่ื และอาการป่วย -บนั ทกึ รายชอ่ื และอาการป่วย มาตรการการ - บนั ทกึ รายชื่อและอาการปว่ ย ปอ้ งกนั - ประเมินความเส่ียง - แจง้ ผปู้ กครอง แจ้งผปู้ กครองมารับไปพบแพทย์ แจ้งผ้ปู กครองมารบั ไปพบแพทย์ แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ แจง้ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ ประเมนิ สถานการณ์การสอบสวน ประเมินสถานการณก์ ารสอบสวน โรค โรค ไม่มีประวตั เิ สีย่ ง

- ใหพ้ านกั เรียนไปพบแพทย์ เก็บตวั อยา่ ง - ใหห้ ยุดพกั จนกว่าจะหายเปน็ ปกติ เก็บตวั อยบู่ า้ น ตดิ ตามดูอาการใหค้ รบ 14 วัน วิธีการตรวจคดั กรองสุขภาพ ผูร้ บั ผดิ ชอบติดตามอาการนักเรยี นและรายงาน ผลให้ผบู้ ริหารสถานศึกษา ผเู้ ก่ียวขอ้ ง การตรวจคัดกรองสขุ ภาพเบื้องตน้ ชว่ งสถานการณ์โรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ทสี่ ำคัญ ได้แก่ การ ตรวจวัดอุณหภูมิรา่ งกายหรือวัดไข้ การซกั ประวัตกิ ารสัมผสั ในพนื้ ทเ่ี สย่ี ง การสงั เกตอาการเสยี่ งตอ่ การติดเช้ือ โดยมีวิธปี ฏบิ ตั ิท่สี ำคัญพอสงั เขป ดงั นี้ วิธกี ารตรวจวดั อณุ หภูมิร่างกายหรอื วัดไข้ เคร่อื งวดั อุณหภมู ริ ่างกาย คนทวั่ ไปจะมอี ณุ หภูมิรา่ งกายอยรู่ ะหวา่ ง 36.5 - 37.4 องศาเซลเซียส สำหรบั ผทู้ ี่เริม่ มไี ขห้ รือสงสยั ว่า ติดเชอื้ จะมอี ุณหภมู ทิ ่ีมากกว่า 37.5 องศาเซลเซยี ส เครอื่ งวัดอณุ หภูมิร่างกาย มี 4 แบบ ไดแ้ ก่ 1) เครอ่ื งวัดอณุ หภูมแิ บบแท่งแกว้ นิยมใช้วดั อณุ หภมู ิทางปากหรอื ทางรักแรใ้ นผ้ใู หญห่ รอื เดก็ โต แต่ ไมเ่ หมาะสำหรบั ใช้ในเด็กเลก็ ขอ้ ดี : อ่านค่าอุณหภูมิมีความน่าเช่ือถอื และมีความถกู ตอ้ ง ขอ้ เสยี : ใช้เวลาในการวดั นาน ไมเ่ หมาะสมในการคัดกรองผู้ปว่ ยจำนวนมาก 2) เครื่องวัดอุณหภมู ิแบบดจิ ติ อล หน้าจอแสดงผลเปน็ แบบตวั เลข ทำให้ง่ายตอ่ การอา่ นคา่ เคร่ืองมอื ชนิดน้ีนยิ มใช้ในการวัดอุณหภมู ทิ างปากหรือทางรกั แรใ้ นผใู้ หญ่หรอื เดก็ โต รวมถงึ ใชใ้ นการวดั อณุ หภมู ิทางทวาร ของเดก็ เลก็ ด้วย ขอ้ ดี : อา่ นค่าอุณหภูมมิ ีความน่าเช่อื ถือและมีความถกู ตอ้ ง ข้อเสีย : ใชเ้ วลาในการวดั นอ้ ยกวา่ แบบแท่งแก้ว แตย่ งั ไมเ่ หมาะในการใช้ในการคัดกรองคนจำนวน มาก 3) เคร่ืองวัดอุณหภูมใิ นชอ่ งหู ใช้วดั อุณหภมู ิความรอ้ นทีแ่ พรอ่ อกมาของรา่ งกายโดยไมส่ มั ผัสกบั อวยั วะทว่ี ัดมหี นา้ จอแสดงผลเป็นแบบตัวเลขทำให้ง่ายตอ่ การอา่ นค่า บรเิ วณปลายมีเซ็นเซอรว์ ัดรังสี อนิ ฟราเรดท่ี รา่ งกายแพร่ออกมา โดยเครื่องมอื ได้ออกแบบใหว้ ดั ที่บรเิ วณเยอื่ แกว้ หู ขอ้ ดี : อ่านค่าอณุ หภมู ไิ ด้รวดเรว็ เหมาะสมกับการคัดกรองคนจำนวนมาก ข้อควรระวัง : การปนเปอ้ื นและติดเชอื้ จากทางหกู รณไี มเ่ ปล่ยี นปลอกหุ้ม 4) เคร่ืองวัดอณุ หภมู ทิ างหนา้ ผาก เป็นเครือ่ งที่พัฒนามาเพ่ือลดโอกาสในการติดเชอื้ ของเครื่องวดั อุณหภูมใิ นชอ่ งหู แตย่ ังคงวัดอณุ หภมู ิ 96 ได้อยา่ งรวดเร็ว เพือ่ ใช้ในการคดั กรองผปู้ ่วยจำนวนมาก มีหน้าจอ แสดงผลเป็นแบบตวั เลข บริเวณปลายมเี ซ็นเซอร์วดั รงั สีอนิ ฟราเรดที่ผวิ หนงั โดยเคร่ืองมอื ไดอ้ อกแบบให้วัดท่ี บริเวณหนา้ ผาก

ข้อดี : อา่ นค่าอุณหภมู ไิ ด้รวดเร็ว เหมาะสมกับการคดั กรอง วิธกี ารวัดอณุ หภูมทิ างหนา้ ผาก 1. ตั้งคา่ การใช้งานเปน็ แบบวดั อณุ หภมู ิร่างกาย (Body Temperature) เคร่ืองวัดอุณหภูมิทางหน้าผากมี 2 แบบ คอื - แบบวัดอุณหภูมพิ น้ื ผิว (Surface Temperature) ใช้ วัดอณุ หภูมิวตั ถุท่ัวไป เช่น ขวดนม อาหาร - แบบวัดอุณหภูมิร่างกาย (Body Temperature) ใช้วดั อุณหภูมผิ วิ หนัง จะแสดงค่าเปน็ อุณหภมู ิ ร่างกาย 2. วดั อณุ หภมู ิ โดยเคร่ืองวดั อณุ หภูมไิ ปท่บี ริเวณหนา้ ผาก ระยะหา่ งประมาณ 3 เซนตเิ มตร ท้งั น้ี ขน้ึ อยู่กบั ผลิตภัณฑ์ตามคาแนะนาท่ีกำหนด แล้วกดป่มุ บนั ทกึ ผลการวดั ขณะทาการวดั ไมค่ วรส่ายมือไปมาบน ผิวหนังบรเิ วณทที่ าการวัด และไมค่ วรมีวัตถุอื่นบงั เช่น เส้นผม หมวก หนา้ กาก เหงอื่ เปน็ ต้น การอ่านค่าผลการอ่านค่าผลการวดั เมอ่ื มีสญั ญาณเสยี งหรอื สญั ลักษณ์ แสดงวา่ ทาการวดั เสรจ็ หาก อา่ นค่าผลไมช่ ดั เจน สามารถวัดได้ ค่าผลการวัดไม่เท่ากัน ให้ใชค้ ่าผลมากที่สดุ โดยทั่วไปอุณหภูมิ รา่ งกายปกติ อยใู่ นชว่ งระหวา่ ง 36.1-37.2 องศาเซลเซยี ส หากตรวจวดั อุณหภมู ิร่างกาย ตัง้ แต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขนึ้ ไป ถือวา่ มใี ช้ ตอ้ งไดร้ ับการตรวจวินจิ ฉยั ต่อไป ขอ้ ควรระวัง ➢ ศึกษาคมู่ อื การใชง้ านเครอ่ื งวัดอณุ หภูมิกอ่ นการใช้งาน ➢ เครือ่ งวัดอุณหภูมิผิวหนงั ควรอยูใ่ นสภาวะแวดลอ้ มของพน้ื ท่ีทำการวดั ไมน่ ้อยกว่า 30 นาที เพ่ือใหอ้ ณุ หภูมิของเครือ่ งวัดเท่ากับอุณหภูมแิ วดล้อม ➢ ไมค่ วรสัมผสั หรอื หายใจบนเลนส์ของหัววดั หากมสี งิ่ สกปรกบนเลนส์ให้ใช้ผ้านมุ่ แหง้ หรือ สำลีพนั กา้ นไม้ทำความสะอาด ไมค่ วรเชด็ ด้วยกระดาษทิชชู ผูร้ ับการตรวจวดั วังควรอยใู่ นบริเวณจดุ ตรวจวตั อย่างนอ้ ย 5 นาที ก่อนการวัด ไมค่ วรออกกำลังกายหรือ อาบนำ้ กอ่ นถกู วดั อณุ หภมู ิเปน็ เวลาอย่างน้อย 30 นาที การถือเคร่ืองวดั อณุ หภูมิหนา้ ผากเปน็ เวลานานมีผล ให้อุณหภูมภิ ายในของเครอื่ งวัดสงู ขึน้ และจะส่งผล การวัดอณุ หภมู ิร่างกายผดิ พลาด ➢ อณุ หภมู ริ า่ งกายขึน้ อยูก่ บั การเผาผลาญพลังงานของแต่ละคน เสอื้ ผ้าที่สวมใสขณะทำการวดั อณุ หภูมแิ วดลอ้ ม กจิ กรรมท่ีทำ ผ้ทู ี่มปี ระวตั ิใชห้ รือวดั อุณหภมู ิภายใต้ ตั้งแต่ 375 องศาเซลเซียส ข้นึ ไป รว่ มกบั อาการทางเดนิ หายใจ อย่างใดอยา่ งหนง่ึ (มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไม่ไดก้ ล่นิ ไม่รู้รส) และมีประวตั ิสัมผัสใกล้ชดิ กับผ้ปู ว่ ยยืนยนั ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการ ถอื ว่า เปน็ ผู้สมั ผัสความเสีย่ ง (กลุม่ เสยี่ ง) ตอ้ งรีบแจ้งเจ้าหน้าท่ี สาธารณสุขดำเนินการตอ่ ไป

ขน้ั ตอนการซกั ประวตั แิ ละสงั เกตอาการเสย่ี ง โดยสอบถามเกีย่ วกับประวัตกิ ารสัมผสั ในพื้นทเ่ี ส่ยี ง พนื้ ท่ที มี่ ผี ปู้ ่วยตดิ เชอ้ื หรอื พื้นที่ทีม่ ีคนจำนวนมาก และ สงั เกตอาการเสยี่ งต่อการติดเช้ือหรืออาการทางเดินหายใจ เช่น ไอ มนี ้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ย หอบ ไมใ่ ห้กลิน่ ไม่รู้รส เปน็ ต้น โดยมวี ธิ ปี ฏิบัติ ดังน้ี 1) จดั ต้งั จุดคดั กรองบริเวณทางเขา้ ของสถานศึกษา พจิ ารณากำหนดจดุ คดั กรองตามความเหมาะสม กบั จำนวนนกั เรียน โดยยดึ หลัก Secial distancing 2) วดั อณุ หภูมติ ามคำแนะนำของเครื่องวดั อณุ หภูมิตามผลติ ภณั ฑ์น้นั พรอ้ มอ่านค่าผลท่ีได้ (มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ถอื ว่า มใี ช้) 3) ใหผ้ ู้รบั การตรวจคัดกรองลา้ งมอื ดว้ ยสบู่และน้ำ หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมอื 4) ตรวจสอบการสวมหนา้ กาก (Check mask) ของบุคคลทกุ คนทเี่ ข้ามาในสถานศกึ ษา 5) สอบถามและซักประวตั ิการเคยไปสมั ผสั ในพน้ื ทีเ่ ส่ยี ง พน้ื ทที่ ีม่ ีผปู้ ่วยติดเช้ือ หรือพน้ื ท่ที ่มี ี คนจำนวนมากและสงั เกตอาการเสยี่ งต่อการติดเช้ือหรอื อาการทางเดินหายใจ เช่น ไอ มีนำ้ มูก เจ็บ คอ หายใจ ลำบากบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ดก้ ลน่ิ ไม่รูร้ ส เปน็ ต้น รวมถึงบนั ทกึ ผลลงในแบบบันทึกการตรวจคดั กรองสุขภาพ สำหรับหรับ นกั เรยี น บุคลากร หรอื ผู้มาตดิ ต่อในสถานศกึ ษา (ภาคผนวก) กรณี วดั อณุ หภูมิร่างกายได้ ไมเ่ กนิ 37.5 องศาเซลเซยี ส และไมม่ ีอาการทางเดินหายใจ (ไอ มีนำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจสบาย เหนอื่ ยหอบ ไม่ให้กลน่ิ ไมร่ รู้ ส) ไม่มปี ระวตั ิสัมผัสใกล้ชิดกบั ผู้ป่วยยนื ยนั ในช่วง 14 วนั ก่อนมีอาการ ถอื ว่า ผ่านการคัดกรอง จะติดสญั ลักษณ์หรือสต๊กิ เกอร์ ใหเ้ ขา้ เรียนหรือปฏิบัตงิ านได้ตามปกติ กรณี วัดอณุ หภมู ริ า่ งกาย ตงั้ แต่ 37.5 องศาเซลเซียส ข้ึนไป หรอื มใี ช้ ร่วมกับอาการทางเดินหายใจ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง (ไอ มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รรู้ ส) ให้ปฏิบัติ ดงั นี้ ➢ แยกนักเรียนไปไวท้ ี่หอ้ งแยกซงึ่ จดั เตรยี มไว้ ➢ บนั ทกึ รายชือ่ และอาการปว่ ย ➢ ประเมนิ ความเสย่ี ง ➢ แจง้ ผ้ปู กครอง ➢ หากไมม่ ปี ระวตั เิ ส่ียง ให้พานกั เรียนไปพบแพทย์ และให้หยดุ พักจนกว่าจะหายเปน็ ปกติ หากตรวจพบว่า มปี ระวตั ิเลี้ยง และ/หรือมปี ระวตั สิ มั ผัสใกล้ชดิ กบั ผู้ปว่ ยยืนยันหรือสงสยั มีประวตั ิ เดินทางไปในพื้นที่เส่ยี งหรอื พ้ืนท่เี กดิ โรค ไปในพ้นื ท่ีท่มี ีคนแออดั จำนวนมาก ในช่วง 14 วนั ก่อนมอี าการ ถอื วา่ เปน็ ผสู้ มั ผัสท่ีมีความเสีย่ ง (กลุม่ เส่ยี ง) โดยจำแนกเป็นกลุม่ เสยี่ งมีประวัติเสย่ี งสงู และกลมุ่ เสีย่ งมีประวตั ิเสี่ยงต่ำ ให้ปฏบิ ตั ิ ดังนี้

กลุม่ เส่ยี งมปี ระวัติเส่ียงสงู ➢ แยกนักเรียนไปไวท้ ห่ี ้องแยกซ่งึ จดั เตรียมไว้ ➢ บนั ทึกรายชอ่ื และอาการปว่ ย ➢ แจง้ ผปู้ กครอง ใหม้ ารับนักเรียน แล้วพาไปพบแพทย์ ➢ แจ้งเจา้ หนา้ ที่สาธารณสุขประเมนิ สถานการณ์การสอบสวนโรค ➢ ทำความสะอาดจดุ เสีย่ งและบรเิ วณโดยรอบ ➢ เก็บตวั อยา่ ง ➢ กักตวั อยู่บ้านติดตามอาการให้ครบ 14 วนั ➢ ครูรวบรวมข้อมลู และรายงานผลให้ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผู้เก่ยี วขอ้ ง กล่มุ เส่ยี งมปี ระวัติเส่ยี งตำ่ ➢ แยกนักเรียนไปไวท้ ีห่ อ้ งแยกซึง่ จดั เตรยี มไว้ ➢ บนั ทึกรายช่อื และอาการป่วย ➢ แจ้งผูป้ กครอง ให้มารับนกั เรียน แล้วพาไปพบแพทย์ ➢ แจง้ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ➢ แจ้งท้องถิน่ ทำความสะอาด จดุ เสย่ี ง และบริเวณโดยรอบ ติดตามอาการให้ครบ 14 วนั ➢ ครรู วบรวมข้อมลู และรายงานผลให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษาผเู้ ก่ยี วขอ้ ง

แนวปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาระหว่างเปิดภาคเรยี น ผู้ที่มีประวตั ไิ ข้หรือวัดอณุ หภมู ติ ายได้ ต้งั แต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึน้ ไป รว่ มกับอาการทางเดินหายใจ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ (มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ดก้ ลิ่น ไม่รูร้ ส) และมปี ระวัติสมั ผัสใกล้ชดิ กบั ผปู้ ว่ ยยนื ยัน ในชว่ ง 14 วนั ก่อนมอี าการ ถือว่า เปน็ ผ้สู มั ผสั ความเสี่ยง (กลมุ่ เส่ียง) ต้องรีบแจง้ เจ้าหนา้ ท่ี สาธารณสุขดำเนินการต่อไป หลักปฏิบัติในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา 1) คดั กรอง (Screening) : ผูท้ ี่เขา้ มาในสถานศึกษาทกุ คน ตอ้ งไดร้ บั การคัดกรองวัดอณุ หภูมิรา่ งกาย 2) สวมหน้ากาก (Mask) : ทุกคนตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาทอี่ ยู่ใน สถานศึกษา 3) ล้างมือ : ล้างมอื บ่อย ๆ ด้วยสบแู่ ละนำ้ นานอยา่ งนอ้ ย 20 วนิ าที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ (Hand Washing) หลกี เล่ียงการสมั ผสั บรเิ วณจุดเส่ยี ง เช่น ราวบนั ได ลูกบดิ ประตู เป็นต้น รวมท้งั ไม่ใชม้ ือสมั ผัส ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น 4) เวน้ ระยะห่าง : เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร รวมถึงการจดั เว้นระยะหา่ ง (Social Distancing) ของสถานที่ 5) ทำความสะอาด : เปิดประตู หนา้ ตา่ ง ให้อากาศถา่ ยเท ทำความสะอาดหอ้ งเรยี นและบรเิ วณต่าง ๆ (Cleaning) โดยเช็ดทำความสะอาดพ้นื ผวิ สมั ผัสของโตะ๊ เก้าอ้ี และวัสดุอปุ กรณ์ ก่อนเข้าเรียน ช่วงพักเท่ยี ง และหลงั เล็กเรียนทุกวนั รวมถงึ จดั ใหม้ ีถงั ขยะมลู ฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรยี น เพอ่ื นำไปขัดทกุ วนั 6) ลดแออัด (Reducing) : ลติ ระยะเวลาการทำกิจกรรมให้สั้นลงเท่าท่ีจำเป็นหรือเหลอ่ื มเวลาทำ กิจกรรมและหลีกเสยี่ งการทำกจิ กรรมรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ ลดแออดั จดุ เน้นหนกั ถือปฏบิ ตั ใิ นโรงเรยี นรองรับสถานการณโ์ ควิด 19

1.วัดไข้ 6.ลดแออดั 6 ข้อปฏบิ ัติ 2.ใส่ ผ้บู ริหาร ในโรงเรียน หน้ากาก โรงเรียน 5.ทาความ สะอาด 4.เว้น 3.ล้างมือ ครู ระยะห่าง ผู้ปกครอง นักเรียน แม่ครัว แม่ค้า นักการ เพื่อให้แนวปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 เกดิ ประโยชน์ และ มผี ลกระทบในทางทีด่ ีต่อบุคลากรท่ีเก่ยี วข้อง ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ าร เจา้ ของสถานศึกษา ครู ผู้ดูแลนักเรยี น ผ้ปู กครอง นักเรยี น และแม่ครวั ผู้จำหน่ายอาหาร ผปู้ ฏบิ ัตงิ านทำความสะอาด ดงั นน้ั จงึ กำหนดให้มีแนว ปฏิบัตสิ ำหรบั บุคลากรของสถานศกึ ษาสำหรับใช้เป็นแนวทางการปฏบิ ัตติ นอยา่ งเครง่ ครัด มีดงั นี้ แนวปฏิบัติสำหรบั ผู้บริหาร เจ้าของสถานศึกษา 1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา 2. จดั ต้ังคณะทำงานดำเนนิ การควบคมุ ดูแลและป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ประกอบดว้ ย ครนู กั เรียน ผูป้ กครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทอ้ งถนิ่ ชุมชน และผูเ้ ก่ียวข้อง พร้อมบทบาท หนา้ ที่ 3. ทบทวน ปรับปรุง ซอ้ มปฏิบตั ิตามแผนฉกุ เฉนิ ของสถานศกึ ษาในภาวะท่มี กี ารระบาดของโรคติดเช้ือ (Emergency operation for infectious disease outbreaks) 4. สือ่ สารประชาสัมพนั ธ์การปอ้ งกันโรคโควดิ 19 เกี่ยวกบั นโยบาย มาตรการ แนวปฏบิ ัติ และการ จัดการเรียนการสอนใหแ้ กค่ รู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผ่านชอ่ งทางส่อื ที่เหมาะสม และติดตามขอ้ มูลข่าวสารที่เก่ยี วขอ้ งกบั โรคโดวิด 19 จากแหล่งข้อมูลที่เชอ่ื ถอื ได้ 5. สื่อสารทำความเขา้ ใจเพื่อลดการรังเกยี จและลดการท่ตี ราทางสงั คม (Social stigma) กรณอี าจพบ บคุ ลากรในสถานศึกษา นักเรียน หรอื ผปู้ กครองติดเชอ้ื โรคโควิด 19 6. มีมาตรการคดั กรองสุขภาพทุกคน บรเิ วณจุดแรกเข้าไปในสถานศกึ ษา (Point of entry) ใหแ้ ก่ นักเรยี น ครู บคุ ลากร และผมู้ าติดตอ่ และจัดให้มีพนื้ ท่แี ยกโรค อปุ กรณป์ อ้ งกัน เชน่ หน้ากากผา้ หรือหนา้ กาก อนามยั เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพยี งพอ รวมถงึ เพิม่ ชอ่ งทางการส่อื สารระหวา่ งครู นักเรยี น ผู้ปกครอง และ เจ้าหน้าที่สาธารณสขุ ในกรณีท่ีพบนกั เรยี นกลุม่ เส่ียงหรอื สงสยั

7. ควรพิจารณาการจัดให้นักเรยี นสามารถเขา้ ถงึ การเรยี นการสอนท่ีมคี ณุ ภาพเหมาะสมตามบริบท ได้ อย่างต่อเน่ือง ตรวจสอบตดิ ตาม กรณีนักเรยี นขาดเรยี น ลาปว่ ย การปิดสถานศกึ ษาการจัดใหม้ กี ารเรียน ทางไกล สื่อออนไลน์ การติดตอ่ ทางโทรศพั ท์ Social media โดยติดตามเปน็ รายวัน หรอื สปั ดาห์ 8. กรณีพบนักเรยี น ครู บุคลากร หรอื ผปู้ กครองอยูใ่ นกล่มุ เสี่ยงหรือผปู้ ว่ ยยืนยนั เข้ามาในสถานศกึ ษา ใหร้ บี แจ้งเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขในพืน้ ที่ เพอ่ื ดำเนินการสอบสวนโรคและพิจารณาปิดสถานศกึ ษา ตามแนวทาง ของกระทรวงสาธารณสขุ 9. มมี าตรการให้นักเรยี นได้รบั อาหารกลางวันและอาหารเสริมนมตามสิทธิท์ ี่ควรได้รับ กรณีพบอยใู่ น กลมุ่ เส่ยี งหรือกกั ตัว 10.ควบคมุ กำกบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรค โควิด 19 ในสถานศึกษาอย่างเครง่ ครัดและต่อเน่ือง แนวปฏบิ ตั ิสำหรับครู ผู้ดูแลนักเรยี น 1. ติดตามข้อมลู ข่าวสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค พืน้ ทเ่ี สี่ยง คำแนะนำการปอ้ งกนั ตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของเช้อื โรคโควิด 19 จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถอื ได้ 2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการใช้ ไอ มนี น้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่นิ ไมร่ รู้ ส ใหห้ ยุดปฏิบตั ิงาน และรีบไปพบแพทย์ทนั ที กรณีมีคนในครอบครวั ป่วยด้วยโรคโควดิ 19 หรอื กลับจากพน้ื ที่เสีย่ งและอยู่ในชว่ งกักตวั ใหป้ ฏิบตั ิตามคำแนะนําของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างเครง่ ครดั 3. แจง้ ผ้ปู กครองและนักเรียน ให้นาํ ของใช้สว่ นตัวและอปุ กรณป์ ้องกนั มาใช้เปน็ ของตนเอง พรอ้ มใช้ เชน่ ช้อน สอ้ ม แก้วน้ำ แปรงสฟี ัน ยาสีฟนั ผา้ เชด็ หนา้ หน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั เปน็ ตน้ 4. ส่ือสารความรู้คำแนะนําหรอื จัดหาสอื่ ประชาสัมพันธใ์ นการปอ้ งกนั และลดความเส่ยี งจากการ แพรก่ ระจายโรคโควิด 19 ให้แก่นกั เรียน เช่น สอนวธิ กี ารลา้ งมือที่ถูกตอ้ ง การสวมหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กาก อนามยั คำแนะนาํ การปฏิบัติตวั การเวน้ ระยะห่างทางสงั คม การทำความสะอาด หลีกเลยี่ งการทำกิจกรรม รว่ มกัน จำนวนมากเพ่ือลดความแออดั 5. ทำความสะอาดสอื่ การเรียนการสอนหรืออปุ กรณ์ของใชร้ ว่ มท่เี ป็นจุดสัมผสั เสีย่ ง ทกุ ครง้ั หลงั ใชง้ าน 6. ควบคมุ ดูแลการจัดท่ีนัง่ ในห้องเรียน ระหว่างโตะ๊ เรยี น ท่ีนั่งในโรงอาหาร การจดั เวน้ ระยะหา่ ง ระหวา่ งบคุ คลอยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร หรอื เหลอ่ื มเวลาพกั กินอาหารกลางวัน และกำกบั ใหน้ กั เรยี น สวม หน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลา และล้างมือบ่อย ๆ 7. ตรวจสอบ กำกบั ตดิ ตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรยี น ถูกกักตวั หรืออยใู่ นกลุ่มเส่ียงต่อการ ตดิ โรคโควิด 19 และรายงานตอ่ ผ้บู รหิ าร 8. ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพทกุ คนท่ีเขา้ มาในสถานศกึ ษาในตอนเชา้ ท้ังนักเรยี น ครู บคุ ลากร และ ผู้มาตดิ ต่อโดยใช้เคร่อื งวดั อุณหภมู ริ ่างกาย พร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของ ระบบทางเดินหายใจ

เช่น ใช้ไอ มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลําบาก เหนอื่ ยหอบ ไมใ่ ห้กลิ่น ไม่รรู้ ส โดยติดสญั ลักษณ์ สต๊ิกเกอรห์ รอื ตราปม้ั แสดงให้เห็นชัดเจนวา่ ผ่านการคัดกรองแล้ว กรณีพบนักเรยี นหรือผู้มีอาการมใี ช้ อณุ หภมู ริ ่างกายต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป ร่วมกับ อาการ ระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนง่ึ จดั ใหอ้ ย่ใู นพ้นื ท่แี ยกส่วน ใหร้ ีบแจง้ ผปู้ กครองมารบั และ พาไปพบ แพทย์ ใหห้ ยุดพกั ทบี่ ้านจนกวา่ จะหายเป็นปกติ พรอ้ มแข็งเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุขเพ่อื ประเมนิ สถานการณแ์ ละ ดำเนนิ การสอบสวนโรค และแจง้ ผบู้ รหิ ารเพือ่ พิจารณาการปดิ สถานศึกษาตามมาตรการ แนวทางของ กระทรวงสาธารณสขุ - บนั ทึกผลการคดั กรองและสง่ ตอ่ ประวัติการปว่ ย ตามแบบบันทกึ การตรวจสขุ ภาพ เช็ดอปุ กรณ์การ ลา้ งมอื พรอ้ มใชง้ านอยา่ งเพยี งพอ เช่น เจลแอลกอฮอลว์ างไวบ้ ริเวณทางเขา้ สบูล่ า้ งมอื บริเวณอ่างลา้ งมือ แนวปฏบิ ตั ิสำหรับนักเรียน 1. ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พน้ื ท่ีเสย่ี ง คำแนะนำการ ป้องกันตนเองและลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของโรคโควิด19 จากแหล่งขอ้ มูลท่เี ช่อื ถือได้ 2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไม่ได้ กล่นิ ไมร่ ้รู ส รบี แจง้ ครูหรอื ผ้ปู กครองใหพ้ าไปพบแพทย์ กรณีมคี นในครอบครวั ปว่ ยดว้ ยโรคโควี19 หรือกลับ จากพื้นทเ่ี สีย่ งและอยูใ่ นชว่ งกกั ตัว ใหป้ ฏิบัตติ ามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุขอยา่ งเครง่ ครดั 3. มแี ละใชข้ องใช้ส่วนตวั ไม่ใชร้ ว่ มกับผ้อู น่ื เช่น ชอ้ น ส้อม แก้วน้ำ แปรงสฟี นั ยาสฟี ัน ผา้ เชด็ หนา้ หน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย และทำความสะอาดหรอื เกบ็ ให้เรียบรอ้ ย ทุกครง้ั หลังใช้งาน 4. กรณนี ักเรียนดื่มนำบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเครอ่ื งหมายหรอื สัญลักษณ์เฉพาะ ไม่ให้ปะปนกบั ของคนอน่ื 5. หม่นั ล้างมือบอ่ ย ๆ ดว้ ยวธิ ลี ้างมอื 7 ขนั้ ตอน อยา่ งน้อย 20 วินาที กอ่ นกินอาหาร หลงั ใช้สว้ ม หลีกเลยี่ งใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น รวมถึงสร้างสขุ นิสัยที่ดีหลงั เลน่ กบั เพ่ือน เมื่อกลบั มาถงึ บา้ น ตอ้ งรบี อาบนำ้ สระผม และเปลยี่ นเส้อื ผ้าใหมท่ ันที 6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการทำกิจกรรมระหวา่ งเรียน ช่วงพัก และ หลงั เลิกเรยี น เชน่ น่ังกนิ อาหาร เล่นกบั เพือ่ น เข้าแถวตอ่ ตวั ระหวา่ งเดนิ ทางอยู่บนรถ 7. สวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่อี ย่ใู นสถานศกึ ษา 8. หลีกเลย่ี งการไปในสถานที่ที่แออดั หรือแหลง่ ชุมชนท่เี สยี่ งตอ่ การติดโรคโควิด 19 9. ดแู ลสขุ ภาพให้แข็งแรง ดว้ ยการกินอาหารปรุงสุก รอ้ น สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้5 สี เสริมสร้างภมู คิ มุ้ กนั ควรเสริมอาหารเชา้ จากบ้าน หรือให้ผปู้ กครองจัดเตรียมอาหารกล่อง (Box Set) กนิ ที่ โรงเรียนแทน รวมถึงออกกำลังอย่างนอ้ ย 60 นาที ทกุ วนั และนอนหลับอย่างเพยี งพอ 9 - 11 ชั่วโมงตอ่ วัน 10. กรณนี ักเรียนขาดเรยี นหรือถูกกักตวั ควรติดตามความคบื หนา้ การเรยี นอย่างสมำ่ เสมอปรกึ ษาครู

เช่น การเรียนการสอน สอ่ื ออนไลน์ อ่านหนังสือ ทบทวนบทเรยี น และทำแบบฝกึ หัดทบ่ี า้ น 11. หลกี เล่ียงการล้อเลยี นความผดิ ปกตหิ รืออาการไม่สบายของเพือ่ น เน่อื งจากอาจจะก่อให้เกดิ ความ ความหวาดกลวั มากเกนิ ไปต่อการป่วยหรือการติดโรคโควิด 19 และเกดิ การแบ่งแยกกีดกนั ในหมู่นักเรียน บทบาทหนา้ ทขี่ องนักเรียนแกนนำดา้ นสุขภาพ นักเรียนทมี่ จี ติ อาสาเป็นอาสาสมัครชว่ ยดูแลสขุ ภาพเพื่อนนกั เรียนด้วยกนั หรอื ตูแลรนุ่ นอ้ งด้วย เชน่ สภานักเรยี น เดก็ ไทยทำได้ อย.นอ้ ย. ยวุ อาสาสมคั รสาธารณสขุ (ยวุ อสม.) 1. ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พื้นทเ่ี สี่ยง คำแนะนำการป้องกันตนเอง และลดความเสยี่ งจากการแพร่กระจายของโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มลู ทเี่ ชือ่ ถอื ได้ 2. ชว่ ยครูตรวจคดั กรองวดั อุณหภมู ิรา่ งกายของนกั เรยี นทกุ คนที่มาเรียน ในตอนเชา้ ทางเข้า โดยมีครู ดูแลให้คำแนะนำอย่างใกลช้ ดิ เนน้ การจดั เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อย่างนอ้ ย 1-2 เมตร 3.ตรวจดูความเรียบร้อยของนักเรียนทุกคนที่มาโรงเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย หากพบนักเรียนไม่ได้สวม ใหแ้ จง้ ครผู รู้ บั ผดิ ชอบ เพอื่ จดั หาหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยสำรองให้ 4.เฝ้าระวังสังเกตอาการของนักเรยี น หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบากเหนื่อยหอบ ไม่ไดก้ ลนิ่ ไม่รู้รส ให้รบี แจง้ ครูทนั ที 5. จดั กิจกรรมส่ือสารใหค้ วามรคู้ ำแนะนำการป้องกันและลดความเสี่ยงการแพรก่ ระจายโรคโควิด 19 แก่เพื่อนนักเรียนเช่น สอนวิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง การทำหน้ากากผ้า การสวมหน้ากาก การถอดหน้ากากผ้า กรณีเกบ็ ไว้ใช้ต่อ การทำความสะอาดหนา้ กากผ้า การเวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คล จัดทำป้ายแนะนำต่างๆ 6.ตรวจอุปกรณข์ องใชส้ ่วนตวั ของเพอื่ นนักเรียนและรุ่นน้อง ใหพ้ ร้อมใช้งานเนน้ ไม่ใช้รว่ มกบั ผอู้ น่ื 7.จัดเวรทำความสะอาดห้องเรยี น ห้องเรียนร่วม และบริเวณจุดเสี่ยงทุกวัน เช่น ลูกบิดประตู กลอน ประตู ราวบนั ได สนามเด็กเลน่ อปุ กรณ์กีฬา เครื่องดนตรีคอมพิวเตอร์ 8.เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัตติ ัวเพื่อป้องกันโรคโควิด 19 ด้วยการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัย ลา้ งมอื บอ่ ยๆ กนิ อาหารใช้จาน ช้อน ส้อม แก้วน้ำของตนเอง การเว้นระยะหา่ งเป็นต้น โดยถือปฏิบัติ เป็นสุขนิสัยกจิ วตั รประจำวนั อย่างสมำ่ เสมอ แนวปฏบิ ัติสำหรับผปู้ กครอง 1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นที่เสี่ยงคำแนะนำ การปอ้ งกันตนเองและลดความเสยี่ งจากาการแพร่กระจายของโรค จากแหล่งขอ้ มลู ที่เชียถือได้ 2. สงั เกตอาการปว่ ยของบุตรหลาน หากมอี าการไข้ ไอ มนี ้ำมูกเจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอื่ ย หอบ ไม่ไดก้ ล่ิน ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเดก็ ไมใ่ หไ้ ปเล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้าน จนกว่าจะ หายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโครีม 19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง อยู่ ในชว่ งกกั ตวั ใหป้ ฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขอย่างเครง่ ครดั 3. จัดหาของใช้ส่วนตัวให้บุตรหลานอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้าช้อน สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสฟี นั ยาสฟี นั ผ้าเช็ดหนา้ ผ้าเชด็ ตวั

4. จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ และกำกับดูแลบุตรหลานให้ลา้ งมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วมหลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลัง เล่นกับเพอ่ื นและเม่ือกลับมาถึงบ้าน ควรอาบนำ้ สระผม และเปลี่ยนชุดเสอื้ ผ้าใหมท่ ันที 5. ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่และผัก ผลไม้ 5 สี และควรจัดอาหารกล่อง(Box Setให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทน การซื้อจากโรงเรียน (กรณีที่ไม่ได้กินอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกำลังกาย อยา่ งน้อย 60 นาที ทกุ วนั และนอนหลบั อยา่ งเพยี งพอ 9-11 ชว่ั โมงต่อวนั 6. หลีกเลี่ยงการพาบตุ รหลานไปในสถานเสียงต่อการติดโรคโควิด 19 สถานที่แออัดทีม่ กี าร รวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ 7 ขนั้ ตอน ดว้ ยสบู่ และน้ำนาน 20 วนิ าที (ใหน้ ักเรยี นรอ้ งเพลงแฮปปีเ้ บิรธ์ เดย์ 2 ครัง้ พร้อมกบั ล้างมือ) หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ 7. กรณมี กี ารจดั การเรยี นการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูใน การดูแลจดั การเรยี นการสอนแก่นักเรยี น เช่น การสง่ การบา้ น การรว่ มทำกิจกรรม เปน็ ต้น แนวปฏิบัติสำหรบั แม่ครวั ผู้จำหนา่ ยอาหาร และผ้ปู ฏบิ ัติงานทำความสะอาด 1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นที่เสี่ยงคำแนะนำ การปอ้ งกันตนเองและสตคิ วามเส่ยี งจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหลง่ ข้อมูลทเี่ ชื่อถอื ได้ 2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูกเจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อย หอบ ไม่ได้กลิ่นไมร่ ู้รส ให้หยุดปฏบิ ตั งิ านและรีบไปพบแพทยท์ ันที กรณีมีคนในครอบครวั ปว่ ยด้วยโรค โควิด 19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าท่ี สาธารณสขุ อย่างเครง่ ครดั 3. ล้างมือบอ่ ย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อน - หลังปรุงและประกอบอาหาร ขณะจำหน่ายอาหาร หลงั สมั ผสั สง่ิ สกปรก เม่ือจับเหรียญหรือธนบัตร หลงั ใชส้ ้วม ควรล้างมือด้วยสบแู่ ละน้ำหรือใช้ เจลแอลกอฮอล์ และหลีกเล่ยี งการใช้มือสมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไม่จำเปน็ 4.ขณะปฏิบัติงานของผสู้ มั ผสั อาหาร ตอ้ งสวมหมวกคลมุ ผม ผา้ กนั เปื้อน ถงุ มอื สวมหนา้ กาก ผ้าหรือหน้ากากอนามัย และปฏบิ ตั ิตนตามสุขอนามัยสว่ นบุคคลท่ถี กู ต้อง 5. ปกปิดอาหาร ใส่ถุงมือและใช้ที่คืบหยิบจับอาหาร ห้ามใช้มือหยิบจับอาหารพร้อมกัน โดยตรง และจดั ให้แยกกนิ ส่วนกรณีรา้ นจำหนา่ ยอาหารสำเรจ็ รปู พรอ้ มกนั ไมค่ วรใช้มือสมั ผัสลงไปใน ถงุ บรรจอุ าหารกอ่ นตกั อาหาร 6. จัดเตรียมเมนอู าหารให้ครบ 5 หมู่ และผักผลไม้ 5 สี เพอ่ื เสริมสรา้ งภูมิคมุ้ กัน ปรุงสุกใหม่ ให้นักเรียนกิน ภายในเวลา 2 ช่ัวโมง หากเกินเวลาดังกล่าว ให้นำอาหารไปอุ่นจนเดือด แล้วนำมา เสรฟิ์ ใหม่ กรณีที่ไมส่ ามารถจดั เหลือมเวลาสำหรบั เดก็ ในมื้อกลางวนั ใหเ้ ตรียมอาหารกลอ่ งแทน และรบั ประทานท่โี ต๊ะเรยี น

7. จดั เตรยี มกระดาษสำหรับส่งั รายการอาหาร หรอื ชอ่ งทางอ่นื เพอื่ ลดการพูดคุยและสัมผสั 8. ผู้ปฏิบัติงานทำความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนขยะ ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น สวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั สวมถงุ มือยาง ผ้ายางกันเป้ือน รองเทา้ พื้นยางหุ้มแขง็ 9. การเก็บขยะ ควรใช้ปากคีบตามยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะปิดปากถุงให้มิดชิดและนำไป รวบรวมไวท้ ีพ่ กั ขยะ 10.เมื่อปฏิบตั งิ านเสร็จทุกครัง้ ตอ้ งลา้ งมือบอ่ ย ๆ และเมอ่ื กลบั มาถึงบ้าน ควรรบี อาบน้ำสระ ผมเปล่ียนเส้ือผา้ ใหมท่ ันที คำแนะนำในการทำความสะอาด 1. จัดเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยา ฟอกขาวอุปกรณ์การตวง ถงุ ขยะ ถงั น้ำ ไม้ถูพนื้ ผา้ เช็ดทำความสะอาด อปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตรายส่วน บุคคลที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ฮาที่ ถุงมือ หน้ากากผ้า เสื้อผ้าที่จะนำมาเปลี่ยนหลังทำความ สะอาด 2. เลอื กใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ทำความสะอาดพน้ื ผวิ ทเี่ หมาะสม ก.กรณีสิ่งของอุปกรณ์เคร่ืองใช้ แนะนำให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5%ในการเช็ดทำความสะอาด ข.กรณีเป็นพ้นื ทขี่ นาดใหญ่ เช่น พนื้ หอ้ ง แนะนำให้ใช้ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี สี ว่ นผสมของโซเดียมไฮโป คลอไรท์0.1% (น้ำยาซักผา้ ขาว) หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% ค. ตรวจสอบคุณลกั ษณะของน้ำยาทำความสะอาดบนฉลากข้างขวดผลิตภัณฑ์ วนั หมดอายุ รวมถึงพิจารณาการเลือกใชน้ ำ้ ยา ข้นึ อยู่กบั ชนิดพน้ื ผิววสั ดุ เช่น โลหะ หนัง พลาสติก 3. เตรยี มน้ำยาทำความสะอาดเพอ่ื ฆ่าเชอ้ื ข้นึ อยูก่ บั ชนิดและความเขม้ ขน้ ของสารที่เลือกใช้ โดยแนะนำให้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ฆา่ เชื้อท่ีมสี ่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันในชือ่ “น้ำยา ฟอก ขาว) เนื่องจากหาซือ้ ได้งา่ ย โดยนำ้ มาผสมกับน้ำ เพอ่ื ให้ได้ความเข้มข้น 0.1% หรือ 1000 ส่วน ใน ลา้ นสว่ น ดงั น้ี - กรณี ผลิตภัณฑ์ มคี วามเขม้ ข้น 2.5 % ใหผ้ สม 40 มิลลลิ ติ ร (2.8 ช้อนโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลติ ร - กรณี ผลิตภณั ฑ์ มีความเข้มข้น 5.76 ใหผ้ สม 18 มิลลิลติ ร (1.2 ช้อนโต๊ะ) : นำ้ 1 ลิตร - กรณี ผลติ ภณั ฑ์ มคี วามเขม้ ข้น 5% ให้ผสม 20 มลิ ลิลิตร (1.3 ช้อนโตะ๊ ) : นำ้ 1 ลิตร - กรณี ผลิตภณั ฑ์ มีความเข้มขน้ 6% ใหผ้ สม 17 มลิ ลิลติ ร (1.1 ช้อนโต๊ะ) : น้ำ 1 ลติ ร หรือ อาจใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเช้ือท่มี สี ่วนผสมของไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ โดยนํามาผสมกับน้ำ เพื่อให้ได้ ความ เขม้ ข้น 0.5% หรอื 5000 ส่วนในลา้ นส่วน ดังน้ี - กรณี ผลติ ภณั ฑ์ มีความเขม้ ข้น 5% ให้ผสม 110 มลิ ลลิ ิตร (7.5 ชอ้ นโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลติ ร - กรณี ผลิตภัณฑ์ มีความเขม้ ช้นั 3 % ให้ผสม 200 มีสลิลิตร (13.5 ซ้อนโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลติ ร 4. ส่ือสารให้ความร้ขู น้ั ตอนการทำความสะอาดท่ีถูกต้อง เหมาะสม รวมท้งั แนะนำสุขอนามัย ในการ ดแู ลตนเองกบั ผู้ปฏิบตั งิ าน

- ล้างมือดว้ ยสบู่และนำ้ กอ่ น – หลัง ทำความสะอาดทกุ ครั้ง - สวมอุปกรณป์ อ้ งกันตัวเองทุก ครง้ั เมอื่ ตอ้ งทำความสะอาดและฆา่ เช้อื - เปิดประตูหนา้ ตา่ ง ขณะทำความสะอาดเพื่อให้มกี ารระบาย อากาศ - หากพื้นผิวสกปรก ควรททำความสะอาดเบื้องต้นก่อน เช่น นำผ้าชุบน้ำเช็ดบริเวณที่มีฝนุ่ หรือ คราบสกปรก กอ่ นท่ีจะใช้น้ำยาทำความสะอาดเพ่ือฆ่าเชือ้ - ควรทำความสะอาดและฆ่าเชือ้ ทว่ั ท้งั บริเวณ กอ่ น – หลังใช้งานทกุ ครงั้ และเน้นบริเวณที่มี การสมั ผัสหรอื ใช้งานร่วมกนั บอ่ ย ๆ เชน่ ลูกบิดประตูรีโมทคอนโทรล ปุ่มกดลิฟท์ ซงึ่ เป็นพื้นผิวขนาด เล็ก โดยนำผ้าสำหรบั เช็ดทําความสะอาดชุบน้ำยาฟอกขาวที่เตรยี มไวต้ ามข้อ 2 หรือใช้ แอลกอฮอล์ 7096 หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% เช็ดทำความสะอาดและฆา่ เชอื้ - สำหรับพื้น ใชไ้ มถ้ ูพื้นชุบด้วยน้ำยาฆา่ เชอื้ ท่เี ตรียมไว้ตามข้อ 2 เรมิ่ ถพู น้ื จากมมุ หนึ่งไปยังอีก มุมหนงึ่ ไม่ซ้ำรอยเดมิ โดยเร่มิ จากบรเิ วณท่สี กปรกนอ้ ยไปมาก - การทำความสะอาดห้องนำ้ หอ้ งสว้ ม ดว้ ยน้ำยาทำความสะอาดทั่วไป พน้ื หอ้ งสว้ มให้ฆา่ เช้ือ โตย ราดนำ้ ยาฟอกขาวทเี่ ตรียมไวต้ ามข้อ 2 ทง้ิ ไวอ้ ย่างน้อย 10 นาที เช็ดเน้นบริเวณที่รองน่ังโถส้วม ฝา ปิดโถส้วม ที่กดชักโครก สายชำระ ราวจับ ลูกบิดหรอื กลอนประตู ที่แขวนกระดาษชำระอ่างลา้ ง มือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอกขาวที่เตรียมไว้ตามข้อ 2 หรือใช้ แอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% - หลังทำความสะอาด ควรซกั ผ้าเช็ดทำความสะอาดและไม้ถูพน้ื ดว้ ยนำ้ ผสมผงซักฟอกหรือ นำ้ ยาฆา่ เชอ้ื แล้วซกั ด้วยนำ้ สะอาดอีกคร้ัง และนำไปฝง่ั แดดให้แหง้ - ถอดถงุ มือแลว้ ลา้ งมอื ดว้ ยสบ่แู ละน้ำหากเป็นไปได้ควรชำระล้างร่างกายและเปลี่ยนเสื้อผ้า โดยเรว็ หรอื รบี กลบั บา้ นอาบน้ำให้สะอาดทันที - บรรจุภัณฑ์ใส่น้ำยาทำความสะอาด ควรคัดแยกออกจากขยะทั่วไป และทิ้งในถังขยะ อันตราย ส่วนขยะอื่น ๆ เช่น หน้ากากอนามัย ถุงมือ รวบรวมและทิ้งขยะลงในถุงพลาสติกถุงขยะ ซอ้ นสองชั้น มัดปากถุงใหแ้ นน่ และนำไปทิ้งทันที โดยท้งิ รวมกบั ขยะทัว่ ไป 5 ขอ้ ควรระวงั - สารที่ใช้ฆ่าเชื้อ ส่วนใหญ่เป็นชนิดสารฟอกขาว อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง เน้อื เยือ่ อ่อนควรระวงั ไม่ให้เข้าตาหรือสมั ผสั โดยตรง - ไม่ควรผสมน้ำยาฟอกขาวกบั สารทำความสะอาดอน่ื ที่มสี ่วนผสมของแอมโมเนีย - หลกี เลีย่ ง การใช้สเปรย์ฉีดพน้ เพื่อฆ่าเช้ือ เนอ่ื งจากอาจทำให้เกิดการแพรก่ ระจายของเชื้อโรค - ไม่ควรนำถุงมอื ไปใช้ในการทำกิจกรรมประเภทอื่น ๆ ใช้เฉพาะการทำความสะอาดเท่าน้นั เพือ่ ปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายของเชอ้ื - หลีกเลี่ยงการใชม้ ือสัมผัสบริเวณใบหนา้ ตา จมูก และปาก ขณะสวมถุงมือและระหว่างการ ทำความสะอาด

รายการน้ำยาฆา่ เชอ้ื ในการทำความสะอาดจำแนกตามลักษณะพืน้ ผวิ ลักษณะพืน้ ผิว ชนดิ สารฆ่าเชอื้ ความ ระยะเวลา วธิ เี ตรียม เข้มขน้ ที่ฆ่าเชอื้ ทฆ่ี า่ เชือ้ - พนื้ ผิวทว่ั ไป พื้นผิวท่ีเป็น แอลกอฮอล์ (เอทานอลหรือ โลหะ เอธิลแอลกอฮออล)์ - สิ่งของ อุปกรณ์ พื้นที่ 70% 10 นาที ขนาดเล็ก เช่น ลูกบิด ประตู ลักษณะพน้ื ผวิ ชนดิ สารฆา่ เช้ือ ความ ระยะเวลา วิธีเตรียม เขม้ ข้น ท่ฆี า่ เชื้อ ทฆ่ี า่ เชอื้ โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ ผสม 1 สว่ น ตอ่ - พน้ื ผิวทีเ่ ปน็ วัสดุแข็งไม่มี เชน่ นำ้ ยาฟอกขาว น้ำ 49 สว่ น รูพรุน เช่น พื้นกระเบื้อง (เชน่ 1 ชอ้ นโต๊ะ เซรามิก สแตนเลสแต่ไม่ 0.1% 5-10 นาที ตอ่ น้ำ 1 ลติ ร เหมาะกบั ผวิ โลหะ กรณี ผลิตภณั ฑ์ ทใ่ี ช้มีความ เข้มขน้ 6% ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ ผสม 1 ส่วนต่อ - พื้นผิวทั่วไป (ไม่ใช่โลหะ น้ำ 5 ส่วน (เช่น หรือ ผลิตภัณฑ์ที่มีการ เคลอื บสี) 0.5% 1 นาที 13 ช้อนโตะ๊ ตอ่ น้ำ 1 ลติ ร กรณี ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้มี ความเขม้ ขน้ 3%

แนวปฏบิ ตั ดิ ้านอนามัยส่ิงแวดล้อม สถานศึกษาเป็นสถานที่ที่มคี นอยู่รวมกันจานวนมาก ทั้งนักเรียน ครู ผู้ปกครอง บุคลากร ผู มาตดิ ต่อและผ้ปู ระกอบการรา้ นคา้ กรณที ่นี กั เรยี นต้องทากจิ กรรมร่วมกับเพอื่ น ทาใหม้ โี อกาสใกล้ชิดกัน มาก ทาให้เกิดความเสี่ยงตอ่ การแพร่กระจายของเชื้อโรคได้ง่าย จงึ ควรมแี นวปฏบิ ตั กิ ารจัดอาคารสถานท่ี ดังน้ี 1. หอ้ งเรียน หอ้ งเรยี นรวม เชน่ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี 1) จดั โต๊ะ เก้าอี้ หรือทน่ี งั่ ใหม้ กี ารเวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร จัดทำ สญั ลกั ษณ์แสดงจุดตำแหน่ง เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล /จัดใหม้ ีการสลับวันเรียนแตล่ ะชนั้ เรียน ท้ังนี้อาจพจิ ารณาวธิ ีปฏิบตั อิ ่นื ตามบรบิ ทความเหมาะสม โดยยดึ หลกั Social distancing 2) จดั ให้มีการเหลื่อมเวลาเรียน การเรียนกลุ่มย่อย ตามบริบทสถานการณ์ และเน้นใหน้ กั เรียน สวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ขณะเรยี นตลอดเวลา 3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เครื่องปรับอากาศ หากจำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด – ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิด ประตู หนา้ ตา่ ง ระบายอากาศ ทุก 1 ช่วั โมงและทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ 4) จัดเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนักเรียนและครู ใช้ประจำทุกห้องเรียน อย่างเพยี งพอ 5) ทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสมั ผสั เสี่ยง เชน่ ลกู บิดประตู เครื่องเล่นของใช้ ร่วมทกุ วันอย่างน้อยวันละ 2 ครง้ั เช้าก่อนเรยี นและพักเที่ยง หรือกรณมี ีการย้ายหอ้ งเรียน ต้องทำความ สะอาดโต๊ะ เก้าอี้ กอ่ นและหลังใช้งานทุกคร้งั 2. ห้องสมดุ 1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และ จัดทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชดั เจน

2) จดั ให้มีการระบายอากาศท่ดี ี ใหอ้ ากาศถ่ายเท เช่น เปดิ ประตู หนา้ ต่าง หากจำเป็นต้องใช้ เครอ่ื งปรบั อากาศ กำหนดเวลาเปิด - ปดิ เครื่องปรบั อากาศ เปดิ ประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ช่ัวโมง และทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 3) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครู บรรณารักษ์ นักเรียน และ ผใู้ ชบ้ ริการ บรเิ วณทางเข้าด้านหน้าและภายในห้องสมดุ อย่างเพยี งพอ 4) ทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณ์ และจดุ สมั ผัสเสย่ี ง เช่น ลกู บดิ ประตู ชัน้ วางหนังสือทุก วนั ๆ ละ 2 ครง้ั (เชา้ กอ่ นให้บรกิ าร พักเท่ียง) 5) จำกดั จำนวนคนจำกัดเวลาในการเข้าใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ และให้นักเรยี นและผใู้ ช้บริการทุก คน สวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ขณะใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ตลอดเวลา 3. หอ้ งประชุม หอประชมุ 1) มกี ารคดั กรองตรวจวดั อุณหภูมิรา่ งกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชมุ หากพบผู้มีอาการ ไข้ ไอ มีนำ้ เจบ็ คอหายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ดก้ ลนิ่ ไม่รู้รส แจง้ งดร่วมประชุมและแนะนำให้ไป พบแพทยท์ ันที 2) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคล 1 – 2 เมตร และจัดทำ สญั ลกั ษณแ์ สดงจดุ ตำแหนง่ ชัดเจน 3) ผู้เข้าประชมุ ทกุ คนสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยขณะประชุมตลอดเวลา 4) จัดเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้าภายในอาคาร หอประชุมบรเิ วณทางเขา้ ด้านหนา้ และด้านในของห้องประชมุ อยา่ งเพียงพอและทว่ั ถงึ 5) งดหรือหลีกเลีย่ งการใหบ้ รกิ ารอาหารและเครอ่ื งดมื่ ภายในห้องประชมุ 6) ทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยงร่วม เช่น ลูกบิดประตู รีโมท อุปกรณส์ ่อื ก่อนและหลังใช้ห้องประชมุ ทุกครงั้ 7) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง ก่อนและหลังใช้ หอ้ งประชมุ ทกุ ครัง้ หากจำเปน็ ต้องใช้เครอ่ื งปรับอากาศ กำหนดเวลาเปดิ - ปดิ เคร่ืองปรับอากาศ เปิด ประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ชั่วโมงและทำความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ 4. สนามกีฬา 1) จัดพื้นที่ทำกิจกรรมและเลน่ กีฬา ลดความแออดั อาจจัดใหเ้ ลน่ กฬี าเป็นรอบ หรือให้มีการ เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร 2) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนักกีฬาและผู้มาใช้บริการ บริเวณ ทางเขา้ และ บรเิ วณด้านในอาคารอย่างเพยี งพอและทัว่ ถึง 3) ทำความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องเล่นแต่ละชนิด ก่อนหรือหลงั เล่นทุกวนั อย่างน้อยวนั ละ 1 คร้ัง

4) จดั ให้มกี ารระบายอากาศ ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เชน่ เปดิ ประตู หน้าต่าง เปดิ พดั ลม 5) จำกัดจำนวนคนจำนวนเวลาในการเล่นกีฬาหรือกจิ กรรมภายในอาคารโรงยิมหรือสนาม กฬี า 6) หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมหรือเล่นกีฬาประเภทแข่งขันเป็นทีมหรือมีการปะทะกันอย่าง รนุ แรง เช่น วอลเลย์บอลฟุตบอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล เป็นต้น 5. สถานที่แปรงฟนั สถานศึกษาส่งเสริมให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างถูกต้องเหมาะสมตาม สถานการณ์ แลบรบิ ทพ้ืนท่ีหลีกเลีย่ งการรวมกลมุ่ เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลในการแปรงฟนั และให้ มีอปุ กรณ์การ แปรงฟนั สว่ นบุคคล ดังนี้ 5.1 การจดั เตรยี มวสั ดุอุปกรณก์ ารแปรงฟันแปรงสฟี นั 1) นักเรยี นทุกคนมีแปรงสฟี ันเปน็ ของตนเอง หา้ มใช้แปรงสีฟนั และยาสฟี ันร่วมกนั 2) ทำสัญลักษณ์หรือเขียนชือ่ บนแปรงสีฟันของแต่ละคน เพื่อให้รู้วา่ เป็นแปรงสีฟนั ของใคร ป้องกันการหยิบของผู้อน่ื ไปใช้ 3) เปลยี่ นแปรงสีฟันใหน้ ักเรยี น ทกุ 3 เดอื น เม่อื แปรงสฟี ันเสื่อมคุณภาพ โดยสงั เกต ดังนี้ - บรเิ วณหวั แปรงสีฟันมคี ราบสกปรกติดค้าง ลา้ งได้ยาก - ขนแปรงสีฟันบานแสดงว่าขนแปรงเส่ือมคุณภาพใช้แปรงฟนั ได้ไม่สะอาดและอาจกระแทก เหงือกให้เป็นแผลได้ ยาสีฟัน ให้นักเรียนทุกคนมียาสีฟันเป็นของตนเอง และเลือกใช้ยาสีฟันผสม ฟลูออไรด์ซึ่งมี ปรมิ าณฟลูออไรด์ 1,000-1,500 ppm. (มิลลิกรมั /ลติ ร) เพ่อื ป้องกนั ฟันผุ แก้วนำ้ จดั ให้ นกั เรียนทกุ คนมแี กว้ นำ้ สว่ นตวั เปน็ ของตนเอง จำนวน 2 ใบผา้ เช็ดหน้าสว่ นตวั สำหรับใช้เช็ดทำความ สะอาดบรเิ วณใบหนา้ ควรซักและเปล่ียนใหมท่ กุ วนั 5.2 การเก็บอปุ กรณ์แปรงสีฟนั 1) เก็บแปรงสฟี นั ในบรเิ วณท่ีมอี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ไม่อบั ชน้ื และปลอดจากแมลง 2) จดั ทำทีเ่ กบ็ แปรงสฟี ัน แก้วน้ำ โดยเก็บของนกั เรยี นแต่ละคนแยกจากกนั ไม่ปะปนกนั เว้น ที่ให้มีระยะห่างเพียงพอที่จะไม่ใหแ้ ปรงสีฟันสัมผัสกัน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค โควิด 19 และควรวางหวั ของแปรงสฟี ันต้ังข้ึน เพือ่ ปอ้ งกนั ไม่ใหน้ ำ้ ทค่ี ้างตามด้ามแปรงสีฟนั หยดลงใส่หวั แปรงสี ฟัน 5.3 การจดั กิจกรรมแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวัน ครูประจำชั้นดูแลและจัดให้มีกิจกรรมการแปรงฟันในห้องเรียน ให้นักเรียนทุกคนแปรงฟนั หลังอาหารกลางวันทุกวันอยา่ งสม่ำเสมอ โดยหลีกเลี่ยงการรวมกลุ่ม และเว้นระยะห่างในการแปรง ฟัน โดย

1) ให้นักเรียนแปรงฟันในห้องเรียน โดยนั่งที่โต๊ะเรียน เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย ของ น้ำลายละอองน้ำ หรอื เชอื้ โรคสูผ่ ้อู ่ืน กรณหี ้องเรียนแออัด ใหเ้ หลื่อมเวลาในการแปรงฟัน 2) ก่อนการแปรงฟันทุกครั้ง ให้ล้างมือด้วยสบู่และน้ำเสมอ เป็นเวลาอย่างน้อย 20 วินาที หรือ เจลแอลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้น 70-74 % หลีกเลี่ยงการรวมกลุ่ม และเว้นระยะห่างระหว่าง บุคคล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร 3) ครูประจำชัน้ เทน้ำให้นักเรียนใสแ่ กว้ น้ำใบที่ 1 ประมาณ 1/3 แกว้ (ประมาณ 15 ml.) 4) นักเรียนนั่งทีโ่ ต๊ะเรียน แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกซี่ทุกด้าน นาน อย่างนอ้ ย 2 นาทีเมือ่ แปรงฟันเสร็จแล้ว ใหบ้ ว้ นยาสฟี นั และนำ้ สะอาดลงในแกว้ น้ำ ใบที่ 2 เช็ดปากให้ เรยี บร้อย 5) นักเรียนทุกคนนำน้ำที่ใช้แล้ว จากแก้วใบที่ 2 เทรวมใส่ภาชนะที่เตรียมไว้ และให้ครู ประจำ ช้นั นำไปเททง้ิ ในทร่ี ะบายนำ้ ของสถานศกึ ษา หา้ มเทลงพื้นดนิ 6) นักเรียนนำแปรงสีฟันและแก้วน้ำไปล้างทำความสะอาด และนำกลับมาเก็บให้เรียบร้อย หลีกเลยี่ งการรวมกลุม่ และเว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อย่างนอ้ ย 1-2 เมตร 7) มีการตรวจความสะอาดฟนั หลังการแปรงฟันดว้ ยตนเองทกุ วนั โดยอาจมกี ระจกของตัวเอง ในการตรวจดคู วามสะอาดเสรมิ ด้วยกิจกรรมการย้อมสฟี ันอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 คร้ัง 6. สระว่ายนำ้ หลีกเลย่ี งหรืองดการจัดการเรียนการสอนในสระวา่ ยน้ำ กรณรี ัฐบาลมกี ารผอ่ นปรนมาตรการ ควบคุมโรค ให้สามารถใช้สระว่ายน้ำได้ ควรปฏิบตั ิ ดังน้ี 1) คัดกรองเบื้องต้นหรอื เฝ้าระวังมใิ ห้ผู้มีอาการเจ็บป่วย เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจ ลำบาก เหน่ือยหอบไม่ไดก้ ลน่ิ ไมร่ รู้ ส กอ่ นลงสระว่ายนำ้ ทกุ ครง้ั เพือ่ ปอ้ งกนั การแพรเ่ ช้อื โรค 2) กำกับดูแลและปฏิบัติตามคำแนะนำของระบบฆ่าเชื้ออย่างเคร่งครัด เพื่อให้ระบบมี ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อตลอดเวลาการให้บริการ (คลอรีนอิสระคงเหลือ (Free Residual Chlorine) ใน ระดบั 1 - 3 ส่วน ในล้านสว่ น (ppm) 3) ตรวจสอบคุณภาพนำ้ ในสระทกุ วนั และดแู ลความสะอาดของสระนำ้ ไม่ใหม้ ขี ยะมลู ฝอย 4) กำหนดมาตรการก่อนลงสระว่ายน้ำ เช่น นักเรียนตอ้ งชำระร่างกายก่อนลงสระ ต้องสวม หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยก่อนลงและข้ึนจากสระวา่ ยน้ำ สวมแว่นตา - หมวกว่ายน้ำ ระหว่าง การว่ายน้ำ ห้ามบ้วนน้ำลาย ห้ามปัสสาวะ ห้ามสั่งน้ำมูกลงในนำ้ ห้ามพูดคุยกับเพื่อน ผู้สอนว่ายน้ำ (โค้ช) หรอื ผดู้ ูแลสระนำ้ ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยูบ่ รเิ วณสระว่ายน้ำ 5) ทำความสะอาดอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการสอน แบ่งรอบการสอน จำกัดจำนวนคน และให้มีการ เว้น ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร 6) เตรียมอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวสำหรับการว่ายน้ำ เช่น แว่นตา - หมวกว่ายน้ำ ชุดว่ายน้ำ ผา้ เช็ดตัว เป็นต้น 7. สนามเด็กเล่น

1) ใหม้ ีการทำความสะอาดเคร่ืองเลน่ และอุปกรณก์ ารเล่นทกุ วัน อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ทำ ความสะอาดดว้ ยน้ำยาทำความสะอาดตามคำแนะนำของผลิตภณั ฑ์ 2) จัดเครื่องเล่น อุปกรณ์การเล่น และนักเรียน ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่าง น้อย 1 - 2 เมตร และกำกบั ดแู ลใหเ้ ดก็ สวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาการเลน่ 3) จำกัดจำนวนคนจำกดั เวลาการเล่นในสนามเดก็ เลน่ โดยอยใู่ นความควบคุมดูแลของครูใน ช่วงเวลา พกั เที่ยงและหลงั เลิกเรยี น 4) ให้ล้างมือด้วยสบู่และน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือก่อนและหลังการเลน่ ทุกครัง้ 8. ห้องส้วม 1) จัดเตรียมอุปกรณ์ท้าความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยา ฟอกขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพื้น คีบด้ามยาวสำหรับเกบ็ ขยะ ผ้าเช็ดท้าความสะอาด และอปุ กรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายสว่ นบคุ คลทเี่ หมาะสมกับการปฏิบัติงาน เช่น ถงุ มือ หนา้ กากผ้า เสื้อผ้าท่ี จะน้ามาเปลี่ยนหลงั ทำความสะอาด 2) การทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ด้วยน้ำยาทำความสะอาด ทั่วไป พื้นห้องส้วม ฆ่าเชื้อโดยใช้ผลติ ภัณฑ์ฆ่าเชื้อทีม่ สี ่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันใน ชือ่ “นำ้ ยาฟอกขาว”) โดยนำมาผสมกับน้ำเพื่อให้ได้ความเข้มข้น 0.1% หรอื 1000 ส่วนในล้านส่วน หรือผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์โดยน้ำมาผสมกับ น้ำเพื่อให้ได้ คว าม เข้มขน้ 0.5% หรือ 5000 ส่วน ในล้านสว่ น ราดนำ้ ยาฆ่าเช้อื ทง้ิ ไวอ้ ยา่ งน้อย 10 นาที เนน้ เชด็ บริเวณ ทรี่ องนั่งโถสว้ ม ฝาปิดโถส้วม ทกี่ ดชกั โครก สายชา้ ระ ราวจบั ลูกบดิ หรือกลอนประตู ท่ีแขวนกระดาษ ชำระ อ่างล้างมือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอกขาว หรือใช้ แอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% 3) หลงั ทำความสะอาด ควรซกั ผ้าเช็ดทา้ ความสะอาดและไมถ้ ูพน้ื ด้วยนำ้ ผสมผงซกั ฟอกหรือ นำ้ ยาฆา่ เชื้อแล้วซักด้วยนำ้ สะอาดอกี คร้ัง และนำไปผึ่งแดดใหแ้ หง้ 9. ห้องพกั ครู 1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ควร คำนึงถึงสภาพบริบทและขนาดพื้นที่ อาจพิจารณาใช้ฉากกั้นบนโตะ๊ เรียน และจัดทำสัญลักษณแ์ สดง จุดตำแหนง่ ชดั เจน โดยถือปฏบิ ตั ติ ามหลกั Social distancing อย่างเครง่ ครัด 2) ใหค้ รสู วมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา

3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เคร่อื งปรับอากาศหากจำเป็นต้องใชเ้ คร่ืองปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด – ปิดเครือ่ งปรับอากาศ เปิด ประตู หน้าตา่ ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมงและทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 4) ใหม้ ีการทำความสะอาดโตะ๊ เกา้ อี้ อุปกรณ์ และจดุ สมั ผสั เส่ยี ง เช่น ลกู บิดประตู อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เปน็ ตน้ เป็นประจำทุกวนั อยา่ งนอ้ ยวันละ 2 ครั้ง 5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรบั ครูและผู้มาติดต่อ บริเวณทางเข้า ด้านหน้าประตู และภายในห้องอยา่ งเพียงพอและท่วั ถึง 10. ห้องพยาบาล 1) จัดหาครหู รอื เจา้ หนา้ ท่ี เพือ่ ดูแลนกั เรียน ในกรณที ่มี นี กั เรยี นป่วยมานอนพกั รอผู้ปกครอง มารบั 2) จดั ใหม้ พี ้ืนท่หี รอื หอ้ งแยกอย่างชัดเจน ระหวา่ งนักเรยี นป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียน ป่วยจากสาเหตุอน่ื ๆเพ่ือปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชอ้ื โรค 3) ทำความสะอาดเตียงและอปุ กรณข์ องใช้ทกุ วนั 4) จัดเตรยี มเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมอื บรเิ วณทางเข้าหนา้ ประตูและภายในห้อง พยาบาลอย่างเพียงพอ 11. โรงอาหาร การจัดบริการภายในโรงอาหาร การนั่งกินอาหารร่วมกันของผู้ใช้บริการ รวมถึงอาหาร ภาชนะ อปุ กรณ์ ตู้กดน้ำดืม่ ระบบกรองน้ำและผู้สัมผัสอาหาร อาจเป็นแหลง่ แพรก่ ระจายเช้ือโรค จึง ควรมีการดูแล เพ่อื ลดและป้องกนั การแพรก่ ระจายเชือ้ โรคดงั น้ี 1) โรงอาหารกำหนดมาตรการการปฏบิ ัติใหส้ ถานที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ดงั น้ี (1) จดั ใหม้ อี ่างลา้ งมอื พรอ้ มสบู่ สำหรับใหบ้ รกิ ารแกผ่ เู้ ขา้ มาใชบ้ รกิ ารโรงอาหาร บรเิ วณกอ่ น ทางเขา้ โรงอาหาร (2) ทุกคนทจี่ ะเขา้ มาในโรงอาหาร ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย (3) จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น ที่นง่ั กินอาหารจุดรับอาหาร จดุ ซ้อื อาหาร จุดรอกดนำ้ ดืม่ จุดปฏิบัติงานร่วมกนั ของผสู้ มั ผสั อาหาร (4) จดั เหล่ือมช่วงเวลาซอื้ และกินอาหาร เพ่อื ลดความแออดั พื้นท่ีภายในโรงอาหาร (5) ทำความสะอาดสถานที่ปรงุ ประกอบอาหาร พื้นทต่ี งั้ ตกู้ ดน้ำดม่ื และพื้นทีบ่ ริเวณท่ีนั่งกิน อาหารให้สะอาด ด้วยน้ำยาทำความสะอาดหรือผงซักฟอก และจัดให้มีการฆ่าเชื้อด้วยโซเดียมไฮโป คลอไรท์(น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเข้มข้น 1,000 ส่วนในล้านส่วน (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อตั ราสว่ น 1 ชอ้ นโต๊ะตอ่ นำ้ 1 ลิตร) (6) ทำความสะอาดโต๊ะและท่ีนั่งให้สะอาด สำหรับนั่งกินอาหาร ด้วยน้ำยาทำความ สะอาด หรอื จัดใหม้ กี ารฆา่ เชือ้ ด้วยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอล์ลงบนผ้าสะอาดพอหมาด ๆ เช็ดไป ในทิศทางเดียวกนั หลังจากผ้ใู ชบ้ รกิ ารทกุ ครั้ง

(7) ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเคร่อื งใช้ใหส้ ะอาด ดว้ ยนำ้ ยาล้างจาน และให้มี การ ฆ่าเชือ้ ด้วยการแชใ่ นนำ้ รอ้ น 80 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 30 วินาที หรอื แชด่ ้วยโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ทมี่ คี วามเขม้ ขน้ 100 ส่วนในล้านสว่ น (ใชโ้ ซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 6% อัตราส่วน ครึง่ ช้อนชาต่อน้ำ 1 ลิตร) 1 นาที แลว้ ล้างน้ำให้สะอาด และอบหรอื ผง่ึ ให้แห้ง ก่อนนำไปใช้ใส่อาหาร (8) ทำความสะอาดตู้กดน้ำดื่ม ภายในตู้ถังน้ำเย็น อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และเช็ด ภายนอกตู้และก๊อกน้ำดื่มให้สะอาดทุกวัน และฆ่าเชื้อด้วยการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอก ขาว) ที่มีความเข้มข้น100 ส่วนในล้านส่วน เป็นเวลา 30 นาที ทุกครั้งก่อนบรรจุน้ำใหม่ ในกรณีที่มี เครอ่ื งกรองน้ำ ควรทำความสะอาดด้วยการล้างย้อน (Backwash) ทุกสัปดาห์ และเปลี่ยนไส้กรองตาม ระยะเวลากำหนดของผลิตภัณฑ์ และตรวจเช็คความชำรุดเสียหายของระบบไฟฟูาที่ใช้ สายดิน ตรวจเช็คไฟฟ้ารว่ั ตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะบรเิ วณก๊อกน้ำท่ถี ือเปน็ จุดเสี่ยง เพอื่ ป้องกันไฟฟ้าดูดขณะ ใช้งาน (9) จัดบรกิ ารอาหาร เนน้ ปอู งกันการปนเป้ือนของเชอ้ื โรค เช่น อาหารปรุงสำเร็จสุกใหม่ทุก ครั้งหลีกเลี่ยงการจำหนา่ ยอาหารเสี่ยง เช่น อาหารประเภทกะทิ หรืออาหารปรุงข้ามวัน การปกปิด อาหารปรุงสำเรจ็ การใชภ้ าชนะที่เหมาะสมกับประเภทอาหาร และจดั ใหม้ ภี าชนะอปุ กรณ์สำหรับการ กนิ อาหารอยา่ งเพยี งพอเป็นรายบคุ คล เชน่ จาน ถาดหลมุ ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ เปน็ ต้น (10) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ภายในโรงอาหาร เช่น การสวมหน้ากากที่ถูกวิธี ขั้นตอนการ ล้างมือท่ีถูกตอ้ งการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล การเลือกอาหารปรุงสกุ ใหมส่ ะอาด เปน็ ต้น 2) ผู้สัมผัสอาหาร ต้องดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเองและป้องกันการ แพร่กระจาย เช้อื โรค ดงั นี้ (1) หากมีอาการปว่ ย ไข้ ไอ มีนำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ดก้ ลิ่น ไมร่ ูร้ ส ให้ หยุดปฏิบตั ิงานและแนะนำให้ไปพบแพทย์ทันที (2) ดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากันเปื้อน และอุปกรณ์ปอ้ งกนั การปนเปอ้ื นสอู่ าหาร ในขณะปฏิบัติงาน (3) รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อนปฏิบัติงาน และ ขณะเตรียมอาหารประกอบอาหาร และจำหน่ายอาหาร รวมถึงหลังจากการจับเหรียญหรือธนบัตร หรือสัมผัส สิ่งสกปรกอาจใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือร่วมด้วย หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัส ใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ ำเป็น (4) สวมใส่หนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย ตลอดเวลาขณะปฏิบัตงิ าน (5) มีพฤติกรรมขณะปฏบิ ัติงานป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น ใช้อุปกรณ์ในการปรุง ประกอบอาหาร เชน่ เขียง มดี การหยบิ จบั อาหาร แยกระหวา่ งอาหารสุก อาหารประเภทเนอ้ื สัตว์สด ผกั และ ผลไม้ และไม่เตรียม ปรงุ ประกอบอาหารบนพื้นโดยตรง

(6) จดั เมนูอาหารทจี่ ำหน่าย โดยเน้นอาหารปรุงสุกดว้ ยความร้อน โดยเฉพาะเนือ้ สตั ว์ ปรุงให้ สุกดว้ ยความรอ้ นไม่นอ้ ยกว่า 70 องศาเซลเซยี ส หลีกเลยี่ งการจำหน่ายอาหารบูดเสยี ง่าย เชน่ อาหาร ประเภทกะทแิ ละอาหารท่ไี ม่ผา่ นความรอ้ น เชน่ ซชู ิ เปน็ ตน้ (7) อาหารปรุงสำเร็จ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพื้นไม่น้อย กวา่ 60 เซนติเมตรกรณีอาหารปรุงสำเร็จ รอการจำหน่าย ให้นำมาอนุ่ ทกุ 2 ชวั่ โมง (8) การใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งต้องสะอาดมีคุณภาพเหมาะสมกับการ บรรจุอาหารปรุงสำเร็จและไม่ควรใชโ้ ฟมบรรจุอาหาร (9) ระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน ให้มีการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร (10) ควรพจิ ารณาให้มรี ะบบชำระเงินออนไลน์สำหรบั ผบู้ ริโภค 3) ผู้ที่เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร ต้องดำเนินการป้องกันตนเอง และป้องกันการ แพรก่ ระจายเชอื้ โรค ดังน้ี (1) ลา้ งมอื บ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือทุกคร้ังก่อนเข้า ไปในโรงอาหารก่อนกินอาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตรหลังจากสัมผัสสิ่ง สกปรกหรือหลังออกจากหอ้ งสว้ ม (2) ทกุ คนต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในโรงอาหารหรอื เข้าไปใน สถานท่ีจำหนา่ ยอาหาร (3) เลือกซ้ืออาหารปรงุ สำเรจ็ สกุ ใหม่ หลกี เล่ยี งการกินอาหารประเภทเนอ้ื สัตว์ เครื่องในสัตว์ ที่ปรุงไม่สุกและตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เช่น สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและความ เหมาะสมของภาชนะบรรจุ มกี ารปกปดิ อาหารมดิ ชิด ไมเ่ ลอะเทอะ ไมฉ่ กี ขาด เปน็ ต้น (4) ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการซื้ออาหาร ขณะ รอ อาหารนั่งกนิ อาหาร ขณะรอกดนำ้ ดม่ื (5) พจิ ารณาเลอื กใช้ระบบการชำระเงินแบบออนไลน์ 12. รถรบั - ส่งนักเรียน 1) ทำความสะอาดรถรบั นักเรียนและบริเวณจุดสัมผัสเสยี่ ง เช่น ราวจับ ท่ีเปิดประตู เบาะน่ัง ที่วางแขน ด้วยน้ำผสมผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาดที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกผ้า ขาว) และปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์ (เช่น ผสมโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ความเขม้ ขน้ 6% ปรมิ าณ 20 มิลลลิ ิตร ตอ่ นำ้ 1 ลติ ร) 2) นักเรียนที่ใชบ้ ริการรถรับนักเรียน ต้องสวมหนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ี อยูบ่ นรถ ลดการพดู คุยกันเลน่ หยอกลอ้ กนั รวมถึงกำหนดจดุ รบั - ส่งนกั เรียนสำหรับผปู้ กครอง 3) การจดั ท่ีนงั่ บนรถรับนักเรียน ควรจดั ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ทั้งนี้ควรคำนึงถึงขนาดพื้นที่ของรถ จำนวนที่นั่ง พิจารณาตามบริบทคุณลักษณะของรถและ

ความเหมาะสม จัดทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจนโดยยึดหลัก Social distancing อย่าง เคร่งครัด 4) ก่อนและหลังให้บริการรบั นกั เรียนแต่ละรอบ ควรเปิดหน้าต่าง ประตู ระบายอากาศ ให้ อากาศ ถ่ายเทไดส้ ะดวก 5) จดั ใหม้ ีเจลแอลกอฮอลส์ ำหรบั ใชท้ ำความสะอาดมอื บ่อย ๆ บนรถรับนักเรียน 13. ห้องนอนเด็กเล็ก 1) ทำความสะอาดเคร่อื งนอน เปล่ยี นผ้าปทู ี่นอน ปลอกหมอน และผา้ กนั เปื้อนทกุ วัน รวมถึง ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้ของเลน่ ตเู้ ก็บของส่วนบุคคล และจดุ สมั ผัสเส่ยี งรว่ ม เป็นประจำทุกวนั 2) จัดให้มีพื้นที่สำหรับการเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล เช่น เรียนบนเสื่อ ใช้สัญลักษณ์แทน ขอบเขต รวมถงึ การจดั ทน่ี อนสำหรับเดก็ ต้องเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร 3) มีและใช้ของใช้ส่วนตัว เน้นไม่ใช้ของใช้ร่วมกัน เช่น ผ้ากันเปื้อน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แกว้ นำ้ 4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูและนักเรียน บริเวณทางเข้าและ ภายในหอ้ งอย่างเพยี งพอ 5) มีการระบายอากาศที่ดี อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เครื่องปรับอากาศหากจำเป็นต้องใชเ้ ครื่องปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด–ปิดเครือ่ งปรับอากาศ และ เปดิ ประตู หน้าตา่ งระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมงและตอ้ งทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ 6) จดั อปุ กรณ์การสง่ เสริมพฒั นาการเด็กอย่างเพยี งพอ คนละ 1 ชดุ 7) อตั ราส่วนของครูหรือผดู้ แู ลเดก็ หรอื พเี่ ลี้ยงตอ่ เด็กเลก็ 1 : 5-8 ในการดูแลเด็กตลอดทัง้ วนั 14. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ 1) การจัดพื้นที่เข้าแถว ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร กรณีมี พื้นทจี่ ำกัดไมเ่ พยี งพออาจพิจารณาสลับชน้ั เรียนมาเข้าแถวบริเวณหนา้ เสาธง หรอื จดั ใหม้ ีการเข้าแถว บริเวณท่มี พี ้ืนที่ กว้างขวาง เชน่ หน้าห้องเรียน ลานอเนกประสงค์ ลานสนามกีฬา โรงยมิ หอประชุม เปน็ ตน้ 2) ครูและนักเรียนทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเข้าแถว เคารพธงชาติ 3) ลดระยะเวลาการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง กรณีมีการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ควรใช้ชอ่ งทาง อนื่ ๆ เชน่ เสยี งตามสายผา่ นออนไลน์ Line Facebook E-mail แจง้ ในหอ้ งเรยี น เปน็ ตน้ 4) ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรือจุดสัมผัสเสย่ี ง ภายหลงั การใช้งานทกุ ครัง้ เช่น เชือกท่ี เสาธง ไมโครโฟน เป็นต้น

มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 กรณเี กดิ การระบาดในสถานศึกษา นยิ ามเหตกุ ารณก์ ารระบาด หมายถึง เม่ือพบผ้ปู ว่ ยยนื ยนั อย่างน้อย 1 ราย ทคี่ ดิ ว่าอาจมีการ แพรก่ ระจายเชอื้ ในสถานศึกษา นิยาม 1) ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ต้องอบสวน (PUI = Patient Under Investigation) หมายถึง ผู้ที่มี ประวัติใช้หรือวัดอุณหภูมิได้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไปร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใด อยา่ งหนง่ึ (ไอ น้ำมกู เจบ็ คอ หายในเรว็ หรือหายใจเหนือ่ ยหรือหายใจลำบาก) และมปี ระวตั สิ มั ผสั ใกลช้ ดิ กับผู้ปว่ ยยนื ยนั ในช่วง 14 วัน ก่อนมอี าการ 2) ผปู้ ว่ ยยืนยัน หมายถึง ผู้ทม่ี ผี ลตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พบว่า ติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 3) ผสู้ มั ผัสท่มี ีความเส่ยี งต่อการติดเชอ้ื สูง (High risk Contact) หมายถึง ผสู้ ัมผัสใกล้ชิด ตามลักษณะขอ้ ใดขอ้ หนงึ่ ดังนี้ - ผ้ทู เ่ี รยี นรว่ มหอ้ ง ผู้ทนี่ อนรว่ มห้อง หรอื เพอื่ นสนิทท่คี ลกุ คลีกนั - ผู้สัมผัสใกล้ชดิ หรอื มีการพดู คุยกบั ผู้ปว่ ยในระยะ 1 เมตร นานราว่า5 นาที หรือถกู ไอ จาม รดจากผปู้ ่วย โดยไม่มีการปอ้ งกัน เชน่ ไมส่ วมหน้ากากอนามัย - ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่ปิด ไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับอากาศ รว่ มกนั ผู้ป่วยและอยหู่ า่ งจากผู้ปว่ ยไมเ่ กิน 1 เมตร นานกวา่ 15 นาที โดยไม่มีการป้องกนั 4) ผู้สัมผัสท่ีมีความเส่ียงต่อการตดิ เชื้อต่ำ (Low risk Contact) หมายถึง ผู้ที่ทำกิจกรรมอ่ืน ๆ ร่วมกับผูป้ ่วย แต่ไมเ่ ข้าเกณฑค์ วามเส่ยี ง 5)ผู้ไม่ได้สัมผัส หมายถึง ผู้ที่อยู่ในสถานศึกษาแต่ไม่มีกิจกรรมหรือพบผู้ป่วยในช่วง 14 วัน กอ่ นปว่ ย

6)ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการป่วยรนุ แรง (Underlying Condition) หมายถึง ผู้ที่มีภูมิต้านทาน ตำ่ หรือมีโรคประจำตวั หรอื ผ้สู งู อายุ กจิ กรรมการเฝ้าระวังกอ่ นระบาด 1) ให้มีการตรวจสอบการลาป่วยของนักเรียนและโรงเรียนในสถานศึกษา หากพบว่าผู้ป่วย มากผดิ ปกติ ใหร้ ายงานเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ ในพนื้ ทีท่ ราบ 2)ให้มีการคัดกรองใช้บริเวณทางเข้าสถานศึกษาทุกวัน หากพบว่า มีเด็กที่มีไข้จำนวนมาก ผดิ ปกติให้ แจ้งเจา้ หนา้ ท่ี 1 1) ห้องพยาบาลให้ มีการบนั ทึกรายชอ่ื และอาการของนักเรยี นทป่ี ่วย กจิ กรรมเมอ่ื มีการระบาด 1) ปดิ สถานศึกษาขนั้ นช้ี ้ันเรยี น เพ่ือทำความสะอาด เปน็ ระยะเวลา 3 วนั 2) สำรวจคดั กรองนักเรยี นและบุคลากรทกุ คน บรเิ วณทางเข้าสถานศึกษา โดยใช้ Handheld thermometer และดำเนนิ การตามแผนผงั *หากพบผเู้ ขา้ เกณฑส์ อบสวน (PUI) ใหเ้ ก็บตัวอยา่ ง NP swab สง่ ตรวจหาเช้อื 3) ผสู้ มั ผสั กลมุ่ High riskใหด้ ำเนินการเกบ็ ตัวอยา่ ง NP swab สง่ ตรวจเชื้อ 4) ผู้สมั ผัสกลุ่ม Low risk ไม่ต้องเกบ็ ตวั อยา่ งแต่ให้แยกตวั อยทู่ บี่ า้ น และรายงานการ (Self- report) ทกุ วัน หากพบว่า มอี าการเขา้ เกณฑ์ PUI ใหด้ ำเนินการแบบผ้ปู ว่ ย PUI 5) เมื่อเปิดเทอม ให้มีการคัดกรองไข้ทุกวัน หากพบมีอาการไขก้ ับ PUI ให้เก็บตัวอย่างและ พิจารณาความเส่ียงเพอ่ื ตัดสนิ ใจวา จะใหผ้ ู้ป่วยดอู าการทบี่ ้าน หรอื ตอ้ งแยกตวั ในโรงพยาบาล 6) ทีมสอบสวนโรคทำการตดิ ตามผ้สู มั ผสั ทุกวนั จนครบกำหนด ผังขนั้ ตอนการคดั กรองนกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา

นกั เรียนและเจ้าหนา้ ทท่ี กุ คนในสถานศึกษา มไี ขห้ รอื วัดอุณหภูมิ > 37.5 °C หรือ ไม่มอี าการไขห้ รืออาการทางเดนิ หายใจ มีอาการทางเดนิ หายใจหรอื ผู้สมั ผสั เสยี่ งสงู (High risk contact) เขา้ เกณฑ์ตอ้ งสอบสวน (PUI) เกบ็ ตวั อย่าง เกบ็ ตวั อยา่ ง • กักตวั อยู่บ้าน Home isolation ผูส้ มั ผสั เสย่ี งสูง • ตดิ ตามอาการใหค้ รบ 14 วัน • อยู่ห้องแยกของรพ. ผสู้ ัมผสั เสี่ยงต่ำ (Low risk contact) ผ้สู ัมผัสเสี่ยงต่ำ • ใช้ชวี ิตปกติ • ตติ ามอาการให้ครบ 14 วนั • อาการน้อยอย่บู า้ น • อาการมาก อยูห่ ้องแยกโรงพยาบาล ทมี่ า : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ แบบประเมนิ ตนเองสำหรับสถานศกึ ษาในการเตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี น เพ่ือเฝา้ ระวังและปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ชื่อสถานศึกษา โรงเรยี นวลีรัตน์วทิ ยา แขวงบางดว้ น เขต ภาษีเจรญิ จังหวัดกรุงเทพมหานคร เกณฑ์การประเมนิ ข้อ ประเดน็ มี ไม่มี หมายเหตุ มิตทิ ่ี 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ่ ชอ้ื โรค / 1 มมี าตรการคดั กรองวัดใช้ ใหก้ ับนักเรยี น ครู และผเู้ ขา้ มาตดิ ต่อ ทุกคนกอ่ นเขา้ สถานศกึ ษา หรอื ไม่

2 มมี าตรการสังเกตอาการเส่ยี งโควิด 19 เช่น ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ / เหนอื่ ยหอบ หายใจลําบาก จมกู ไมใ่ ห้กลิน่ ล้ินไมร่ รู้ ส พรอ้ ม บนั ทึกผล สำหรบั นักเรียน ครู และผ้เู ข้ามาติดตอ่ ทุกคน กอ่ น / เข้าสถานศึกษา หรอื ไม่ / / 3 มีนโยบายกำหนดให้นักเรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุก / คน ต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั / 4 มกี ารจัดเตรียมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยสำรองไว้ให้กบั / นกั เรียนร้องขอหรือผทู้ ีไ่ มม่ หี น้ากากเข้ามาในสถานศกึ ษา / หรือไม่ / 5 มจี ดุ ล้างมอื ด้วยสบู่ อยา่ งเพยี งพอ หรือไม่ 6 มีการจัดวางเจสแอลกอฮอล์สำหรับใชท้ ำความสะอาดมอื บรเิ วณทางเขา้ อาคารเรยี น หน้าประตูห้องเรยี น ทางเข้าโรง อาหาร อยา่ งเพยี งพอ หรอื ไม่ 7 มกี ารจดั โตะ๊ เรียน เกา้ อ้ีนัง่ เรียน ที่น่ังในโรงอาหาร ท่นี ่งั พัก โดย จัดเว้นระยะห่างระหวา่ งกนั อย่างน้อย 1-2 เมตร (ยดึ หลกั Social distancing หรอื ไม่ 8 มีการทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหนง่ ชดั เจนในการจัดเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งกนั หรอื ไม่ 9 กรณหี ้องเรียนไมส่ ามารถจดั เว้นระยะห่างตามที่กำหนดได้ มี การการสลบั วนั เรียนแตล่ ะชน้ั เรียน หรือมีการแบ่งจำนวน นักเรยี น หรือไม่ 10 มีการทำความสะอาดห้องเรยี น ห้องต่าง ๆ และอุปกรณท์ ใ่ี ช้ใน การเรยี นการสอน ก่อนและหลังใชง้ านทกุ คร้งั เช่น ห้อง คอมพวิ เตอร์ ห้องดนตรี อุปกรณ์กีฬา หรอื ไม่ ขอ้ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ 11 มีการทำความสะอาดบริเวณจุดสัมผัสเสยี งรว่ ม ทุกวัน เช่น โต๊ะ / เกา้ อ้ี ราวบันได ลฟิ ต์ กลอนประตู มอื จบั ประตู - หนา้ ตา่ ง / หรือไม่ 12 มถี ังขยะแบบมฝี าปิดในห้องเรียน หรอื ไม่

13 มีการปรบั ปรุงซอ่ มแซมประตู หนา้ ตา่ ง และพัดลมของ / หอ้ งเรียน ให้มีสภาพการใชง้ านไดด้ ี สำหรบั ใชป้ ิด - เปดิ ให้ อากาศถ่ายเทสะดวก หรอื ไม่ / / 14 มกี ารแบ่งกลุม่ ยอ่ ยนกั เรียนในห้องเรียนในการทำกจิ กรรม / หรอื ไม่ / / 15 มกี ารปรับลดเวลาในการทำกิจกรรมประชาสมั พันธ์ ภายหลงั / การเข้าแถวเคารพธงชาติหนา้ เสาธง หรือไม่ / 16 มีการจัดเหสอี บเวลาทำกิจกรรมนกั เรียน เหลอ่ื มเวลากนิ / อาหารกลางวนั หรือไม่ / 17 มมี าตรการใหเ้ ว้นระยะหา่ งการเขา้ แถวทำกิจกรรมหรือไม่ 18 มกี ารกําหนดใหใ้ ช้ของใชส้ ว่ นตัว ไม่ใช้สง่ิ ของรว่ มกับผู้อนื่ เชน่ / แกว้ น้ำชอ้ น ส้อม แปรงสีฟนั ยาสฟี นั ผ้าเช็ดหนา้ หรอื ไม่ 19 มีห้องพยาบาลหรือพน้ื ที่สำหรับแยกผู้มอี าการเสียงทางระบบ ทางเดนิ หายใจ หรอื ไม่ 20 มนี กั เรียนแกนนาํ ดา้ นสขุ ภาพ จิตอาสา เปน็ อาสาสมัคร ในการ ช่วยดูแลสขุ ภาพเพอื่ นนกั เรียนด้วยกันหรอื ดแู ลร่นุ น้อง หรือไม่ มิตทิ ี2่ การเรียนรู้ 21 มีการติดป้ายประชาสมั พันธ์แนะนําการปฏิบตั เิ พอ่ื สุขอนามยั ที่ ดี เช่น วธิ ี ล้างมือทถ่ี กู ตอ้ ง การสวมหนา้ กากอนามัย การเว้น ระยะหา่ งระหว่างบุคคลเป็นตน้ หรอื อื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วกบั โรคโควิด 19 หรอื ไม่ 22 มกี ารเตรยี มความพร้อมการจัดการเรยี นการสอนโดยคำนึงถงึ การเรยี นรู้ ตามวัยและสอดคลอ้ งกบั พัฒนาการด้านสังคม อารมณ์ และสติปญั ญา หรือไม่ 23 มีมาตรการกาหนดระยะเวลาในการใชส้ ื่อออนไลน์ใน สถานศกึ ษา ในเดก็ เลก็ (ประถม) ไม่เกิน 1 ชว่ั โมงต่อวนั ข้อ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ และ ในเดก็ โต (มธั ยม) ไม่เกิน / 2 ช่วั โมงตอ่ วนั หรือไม่ 24 มีการใช้สือ่ อรอบร้ดู ้านสุขภาพผา่ นชอ่ งทาง Social media เช่น Website ,Facebook, Line, QR Code , E-mail หรือไม่

มติ ิท่ี 3 การครอบคลุมถึงเดก็ ด้อยโอกาส / 25 มีการเตรยี มหนา้ กากผ้า สาํ รองสำหรับเด็กเลก็ หรือไม่ 26 / 26 มีการปรับรปู แบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั บรบิ ทการ / เข้าถงึ การเรียนร้ใู นสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 / หรอื ไม่ 27 มมี าตรการสง่ เสริมให้นกั เรยี นได้รบั บรกิ ารสุขภาพข้ันพ้ืนฐาน / อยา่ งทั่วถึงหรอื ไม่ 28 มมี าตรการการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมของที่พัก / และเรือนนอนให้ถกู สุขลกั ษณะ พร้อมมตี ารางเวรทกุ วนั หรอื ไม่ (กรณีมีท่ีพกั และเรือนนอน) / 29 มมี าตรการการททำความสะอาดและจัดสภาพแวดลอ้ มให้ / สอดคล้องกับ ข้อบัญญัตกิ ารปฏิบัตดิ ้านศาสนกิจ พรอ้ มมี / ตารางเวรทุกวัน หรือไม่ (กรณมี ีสถานทป่ี ฏิบัติศาสนากจิ ) / 30 มีมาตรการดแู ลนักเรียนทีม่ คี วามบกพร่องด้านพฒั นาการการ เรยี นรู้ หรือด้านพฤตกิ รรมอารมณ์ รวมถึงภาวะสมาธสิ ้นั และ เด็กออทสิ ตกิ ที่สามารถเรียนรว่ มกนั เด็กปกติ หรือไม่ มติ ทิ ี่ 4 สวัสดภิ าพและการคมุ้ ครอง 31 มกี ารจัดเตรียมแผนรองรับการจดั การเรยี นการสอนสำหรบั นกั เรยี นป่วย กักตวั หรือกรณีปดิ โรงเรียน หรอื ไม่ 32 มีการจดั เตรยี มแนวปฏบิ ตั กิ ารส่อื สารเพอื่ ลดการรังเกยี จและ การตตี ราทางสงั คม (Social stigma) หรอื ไม่ 33 มีการจดั เตรียมแนวปฏบิ ตั ิด้านการจดั การความเครียดของครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา หรอื ไม่ 34 มกี ารตรวจสอบประวตั เิ สียงของนกั เรียนและบุคลากร รวมทั้ง ตรวจสอบเรือ่ งการกกั ตัวใหค้ รบ 14 วนั กอ่ นมาทำการเรยี น การสอนตามปกติ และ ทกุ วนั เปิดเรียน หรือไม่ ข้อ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ 35 มกี ารกำหนดแนวทางปฏิบตั ิตามระเบยี บสำหรับนักเรียน ครู / และ บคุ ลากรท่สี งสัยติดเชื้อหรอื ป่วยดว้ ยโรคโควิด 19 โดยไม่ ถอื เป็นวนั ลาหรอื วนั หยุดเรียน หรือไม่ มติ ิที่ 5 นโยบาย

36 มีการสื่อสารประชาสัมพนั ธค์ วามร้กู ารป้องกันโรคโควิด 19 แก่ / นักเรียนครู บุคลากร และผ้ปู ครอง โดยการประชุมชแ้ี จงผ่าน ชอ่ งทางตา่ ง ๆ อย่างนอ้ ย 1 ครั้ง กอ่ นหรอื วนั แรกของการเปดิ / เรียน หรอื ไม่ / / 37 มนี โยบายและแนวทางการปอ้ งกันการแพร่ระบาตโรคโควิด 19 / ของสถานศกึ ษา อยา่ งเป็นลายลกั ษณห์ รือมหี ลักฐานชดั เจน หรือไม่ / / 38 มีการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา หรือไม่ 39 มกี ารแต่งตง้ั คณะทำงานป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควดิ 19 / และกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน หรอื ไม่ / 40 มีมาตรการจดั การความสะอาดนนรถรับ-สง่ นักเรยี น เว้น ระยะห่าง ระหว่างบคุ คล นัดท่ีนั่งบนรถหรือมีสัญลักษณ์จุด ตำแหน่งชัดเจน หรอื ไม่ มติ ิท่6ี การบรหิ ารการเงิน 41 มีแผนการใช้งบประมาณในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรค โควดิ 19ตามความจาํ เปน็ และเหมาะสม หรือไม่ 42 มกี ารจัดหาซอื้ วสั ดอุ ปุ กรณ์ป้องกนั โรคโควิด 19 สำหรับ นักเรยี น และบุคลากรในสถานศึกษา เชน่ หนา้ กากผ้าหรือหน้ากาก อนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ หรอื ไม่ 43 มกี ารประสานแสวงหาแหล่งทุนสนับสนนุ จากหน่วยงาน องค์กร หรือ เอกชน เช่น ทอ้ งถน่ิ บริษัทห้างร้าน NGO เปน็ ตน้ เพื่อดำเนินกจิ กรรม การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 หรือไม่ 44 มกี ารจัดหาบุคลากรเพม่ิ เตมิ ในการดูแลนกั เรยี นและการจดั การ สง่ิ แวดล้อมในสถานศึกษา หรือไม่ ผลการประเมนิ Ranking เกณฑป์ ระเมนิ สเี ขยี ว ผา่ นท้งั หมด 44 ขอ้

สีเหลอื ง ผ่านข้อ 1-20 ทกุ ขอ้ สีแดง แต่ไมผ่ า่ นขอ้ 13-14 ขอ้ ใดขอ้ หน่งึ ไม่ผา่ นข้อ 1-20 ข้อใดข้อหน่ึง การแปลผล • สีเขยี ว หมายถึง โรงเรยี นสามารถเปดิ เรียนได้ • สเี หลือง หมายถึง โรงเรยี นสามารถเปดิ เรยี นได้ แต่ต้องดำเนนิ การปรับปรงุ ใหเ้ ปน็ ไปตาม มาตรฐานท่กี ำหนด • สแี ดง หมายถงึ โรงเรียนไมส่ ามารถเปิดเรียนได้ ต้องดำเนนิ การปรบั ปรงุ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานท่กี ำหนดและ/หรือประเมนิ ตนเองซำ้ ลงช่อื ผปู้ ระเมิน.................................................... วันทป่ี ระเมิน ..........................................