210422 การสอนภาษาจนี ในฐานะ 4.22 50 ภาษาต่างประเทศ 210451 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั 4.25 ไม่มี 210461 การเตรียมฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี 4.53 210240 4.50 ควรเนน้ กจิ กรรมในชน้ั เรียนมากขึ้น การใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศภาษาจีน ไม่มี 4.19 061108 ภาษาจีนกลางพน้ื ฐาน ตดิ ต้งั โปรแกรมสำเรจ็ รปู ในคอมพิวเต 4.48 อรข์ องนักศึกษาให้ ภาคการศึกษาที่ 2 4.40 ท่ัวถงึ 210111 อกั ษรจีน 4.44 ไมม่ ี 210113 ภาษาจีนระดับต้น 2 061108 ภาษาจีนกลางพ้ืนฐาน 4.64 ไมม่ ี ไม่มี 210130 วฒั นธรรม ประเพณจี ีนและศิลปะจีน 4.39 ไม่มี 4.61 210213 การฟังและการพูดภาษาจนี 1 4.45 ไม่มี 210211 ภาษาจีนระดบั ตน้ 4 210120 ภาษาจีนเพ่อื การสอ่ื สารในชวี ิตประจำวัน 4.68 ไม่มี 4.11 ไม่มี 210212 การอา่ นภาษาจนี 2 4.43 แนะนำช่องทางสนทนากบั ชาวจนี เพอ่ื 210313 การเขยี นภาษาจีน 2 4.38 ฝึกฝนการสอื่ สารมากขึ้น 210314 การแปลภาษาจนี 2 4.44 ฝึกถามตอบและบรรยายส้นั ๆมากขึน้ 210462 การฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพภาษาจนี ไมม่ ี 210170 ภาษาจีนเพ่อื การสอ่ื สาร 1 4.22 ไมม่ ี 4.32 ไม่มี 210370 ภาษาจีนเพือ่ การส่ือสาร 4 4.35 ไม่มี 210271 ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร 3 4.28 210315 ไวยากรณภ์ าษาจีน2 4.31 ไม่มี 210114 การอ่านภาษาจีน 1 4.14 ไม่มี 210214 สนทนาภาษาจีน ไมม่ ี 210311 ภาษาจนี ระดบั กลาง 2 ไมม่ ี ไม่มี ไม่มี
51 5. ผลการประเมนิ คณุ ภาพการสอนโดยรวม สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพการสอนของอาจารยผ์ สู้ อนในรายวิชาต่าง ๆ เชน่ รายวชิ าท่ีเปิดสอนในหลักสูตรศิลปศา สตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาจีน มีทง้ั หมด 38 รายวชิ า ได้รับการประเมินผลจากนกั ศกึ ษาครบทุกรายวิชา โดยมีผลการประเมิน คณุ ภาพการสอนโดยรวมอยู่ในเกณฑร์ ะดับมาก (คะแนนอยใู่ นช่วง 4.39 จากคะแนนเตม็ 5) หลักฐาน : ผลประเมินคณุ ภาพการสอนของนกั ศกึ ษาตอ่ อาจารย์ 6. ประสิทธผิ ลของกลยทุ ธก์ ารสอน (ระบุขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะตามท่ปี รากฏใน หมวดท่ี 2 ขอ้ 3. ใน มคอ.5 ของแตล่ ะรายวิชา) สรปุ ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะต่อสัมฤทธิผลของการสอนและ แนวทางแกไ้ ข/ปรับปรุง ผลการเรยี นรู้ตามกลุ่มสาระหลกั ทง้ั 5 ประการ (1) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม - นกั ศกึ ษาบางคนสง่ งานไม่ตรงตามเวลาทีก่ ำหนด - นักศึกษาไมเ่ ข้าเรยี นตามเวลาในตารางเรยี น บางสว่ นเข้า 1) การบรรยายพรอ้ มยกตวั อยา่ งกรณีศกึ ษาที่เก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนา เรยี นไม่ตรงเวลาหรอื ทำกิจกรรมอน่ื ขณะเรียน ทำให้ไมท่ ราบ ทักษะภาษาจนี เกณฑ์การให้คะแนนในการนำเสนองาน - นักศึกษาบางสว่ นคัดลอกผลงานของเพอื่ นในชัน้ เรยี น 2) การมอบหมายการทำรายงานเดยี่ ว รายงานกล่มุ - นกั ศกึ ษาบางส่วนสบื ค้นความหมายของศพั ท์ด้วยตนเอง แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง 3) ตรวจแบบฝกึ หดั และงานทส่ี ่งของนักศกึ ษา ต้องตรงตอ่ เวลาและไม่ - ช้แี จงถึงผลกระทบของการส่งงานไม่ตรงต่อเวลาหรอื ลอกเลยี นงานของผอู้ นื่ กำหนดขอ้ ตกลงกันในระหวา่ งเรยี น และมีคะแนนการตรงต่อ เวลาในการส่งงาน 4) ในระหวา่ งการสอน สอดแทรกคุณธรรมตา่ ง ๆ เช่น การแต่งกายให้ - ตกั เตือนและแนะนำผู้เรยี นในการบริหารจดั การเวลา ถูกระเบยี บ การชว่ ยเหลือผู้อื่น เป็นต้น รวมถงึ แจง้ แหล่งการดาวน์โหลดไฟล์ในรายวิชาอีกคร้ัง - ตักเตือนและพยายามใหน้ กั ศึกษาทกุ คนฝึกแต่งประโยค ภาษาจีนท้ายคาบเรยี น - ส่มุ ถามตอบเนอื้ หาท่เี กี่ยวขอ้ งกบั บทเรียน (2) ความรู้ - นักศึกษาไม่ทบทวนความรู้เดิมหรือบทเรียนเก่า และไม่ 1) การบรรยาย อภิปรายผ่านส่ือต่างๆ เชน่ PPT MP3 YouTube เตรียมบทเรียนใหม่ด้วยตนเอง - นกั ศกึ ษาบางสว่ นมกั จะไม่แสดงความคดิ เหน็ ในช้ันเรยี น และเวบ็ ไซด์ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั จนี - นักศึกษายังคงต้องใช้เวลาปรับตัวในระบบการเรียนแบบ 2) การตอบคำถาม ตอบปัญหา ออนไลนด์ ว้ ยตนเอง 3) การทำกิจกรรม การฝกึ ปฏบิ ตั ิเปน็ ค่แู ละกลุม่ สร้างสถานการณ์ - นักศึกษาบางกลุ่มไม่ตั้งใจฟังบรรยายในขณะที่อาจารย์ กำลงั บรรยายอยู่ ส่งผลกระทบทำให้เวลาทำการทดสอบน้ัน สมมตุ ิอยา่ งง่ายตามบทเรยี น พรอ้ มทง้ั จบั คูส่ นทนา ใชเ้ วลามากเกินกว่าท่อี าจารย์วางแผนเอาไว้ 4) การทบทวนเนือ้ หาท่ีเรียนมาในคาบทีแ่ ล้ว โดยใหน้ กั ศึกษาตอบ - พื้นฐานความรูท้ างทักษะของนักศกึ ษามีจำกัด และมคี วามรู้ ทางวิชาการทตี่ ่างกัน คำถาม - นักศึกษาสบั สนดา้ นการใช้คำและไวยากรณ์ อ่านพนิ อนิ ไม่คล่องแคล่ว
52 แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง - อาจารย์จะตอ้ งทบทวนความรู้เดมิ และให้แบบฝึกหัดเสริม เพ่อื เป็นการทบทวนมากขึ้น - มีแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทให้นักศึกษาฝึกทำ - สมุ่ เรียกถามรายบุคคลในคาบเรียนเพื่อใหเ้ กดิ แรงกระตนุ้ - อาจารย์เรียกนักศึกษาให้ตอบคำถามท้ายคาบเรียนเป็น รายบคุ คล - อาจารย์จะต้องคอยชี้แนะแนวทางให้นักศึกษาเป็น รายบุคคล - ให้นักศึกษากลุ่มทีม่ ีปัญหานั้นทดสอบนอกเวลาเรียนโดย ผ่านทางสื่อออนไลน์(zoom)เพื่อให้ผลทดสอบเป็นไปตามท่ี กำหนด - ชี้แนะให้นักศึกษาฝึกฝนทักษะต่างๆอย่างสม่ำเสมอ มอบหมายใหฝ้ ึกฝนในช้ันเรียนและคอยชแี้ นะ (3) ทักษะทางปัญญา - นักศึกษาขาดทักษะในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียนและ การเตรียมตัวไม่พร้อมที่จะรายงานในหัวข้อที่ตนเอง 1) การบรรยายหรอื อภิปรายยกตัวอยา่ งประกอบ รับผิดชอบ 2) การมอบหมายการงานเด่ยี ว และการทำงานกลุม่ - นกั ศึกษาไมเ่ ปดิ กลอ้ ง หรอื เปิดไมคเ์ มือ่ ผูส้ อนซกั ถาม 3) การนำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น - แหลง่ ขอ้ มลู ส่วนใหญ่เปน็ ภาษาจีน 4) การใช้สือ่ การเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย เชน่ - นักศึกษาใช้ภาษาสื่อความหมายไม่ได้มากเท่าที่ควร และ เอกสารประกอบการสอน ppt เกม ขาดการประยุกต์ใช้ 5) การสอดแทรกปญั หา และยกตวั อย่างกรณีศกึ ษา - นักศึกษาไม่ปฏิบัติตามที่อาจารย์แนะนำในบางด้าน เช่น 6) การสอบปฏบิ ตั ิ หรือการตอบคำถามปัญหาตา่ ง ๆ อ่านบทเรยี นโดยใช้ Google translate แปล 7) การฝกึ สนทนาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เปน็ ค่/ู การฝกึ อ่านบทสนทนา แนวทางแกไ้ ข/ปรับปรงุ หรือฝึกอา่ นตวั บทต่าง ๆ และอภิปรายร่วมกนั ในชัน้ เรียน - ชแ้ี จงหลกั การนำเสนอและยกตวั อย่างการนำเสนอรายงาน ส่วนการเตรยี มตวั ผูส้ อนให้เวลา โอกาสกลบั ไปเตรียมตัวใหม่ จนกว่านกั ศกึ ษาจะบรรลวุ ัตถุประสงค์ในหัวขอ้ ที่ต้ังไว้ - สรา้ งแรงจงู ใจนักศึกษาด้วยการใหค้ ะแนนเพม่ิ - อาจารย์ควรแนะนำการใช้แหล่งข้อมูลนั้นๆด้วย เช่น www.baidu.com หรือการสืบค้นเนื้อหาเกี่ยวกับประเทศ จนี และภาษจีนจาก MOOC - อาจารย์ให้กำลังใจกับนกั ศกึ ษา และชี้แนะเทคนิคในการ เรียน - ให้ฝึกอา่ นโดยใชเ้ ว็บและพจนานกุ รมท่ีนา่ เชอื่ ถอื (4) ทักษะดา้ นความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ 1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำงานเป็นกลุ่ม หรอื เพ่อื นชว่ ยเพื่อน - นกั ศึกษาบางกลมุ่ ขาดความสามัคคใี นการทำงาน 2) มอบหมายงานรายกลุ่มงานเด่ยี ว และงานกล่มุ ตามโจทย์หรือ - นกั ศกึ ษาบางคู่ท่ใี ห้สนทนาไม่มีความพร้อมในการเตรียม สถานการณ์จำลองที่กำหนด บทเรียนลว่ งหน้า - นกั ศกึ ษาบางกลุ่มไมเ่ ขา้ ใจหัวข้องานที่มอบหมายงานให้
53 3) การกำหนดหัวขอ้ เพื่อฝึกใหน้ กั ศึกษาสนทนาภาษาจีนกับเพ่ือนใน - นักศกึ ษาชน้ั ปีที่ 1 เพง่ิ เข้าใหมแ่ ละมีผลกระทบจากโรค ห้องเรยี น ระบาดโควิด 19 ทำให้การเรยี นส่วนใหญ่น้นั เป็นไปใน 4) ต้ังคำถามฝกึ ให้นักศกึ ษาโตต้ อบกับอาจารยเ์ ป็นภาษาจนี ใน รูปแบบออนไลน์ นกั ศึกษาจึงขาดโอกาสในการเรยี นหรือการ สถานการณต์ ่าง ๆ ทำงานเปน็ กลมุ่ 5) เล่นเกมเป็นกลุม่ เพือ่ ตอบสนองจากการซกั ถามในชัน้ เรยี น - นกั ศกึ ษาแบง่ หนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบงานกลมุ่ ไม่ทวั่ ถึง 6) การสรา้ งบอร์ดถาม-ตอบใน E-learning Google Classroom แนวทางแกไ้ ข/ปรบั ปรงุ กลมุ่ Facebook หรอื แพลตฟอรม์ อน่ื ๆ - ชแี้ จงถึงการขาดความสามัคคีในการทำงานและเนน้ ใหผ้ มู้ ี ความสามารถชว่ ยเหลือเพอ่ื นทค่ี วามรนู้ อ้ ย - หกั คะแนนความพรอ้ มในการสนทนาเพอ่ื ให้ครั้งต่อไปจะได้ เกดิ ความกระตือรอื รน้ - กำหนดหวั ขอ้ ท่นี า่ สนใจใหอ้ ภปิ รายรว่ มกนั โดยเรยี กช่อื เปน็ รายบุคคล - ตัวแทนนกั ศกึ ษาสอบถามทางแชทออนไลนเ์ ป็นรายบุคคล - มอบหมายงานกลุ่มให้แต่ละกลุ่มรบั ผิดชอบและนัดหมายให้ นักศกึ ษาเขา้ มาทำกจิ กรรมทผ่ี ู้สอนมอบหมายใหน้ น้ั ใน มหาวิทยาลัยโดยอยู่ภายใตก้ ฎท่มี หาวทิ ยาลยั กำหนด เชน่ การตรวจคดั กรองโรค ให้ทำการเรียนการสอนในหอ้ งเรียนได้ โดยที่จำนวนนกั ศกึ ษานัน้ มาไดไ้ มเ่ กนิ 50 % - กำหนดใหจ้ ัดกลุ่มเล็ก (5) ทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข -นักศึกษาค้นหาข้อมูลโดย Google translate โดยไม่คิด การสื่อสารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ วเิ คราะห์ถงึ บริบทในการแปล 1) มอบหมายให้คน้ ควา้ ขอ้ มลู สารสนเทศและรายงาน -นักศึกษาบางคนออกเสยี งภาษาจนี ไม่ถูกตอ้ ง 2) มอบหมายงานและการใชร้ ะบบการเรยี นออนไลน์ E-learning -นกั ศกึ ษาไม่ทราบการใช้อีเมลส่วนตัวในการใช้ร่วมกับระบบ 3) การบรรยายหรอื อภปิ รายยกตวั อยา่ ง ฝึกสนทนาภาษาจนี ระหวา่ ง เรยี นออนไลน์ นักศึกษากบั อาจารย์ -นกั ศึกษาบางคนไมช่ ่วยเพอ่ื นทำงาน 4) มอบหมายใหน้ กั ศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองจากข้อมูลตามหวั ขอ้ ท่ี -สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตไมเ่ อ้ืออำนวยมักไม่แสดงความคิดเห็น กำหนด โดยอ้างองิ จากแหลง่ ท่มี าของข้อมูลทีม่ ีคณุ ภาพน่าเช่ือถอื เพือ่ เท่าที่ควร หรือไม่ใหค้ วามรว่ มมอื นำมาฝึกฝนการสื่อสารในสถานการณต์ ่าง ๆ เช่น website, E- แนวทางแกไ้ ข/ปรับปรุง learning -อธิบายและชี้แจงถึงประโยชน์ของ google translate แต่ ต้องใช้เครือ่ งมือการแปลเหล่าน้ีให้พอเหมาะและใคร่ครวญ กอ่ นลงมือปฏิบัติการแปล -ให้นักศึกษานำเสนอรายงานแบบออนไลน์ โดยผู้สอน ยกตัวอย่างแหล่งค้นคว้าที่น่าเชื่อถือให้ผู้เรียน แนะนำการ ออกเสยี ง และให้คำตชิ มหลังการนำเสนอรายงาน -อธิบายขัน้ ตอนการได้มาของอเี มล และการใช้ในการเรยี น -ทดสอบโดยการถามคำถามรายบุคคล -ควรปรับปรงุ สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ซ้อื 4G, 5G เพ่ิม -ชี้แนะและส่งเสริมให้นักศึกษาฝึกฝนการใช้เทคโนโลยี ประยกุ ต์กบั ภาษาอยู่เสมอ
54 หมวดท่ี 5 การบริหารหลกั สตู ร 1. คณุ ภาพหลกั สูตรการเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล ตัวบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน สาระของรายวิช ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2563 มีผลการดำเนินงานในระดบั 3 าในหลักสูตร ผลการประเมินตนเองในปี 2564 มผี ลการดำเนนิ งานในระดับ 3 (ตวั บ่งชี้ 5.1) ผลการดำเนินงาน 1) การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิ าในหลกั สตู ร (P) มีผลดำเนนิ การดังนี้ 1. หลักสูตรสำรวจความคิดเห็นของนักศกึ ษาบัณฑิตและผใู้ ชบ้ ณั ฑติ 2.อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สตู รรว่ มกันกำหนดรายวชิ าและคำอธิบายที่มเี นือ้ หาทันสมยั เหมาะสมกับศาสตร์และ หน่วยกิต 3. กำหนดความรบั ผิดชอบหลกั ความรับผิดชอบรองใน มคอ.2 4. เชิญผู้ทรงคุณวฒุ ิร่วมวพิ ากษ์เม่อื พบขอ้ บกพรอ่ งจากขอ้ เสนอให้ปรับแก้ 5. เสนอหลักสตู รต่อคณะ สภาวิชาการ สภามหาวทิ ยาลัย และสกอ. อนมุ ตั ิ 6. ประเมนิ ผลการปรบั ปรุงหลกั สูตรให้สิ้นข้อบกพร่อง 7. นำผลการประเมินไปปรบั ปรุง (D) การดำเนนิ การตามระบบและกลไกการปรับปรุงหลกั สูตรและสาระรายวชิ าในหลักสตู ร การดำเนนิ การตามระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความกา้ วหนา้ ของศาสตร์พบว่าหลักสูตร ไดม้ ีการพฒั นาหลกั สูตรปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2560 ใหม้ ีความทนั สมยั สอดคล้องกบั ความก้าวหน้าทางศาสตร์ภาษาจีน และความต้องการของผ้ใู ชบ้ ัณฑติ โดยวิเคราะหข์ ้อมูลจากการสำรวจความต้องการของผูเ้ รยี นและผ้ใู ช้บณั ฑิต และ ข้อเสนอแนะของผทู้ รงคณุ วุฒแิ ลว้ นำมาปรับปรงุ แกไ้ ข จากนนั้ นำเสนอต่อคณะกรรมการบรหิ ารคณะ สภาวชิ าการ สภามหาวทิ ยาลัย และสกอ. ตามลำดบั (C) การประเมินระบบและกลไกการออกแบบหลกั สตู รและสาระรายวิชาในหลักสตู ร หลักสูตรจัดประชมุ ผูร้ ับผิดชอบหลักสตู รเพื่อทบทวนผลการดำเนินงานของหลักสูตร โดยพิจารณาถงึ ปัญหา หรือสง่ิ ท่ีค้นพบระหว่างการดำเนินงานของหลักสตู ร รวมถึงความก้าวหน้าในการสอนของสาขาวชิ าในสถานการณ์ ปจั จุบนั ท่ปี ระชมุ เห็นวา่ หลักสตู รจำเป็นต้องมกี ารปรับปรุงตามรอบระยะเวลาทีก่ ำหนดในปี 2564 ดังนัน้ หลักสตู ร จึงไดม้ ีการปรับแนวทางดำเนนิ งานใหห้ ลักสตู รพร้อมใชง้ านตามระยะเวลาทีก่ ำหนดไว้ (A) การปรบั ปรงุ ระบบและกลไกการออกแบบหลกั สตู รและสาระรายวิชาในหลักสูตร หลกั สูตรได้ประชุมอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรเพอื่ ทบทวนกระบวนการ สรุปได้ว่าเพ่อื ให้สอดรับกับโลกยุค ปัจจบุ นั (New normal) และความก้าวหน้าทางศาสตร์ภาษาจีนตามความตอ้ งการของผู้เรียนและความต้องการ ของผู้ใชบ้ ณั ฑิต และผูท้ รงคุณวฒุ ิที่ได้ช่วยแนะนำ หลักสูตรจึงได้ปรบั รายละเอียดใน มคอ3 เพื่อให้เนือ้ หาทันสมัย และผลิตบณั ฑติ ใหต้ รงตามตลาดแรงงานตอ้ งการเพอ่ื พฒั นาหลกั สตู รปีหน้า 2) การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาวิชานัน้ ๆ (ถ้ามีการปรับปรุงหลักสูตรใน รอบปีการประเมิน) (P) หลักสูตรมีระบบกลไกการปรบั ปรุงหลักสตู รดังน้ี 1. หลกั สตู รทบทวนความทนั สมัยของหลักสตู รความเปล่ียนแปลงทางวิทยาการ นวตั กรรมและเทคโนโลยี เพื่อออกแบบหลักสูตร
55 2. พิจารณาและเสนอรายชอื่ เพ่ือแตง่ ตงั้ คณะกรรมการปรับปรุงหลกั สูตร 3.พิจารณาและเสนอรายชือ่ เพ่อื แต่งตง้ั ผู้ทรงคณุ วุฒเิ ป็นกรรมการวพิ ากษ์หลักสตู รภาษาจีน 4. ออกแบบหลกั สตู รตามความตอ้ งการของผใู้ ช้บัณฑิต โดยให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและ กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษา 5. ดำเนินงานจัดทำหลกั สูตรตามที่ได้วเิ คราะห์และออกแบบ 6. ดำเนนิ งานวิพากษห์ ลักสตู ร 7. ปรับปรงุ หลกั สูตรตามขอ้ เสนอแนะของกรรมการวิพากษก์ หลักสูตร 8. นำเสนอหลกั สูตรตอ่ กรรมการบริหารคณะเพือ่ พิจารณา 9. นำเสนอหลักสูตรตอ่ สภาวชิ าการเพอื่ พิจารณา 10. นำเสนอหลกั สูตรตอ่ สภามหาวิทยาลยั เพ่ือพจิ ารณา 11. ส่งหลักสูตรให้กับ สกอ. รบั ทราบ พิจารณาอนมุ ตั ิ 12. ประเมินผลการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมยั 13. นำผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ (D) การดำเนินงานตามระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ตามความก้าวหน้าของศาสตร์ พบวา่ หลักสูตรได้มกี ารพัฒนาหลักสตู รปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2560 ใหม้ คี วามทนั สมัยท้ังชื่อรายวชิ า คำอธิบายรายวิชา สอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ชบ้ ัณฑิตและผูท้ รงคุณวฒุ ิ จากนัน้ เสนอต่อคณะ สภาวิชาการ สภามหาวทิ ยาลัย และ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม พิจารณารับทราบให้ความเห็นชอบหลักสูตรแล้ว นอกจากนห้ี ลกั สตู รยังไดส้ ำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อรายวิชาในหลกั สูตร (C) (C) การประเมินระบบและกลไกการปรับปรงุ หลกั สูตรให้ทันสมยั ตามความก้าวหนา้ ของศาสตร์ หลกั สตู รประชมุ อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร เพอ่ื ทบทวนกระบวนการปรบั ปรุงหลักสตู ร ให้ทันสมัยตาม ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ สาขาภาษาจีน สรปุ ได้วา่ ในปี 2565 หลักสูตรได้กำหนดสมรรถนะของนักศกึ ษา รวมทง้ั องค์ความรูใ้ นแต่ละชัน้ ปใี ห้เหมาะสม และพัฒนาตามความตอ้ งการของผูใ้ ชบ้ ณั ฑิต (A) (A) การปรบั ปรงุ ระบบและกลไกการปรับปรงุ หลกั สูตรให้ทนั สมัย ตามความกา้ วหน้าของศาสตรส์ าขาน้นั ๆ การปรบั ปรงุ ระบบการตามผลทบทวนกระบวนการปรับปรุงหลักสตู ร พบวา่ หลักสตู รปรบั ปรงุ ปี 2565 ได้มี การปรับหลักสตู รใหท้ ันสมยั และสอดคลอ้ งกับสงั คม เศรษฐกิจในปจั จุบนั โดยมกี ารปรบั โครงสร้างหลักสูตร ให้ ผูเ้ รียนได้เรยี นในรายวชิ าในหมวดเฉพาะทีท่ ันต่อการเปลย่ี นแปลง ในยุคปัจจบุ นั ผลการดำเนนิ งาน 1)การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสตู ร (P) มีผลดำเนินการดังนี้ 1. หลกั สูตรสำรวจความคิดเหน็ ของนกั ศกึ ษาบัณฑติ และผใู้ ชบ้ ัณฑิต 2.อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรร่วมกนั กำหนดรายวิชาและคำอธิบายที่มีเน้อื หาทนั สมัยเหมาะสมกับศาสตร์และ หน่วยกติ 3. กำหนดความรับผิดชอบหลกั ความรับผิดชอบรองใน มคอ.2 4. เชญิ ผู้ทรงคณุ วุฒริ ว่ มวพิ ากษเ์ ม่อื พบข้อบกพรอ่ งจากขอ้ เสนอใหป้ รบั แก้ 5. เสนอหลกั สตู รต่อคณะ สภาวชิ าการ สภามหาวทิ ยาลัย และ สกอ. อนมุ ตั ิ 6. ประเมนิ ผลการปรับปรุงหลักสตู รให้ส้นิ ขอ้ บกพร่อง 7. นำผลการประเมินไปปรับปรงุ (D) การดำเนินการตามระบบและกลไกการปรบั ปรุงหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสตู ร การดำเนินการตามระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าของศาสตร์พบว่า หลกั สตู รได้มีการพัฒนาหลักสูตรปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2565 ใหม้ คี วามทันสมยั สอดคลอ้ งกบั ความก้าวหน้าทางศาสตร์ ภาษาจนี และความต้องการของผู้ใช้บัณฑติ โดยวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากการสำรวจความตอ้ งการของผู้เรียนและผู้ใช้
56 บณั ฑิต และขอ้ เสนอแนะของผู้ทรงคุณวฒุ แิ ล้วนำมาปรับปรงุ แกไ้ ข จากน้ันนำเสนอต่อคณะกรรมการบรหิ ารคณะ สภาวชิ าการ สภามหาวิทยาลัย และ สกอ. ตามลำดบั (C) การประเมินระบบและกลไกการออกแบบหลักสตู รและสาระรายวชิ าในหลักสตู ร หลกั สตู รจัดประชมุ ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรเพอ่ื ทบทวนผลการดำเนินงานของหลักสตู ร โดยพิจารณาถึงปัญหา หรือสิ่งท่คี น้ พบระหวา่ งการดำเนินงานของหลกั สตู ร รวมถึงความกา้ วหนา้ ในการสอนของสาขาวชิ าในสถานการณ์ ปัจจุบัน ที่ประชุมเห็นว่าหลักสูตรจำเป็นต้องมีการปรับปรุงตามรอบระยะเวลาที่กำหนดในปี 2564 ดังน้ัน หลกั สูตรจงึ ได้มกี ารปรับแนวทางดำเนนิ งานใหห้ ลกั สูตรพรอ้ มใช้งานตามระยะเวลาทกี่ ำหนดไว้ (A) การปรบั ปรุงระบบและกลไกการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิ าในหลักสตู ร หลักสูตรได้ประชมุ อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สตู รเพื่อทบทวนกระบวนการ สรุปไดว้ ่าเพ่อื ใหส้ อดรับกับโลกยุค ปจั จุบนั (New normal) และความกา้ วหนา้ ทางศาสตร์ภาษาจนี ตามความต้องการของผู้เรียนและความต้องการ ของผูใ้ ช้บณั ฑิต และผูท้ รงคณุ วฒุ ิที่ได้ชว่ ยแนะนำ หลกั สูตรจึงได้ปรบั รายละเอยี ดใน มคอ3 เพ่ือใหเ้ น้ือหาทันสมัย และผลติ บณั ฑติ ให้ตรงตามตลาดแรงงานต้องการเพื่อพัฒนาหลกั สูตร 2) การปรบั ปรุงหลกั สตู รให้ทันสมยั ตามความก้าวหนา้ ในศาสตรส์ าขาวิชานนั้ ๆ (ถา้ มกี ารปรับปรงุ หลักสูตรในรอบ ปกี ารประเมิน) (P) หลกั สูตรมรี ะบบกลไกการปรับปรุงหลักสตู รดังนี้ หลักสูตรทบทวนความทันสมัยของหลักสูตรความเปลี่ยนแปลงทางวิทยาการ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ ออกแบบหลักสูตร โดยในปีการศึกษา 2563 - 2564 หลักสูตรมีการประชุมวางแผนจัดโครงการเตรียมฝึก ประสบการณว์ ชิ าชพี ภาษาจนี จากการสำรวจ นักศกึ ษามคี วามต้องการใหท้ างหลกั สูตรอบรมโดยมหี ัวขอ้ การเขยี น แผนการสอน และการพัฒนาบุคลิกภาพก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาจีน นอกจากนี้ คณาจารย์ใน หลกั สตู รยังมคี วามเหน็ วา่ ควรจดั โครงการบูรณาการด้านเทคโนโลยใี ห้กบั นักศึกษาในรายวชิ าหนง่ึ ในหลกั สตู ร จึง ได้กำหนดวิชาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ และวิชาภาษาจีนระดับกลาง 2 และวางแผนจัด โครงการบูรณาการเรียนการสอนกบั บริการวชิ าการระดบั หลกั สตู รในปกี ารศึกษา 2564 (D) การดำเนินงานตามระบบและกลไกการปรบั ปรุงหลักสตู รใหท้ นั สมัย ตามความกา้ วหน้าของศาสตร์ พบว่า นอกจากหลกั สตู รได้มีการปรับปรุงเลก็ น้อยให้มีความทันสมัยใน 2 รายวิชาในปี 2563 ได้แก่ รายวิชาเตรียมฝึก ประสบการณ์วิชาชีพภาษาจีน และวชิ าภาษาจีนธุรกจิ ซง่ึ ไดจ้ ดั โครงการบูรณาการตามแผนทั้ง2 รายวิชา ได้แก่ โครงการเตรียมฝึกประสบการณว์ ิชาชีพภาษาจีน และโครงการเจรจาตดิ ตอ่ สั่งซ้ือสินค้าออนไลนจ์ ากจนี แล้ว ในปี การศึกษา 2564 ยังจัดโครงการบูรณาการเรียนการสอนกับบริการวิชาการระดับหลักสูตรตามแผน ปรับปรุง คำอธิบายรายวชิ าการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาตา่ งประเทศ เปลยี่ นจากวิชาบรรยายเป็นวิชาปฏบิ ัติ พร้อมกัน ในการพฒั นาปรบั ปรงุ หลักสูตร 2565 (C) การประเมินระบบและกลไกการปรบั ปรงุ หลักสูตรใหท้ นั สมยั ตามความกา้ วหน้าของศาสตร์ หลักสูตรประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อทบทวนกระบวนการปรับปรุงหลักสูตร ให้ทันสมัยตาม ความก้าวหน้าของศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีน และปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน การดำเนินโครงการพัฒนา นักศึกษา ทั้งออนไลนแ์ ละออนไซต์ สรุปได้วา่ ถึงแม้จะมีอุปสรรคบ้าง แต่นักศกึ ษาแตล่ ะชั้นปี สามารถเข้ารว่ ม โครงการไดร้ ับความรู้และนำไปปฏบิ ตั ิได้ เช่น นกั ศึกษาช้นั ปที ่ี 3 สามารถเขา้ อบรมทั้งรูปแบบออนไลน์และออน ไซต์ เรียนรู้การใช้แอพพลิเคชั่น Canva, Word wall และ Menti เบื้องต้น จนสามารถทำสื่อนำเสนอความรู้ เก่ยี วกับภาษาและวัฒนธรรมจีน การสอนออนไลน์ตามหวั ขอ้ ท่กี ลุ่มของตนเองกำหนดได้ ในการดำเนินโครงการ บูรณาการเรียนการสอนกับบริการวิชาการระดับหลักสูตรหลังจากทราบว่าตอ้ งปรับรูปแบบการบรกิ ารวชิ าการ จากออนไซต์เป็นออนไลน์ ใหก้ บั โรงเรียนมัธยมท่เี ขา้ รว่ มโครงการ เนอ่ื งจากทางโรงเรียนประกาศงดการเข้าพื้นที่ กระทนั หนั จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด19ภายในโรงเรียน จากโครงการดงั กล่าวทำให้นักศึกษามีความ มน่ั ใจและไดฝ้ ึกการทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืน ฝึกทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี และการถ่ายทอดความรดู้ ้านภาษาจีนของตน ใหก้ บั ผ้อู ่นื ไดเ้ ปน็ อย่างดี (A) การปรบั ปรุงระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรใหท้ ันสมัย ตามความก้าวหนา้ ของศาสตรส์ าขานัน้ ๆ
57 การปรับปรุงระบบการตามผลทบทวนกระบวนการปรับปรุงหลักสตู ร พบว่า ได้มีการปรับหลักสูตรให้ ทันสมัยและสอดคล้องกับสังคม เศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยมีการปรับปรุงเล็กน้อยในบางรายวิชาในหลักสูตร มี ประเมินผลแลว้ ว่าควรจดั โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการประยุกต์ใชส้ ื่อการเรียนรู้ภาษาจีนออนไลน์เพิ่มเติม ใหก้ ับนกั ศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งนักศกึ ษาชนั้ ปที ี่ 3-4 การพฒั นารายวิชาจากผลการดำเนินงานใน มคอ.5 ของแตล่ ะวชิ า พบว่า มปี ระเดน็ ควรทำการพัฒนาใน รายวิชาตา่ ง ๆ ดงั น้ี รายวิชา จดุ ท่คี วรพัฒนา แนวทางปรับปรงุ 1. วฒั นธรรม ประเพณจี ีน อุปกรณก์ ารสอนไมเ่ พยี งพอ วางแผนเตรียมส่อื การสอนเพม่ิ เติม เช่น และศิลปะจนี และควรจัดทำตำรา เชือก ผา้ กระดาษ นอกเหนอื จากแบบเรียน และจดั ทำตำราทมี่ ีเนือ้ หาเก่ียวขอ้ ง เพื่อเพ่ิมพูนแหลง่ คน้ ควา้ ที่ กบั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม เขา้ ถงึ ได้งา่ ยแก่นักศึกษา 2. การเขยี นภาษาจีน 1 ควรพฒั นาเอกสาร ประชมุ วางแผนปรับปรุงเอกสาร 3.การสอนภาษาจีนในฐานะ ประกอบการสอน หรอื ประกอบการสอนหรอื ตำราใหเ้ หมาะสม ภาษาต่างประเทศ ตำรา 4.ไวยากรณ์ภาษาจนี 5.เตรียมฝึกประสบการณ์ จัดกจิ กรรมการบรรยายให้ วางแผนปรบั ปรงุ กำหนดหัวข้อสำหรับ วชิ าชีพ ความรู้ในหวั ขอ้ การเขียน การเตรยี มความพรอ้ มก่อนออกฝกึ ทต่ี รง แผนการสอนในระดับ กบั ความต้องการของนกั ศึกษาและสถาน โรงเรียนประถม มัธยม ประกอบการตามที่ไดร้ บั ข้อเสนอแนะมา และเพิ่มเติมการอบรมด้าน จากนกั ศกึ ษาและผใู้ ช้บัณฑิต ภาษาอังกฤษ การวางระบบผู้ส ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2563 มผี ลการดำเนินงานในระดบั 3 อนและกระบวน ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2564 มผี ลการดำเนนิ งานในระดบั 3 การจดั การเรยี น วิธเี ขียนผลการดำเนินงาน การสอน 1) การพิจารณากำหนดผู้สอน มผี ลการดำเนินงาน ดงั น้ี (ตวั บง่ ชี้ 5.2) 1.1 จำนวนอาจารย์ผูส้ อน........7......คน อาจารยพ์ ิเศษ.....2......คน 1.2 เกณฑ์ภาระการสอน 1.2.1 การกำหนดอาจารย์ผ้สู อน (P) ระบบและกลไกในการกำหนดอาจารยผ์ สู้ อน ตามระบบการจดั การเรยี นการสอน หลกั สตู รมีการวางแผนระบบการจัดการเรียนการสอนโดยได้จัดการประชุมเพื่อกำหนดรายวิชา ดงั น้ี 1. หลักสูตรประชุมพิจารณากำหนดผู้สอนในหลักสูตร ประจำปีการศึกษา จำนวน 2 ครั้ง (ก่อนภาค การศกึ ษาท่ี 1 และกอ่ นภาคการศกึ ษาท่ี 2) 2. มกี ารกำหนดใหอ้ าจารยผ์ สู้ อนท่ีไม่มตี ำแหนง่ ผบู้ ริหาร ตอ้ งมีภาระการสอนไม่ต่ำกว่า 15 คาบตอ่ สปั ดาห์ สำหรับประธานหลักสตู รภาระการสอนไม่ตำ่ กว่า 9 คาบต่อสัปดาห์ 3. หลักสูตรกำหนดรายวิชาให้ผู้สอนกระจายไปยังรายวิชาตา่ ง ๆ ที่เป็นวิชาบังคบั และวิชาเลือกเพื่อให้ ผเู้ รยี นในหลกั สตู รไดเ้ รยี นกบั ผเู้ รยี นทม่ี คี วามหลากหลาย 4. พิจารณาผสู้ อนโดยคำนงึ ถึงประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ความชำนาญของอาจารย์ ผสู้ อนในแตล่ ะรายวิชา 5. หลกั สตู รเสนอชือ่ ผูส้ อนใหก้ ับสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น
58 6. สำนักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียนจัดทำประกาศรายชือ่ ผู้สอนหมู่เรียนนกั ศกึ ษา ห้องเรียน ห้อง สอบปลายภาค แจง้ ไปยังคณะและผู้สอนทราบเพือ่ จัดทำ มคอ. 3 และดำเนินการจดั การเรียนการสอน ทดสอบ ประเมินผเู้ รยี น 7. นักศกึ ษาประเมินอาจารย์ผ้สู อน 8. หลกั สูตรจัดประชุมเพอ่ื ประเมินกระบวนการกำหนดผู้สอนรายวชิ าในหลักสตู ร 9. หลักสูตรจัดประชมุ เพ่ือทบทวนกระบวนการกำหนดผู้สอนรายวิชาในหลกั สตู ร และสรปุ ผลการทบทวน เพอ่ื นำไปปรบั ใช้ในปีการศกึ ษาตอ่ ไป (D) การดำเนินการตามระบบและกลไกการกำหนดผู้สอน และกระบวนการจัดการเรยี นการสอน หลักสตู รได้มกี ารพิจารณากำหนดอาจารยผ์ สู้ อน ตามคณุ วุฒแิ ละความเช่ยี วชาญ ในเนอื้ หา และทักษะรายวชิ า ของแตล่ ะรายวชิ าทีไ่ ดเ้ ปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษาและควบคุมภาระงานสอนของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร และอาจารยผ์ ูส้ อนทุกคนให้ครบตามเกณฑข์ องมหาวิทยาลัย 1.3 ภาระการสอน สรุปภาระการสอนของอาจารยผ์ ู้รับผอดชอบหลกั สตู รในภาคการศกึ ษาที่ 1 และ 2 ช่ืออาจารย์ ภาระการสอน ภาระการสอน รวมทัง้ (ชวั่ โมง) (ชัว่ โมง) หมด ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ทฤษฎี ปฏิบัติ อาจารย์ ดร. รจุ ริ า ศรสี ุภา 0 16 6 12 34 อาจารยจ์ ริ าพร ปาสาจะ 6 12 0 16 34 อาจารยจ์ นิ ตนา แยม้ ละมุล 6 8 0 16 30 อาจารยป์ านดวงใจ บญุ จนาวโิ รจน์ 9 8 0 16 33 อาจารย์ ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา 0 16 3 16 35 (C) การประเมินระบบและกลไกกำหนดผู้สอน และระบบการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรได้ประชุมและทบทวนการกำหนดอาจารย์ผู้สอน พบว่า อาจารย์ผู้สอนเพียงพอต่อภาระงานและ รายวิชา เน้อื หาท่ตี รงกบั คณุ สมบัติของผู้สอน นอกจากนี้ ท่ีประชุมจึงมีมตวิ ่าในปกี ารศกึ ษา 2564 หลักสูตรควร ต้องจดั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม และเปน็ ไปตามที่วางแผนการพฒั นาของอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตรและอาจารย์ใน หลักสูตรทว่ี างแผนพัฒนาผลงานของตน ดังนี้ อาจารย์ แผนการ ผลงานทางวิชาการที่ รายวชิ าท่ีบูรณาการ ปีท่ีคาดว่า ผู้รบั ผิดชอบ พัฒนา วางแผนพัฒนา จะ หลกั สูตร ดำเนินการ ได้ อาจารย์ ส่งผลงานเพื่อ 1.ผลติ ตำราการทอ่ งเทย่ี วใน การแปลภาษาจีน 1 - 2566 ดร.รุจิรา พิจารณา ทอ้ งถิ่น 2 และภาษาจนี เพอ่ื ศรสี ภุ า ตำแหน่งทาง 2.ศพั ทานกุ รมจีน-ไทย อุตสาหกรรมบริการ วิชาการ จังหวดั นครราชสมี า
59 อาจารย์ จิราพร ส่งผลงานเพือ่ 1.เอกสารประกอบการสอน การอ่านภาษาจีน 2 2565-2566 ปาสาจะ พิจารณา วิชา การอา่ นภาษาจนี 2 ภาษาจีนเพือ่ การ ตำแหนง่ ทาง 2.ตำราตวั เลขในภาษาและ สอื่ สารใน วชิ าการ วัฒนธรรมจนี ชีวติ ประจำวัน และ วัฒนธรรมประเพณีจี นและศิลปะจีน อาจารยจ์ นิ ตนา วางแผนศกึ ษา ผลิตตำรา การอา่ นภาษาจีน 1 2565 แยม้ ละมุล ต่อระดบั การอ่านภาษาจีนผา่ นส่ือ ปรญิ ญาเอก ออนไลน์ อาจารย์ สง่ ผลงานเพ่อื ผลติ ตำราหลกั การเขียน การเขยี นภาษาจนี 1 2566 ดร.ธีรวัฒน์ พิจารณา ภาษาจีน การโสภา ตำแหน่งทาง วชิ าการ อาจารย์ ปาน ตีพมิ พบ์ ทความ ผลติ เอกสารประกอบการ ความรทู้ ่ัวไปเก่ยี วกบั 2566 ดวงใจ บุญจนา วชิ าการและ สอนวชิ า ประเทศจนี วิโรจน์ ผลิตเอกสาร ความรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกบั ประกอบการ ประเทศจีน สอน และอาจารย์ในหลักสูตรท่ีวางแผนทำผลงานทางวิชาการ อาจารย์ใน แผนการพัฒนา ผลงานทางวิชาการที่ รายวชิ าท่ีบูรณาการ ปีท่ีคาดว่า หลักสูตร วางแผนพฒั นา/รายวิชาท่ี จะ บูรณาการ ดำเนินการ ได้ อาจารย์ ตีพมิ พ์บทความวิ ผลติ ตำราวฒั นธรรมจีนเพือ่ วัฒนธรรมประเพณี 2566 ดร.พชรมน ชาการและผลิต การสอ่ื สาร จีนและศิลปะจีน ซื่อสจั ลอื สกลุ ตำรา (A) การปรบั ปรุงระบบและกลไกกำหนดผ้สู อน และระบบการจัดการเรยี นการสอน หลกั สูตรดำเนนิ การปรับปรงุ ภาระงานตามผลการทบทวนภาระงานของการกำหนดอาจารยผ์ ู้สอน ดังนี้ การกำกบั กระบวนการสอน คุณภาพ/ความเหมาะสม ผกู้ ำกบั ตดิ ตาม วิธีการ 1.แผนการสอน อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสตู รเฉล่ียรายวิชาท่ีเปิด หลกั สูตร สอนในแต่ละภาคเรียนแล้วแบ่งหน้าที่กำกับ ตรวจสอบ ความเหมาะสมถูกต้องของเนื้อหาที่ สอน กิจกรรมการสอนวธิ กี ารสอน ระยะเวลาใน แผนการสอนในมคอ 3 และ 4 และเมื่อมีการ
60 แก้ไขจึงส่งคืนให้อาจารย์ผู้สอนแก้ไขให้ถูกต้อง แลว้ เสนอต่อประธานหลกั สตู ร 2.การแบ่งนำ้ หนักการ อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบ -อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลักสตู รเฉลีย่ รายวิชาที่เปิด ประเมินผลในแตล่ ะโดเมน หลกั สตู ร สอนในแต่ละภาคเรียนแล้วแบ่งหน้าที่กำกับ ตรวจสอบการแบ่งน้ำหนักการประเมินผลการ เรยี นรู้ในแตล่ ะโดเมนครบถว้ นทุกโดเมน ถกู ต้อง ตามความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง ถูกต้องตาม มคอ 2วิธีการประเมินผล สัดส่วน คะแนนและสปั ดาหท์ ปี่ ระเมิน เมอื่ ตรวจสอบแล้ว ไม่มีการแกไ้ ขแล้ว เสนอต่อประธานหลักสูตรแต่ หากต้องแกไ้ ขกส็ ่งคนื ให้อาจารย์ผู้สอนแก้ไขแล้ว เสนอตอ่ ประธานหลักสูตรตอ่ ไป 3.วธิ ีการประเมินผลของ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู รเฉลี่ยรายวิชาที่เปิด แตล่ ะโดเมน หลักสตู ร สอนในแต่ละภาคเรียนแล้วแบ่งหน้าที่กำกับ ตรวจสอบการวิธีการประเมนิ ผลในแต่ละเมนวา่ ถูกต้อง ครบถ้วน ระยะเวลาหมาะสม สัดส่วน คะแนนเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ มคอ. 2 4.การทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ -หลักสูตรกำหนดรายวิชาที่ต้องทวนสอบตั้งแต่ หลักสตู รและ ต้นภาคเรียนซึ่งต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของ คณะกรรมการทวน รายวชิ าทีเ่ ปดิ สอน สอบผลสมั ฤทธ์ิ -หลักสูตรแต่งตงั้ คณะกรรมการทวนสอบซ่ึงมีทั้ง กรรมการภายในและผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอกและ แจ้งให้อาจารย์ผู้สอนส่ง มคอ 3 มคอ 5 และ เอกสารอ่นื ๆที่ผู้สอนเตรียมใหก้ บั คณะกรรมการ -คณะกรรมการทวนสอบรว่ มกนั กำหนดเคร่อื งมือ ทวนสอบ วิธีการทวนสอบ กำหนดการ ทวนสอบ และสรุปผลการทวนสอบ จัดทำรายงานผลการ ทวนสอบแล้วเสนอตอ่ คณบดีลงนาม 2) การกำกบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการจดั ทำ มคอ.3 และ มคอ.4 มผี ลการ ดำเนนิ งาน ดังนี้ 1. หลักสูตรประชุมชีแ้ จงอาจารยผ์ ู้สอน ในปีการศึกษาก่อนหน้า โดยการนำ มคอ. 5 ปีการศึกษาท่ผี ่านมา โดยพิจารณาจากผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนการสอน (มคอ. 3) ในปี การศึกษาปัจจุบนั 2. หลักสูตรมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนทกุ คนดำเนนิ การจดั ทำ มคอ.3 ใหแ้ ลว้ เสร็จภายใน 1 สัปดาห์ก่อน เปิดภาคเรยี น (หลักฐาน : ปฏิทินการนำส่งแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564) 3. หลักสูตรมอบหมายใหอ้ าจารยผ์ ูส้ อนวางแผนการจัดการเรียนการสอน โดยการจดั ทำ มคอ.3 4. อาจารยผ์ ้สู อน สง่ มคอ. 3 ใหก้ ับหลกั สูตร
61 5. หลกั สูตรจดั ประชมุ เพ่ือประเมนิ กระบวนการการกำกับติดตาม และตรวจสอบการจดั ทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3 6. หลักสตู รจัดประชุมเพอ่ื ทบทวนกระบวนการกำกบั ติดตาม และตรวจสอบการจดั ทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3 (หลักฐาน : รายงานการประชุม คร้ังท่ี 6 วันที่ 22 พ.ย. 64) การดำเนนิ การจริงตามระบบและกลไกการกำกบั และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3 และการ จดั การเรียนการสอน ในปีการศกึ ษา 2564 หลักสูตรไดม้ อบหมายใหอ้ าจารย์ผู้สอนจดั ทำแผนการสอนและดำเนินการติดตามและ ตรวจสอบการจัดทำแผนแผนการสอนครบทกุ รายวชิ าใน ปกี ารศึกษา 2564 การประเมินผลระบบและกลไกการกำกบั และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรยี นรู้ มคอ.3 และการจัดการ เรียนการสอน หลกั สตู รดำเนินการประชมุ ทบทวนระบบและกลไก พบวา่ ในภาคเรียนที่ 1 เพ่ือประเมนิ กระบวนการการ กำกับตดิ ตาม และตรวจสอบการจดั ทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3 ในปีการศึกษา 2564 มอี าจารยผ์ ูส้ อนสง่ แผนการ เรียนรู้ (มคอ.3) เป็นไปตามระยะเวลาท่กี ำหนด (หลักฐาน : มคอ.3 ปีการศึกษา 2564) 3.) กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ของนักศึกษา คณะกรรมการหลักสูตร ประชุมวางแผน โดยพิจารณาข้อเสนอแนะ ปัญหาต่างๆ ในปีการศกึ ษาที่ผ่านมา และนำเสนอแตง่ ตง้ั คณะกรรมการทวนสอบประจำปกี ารศึกษา 2564 (หลักฐาน : คำส่ังแต่งตงั้ ) คณะกรรมการทวนสอบจะทำการทวนสอบในรายวชิ าต่างๆ โดยจะเชิญอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชามาให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง โดยพิจารณาจาก มคอ.3 มคอ.5 แบบฝึกหัด ลักษณะของข้อสอบ วิธีการให้ คะแนน วิธีการสอน และคะแนนการประเมินอาจารย์ มาพิจารณาประกอบกัน โดยจะทำการพิจารณาแตล่ ะ รายวชิ า โดยดคู วามทันสมัยในการปรับปรุงครง้ั ล่าสดุ การกระจายของเกรด และ ผลคะแนนการประเมนิ อาจารย์ ประกอบกัน และในปีการศึกษา 2564 นั้น ทางหลักสูตรมีการทวนสอบทั้งสิ้น 10 รายวิชา จาก 38 รายวิชา แบ่งเป็นภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 5 รายวิชา ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 5 รายวชิ า คดิ เปน็ ร้อยละ 25 จากรายวิชาท่ี เปิดสอนในปีการศกึ ษา 2564 (หลกั ฐาน : รายงานผลการทวนสอบสัมฤทธข์ิ องนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรูร้ ะดับรายวิชา) 4.) การกำกบั การประเมินการจดั การการเรยี นการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) เป้าหมายเชงิ ปริมาณ (ผล) เปา้ หมายเชิงคุณภาพ (ผล) - ทุกรายวิชามีการจดั ทำรายงานผลการ - มคอ.5 มคอ. 6 และ มคอ.7 มคี วามสอดคลอ้ ง ดำเนนิ การรายวิชา ตามแบบ มคอ.5 ภายใน 14 กบั มคอ.3 วัน หลังสิ้นสดุ ภาคการศึกษา - มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 มคี วามถูกตอ้ ง - หลกั สตู รจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานของ สมบูรณ์ของขอ้ มูลท่ีรายงาน หลกั สูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลัง สน้ิ สุดปกี ารศกึ ษา การกำกบั การประเมินการจัดการการเรียนการสอน และประเมินหลักสตู ร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ. 7) มผี ลการดำเนินงาน ดังนี้
62 ในปีการศึกษา 2563 ทางคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาจีน พบว่า การกำกับการประเมินการจัดการการเรียนการสอน (มคอ.5 และ มคอ.6) ยงั ไมม่ ีประสิทธภิ าพในการกำกบั ตดิ ตาม ที่ดีขึ้นเนือ่ งจากมกี ารนำผลการประเมินประกันคุณภาพของปีกอ่ นมาปรบั ใช้แต่มหาวิทยาลัยมกี ารปรบั รูปแบบ มคอ. ทำให้การดำเนินการล่าช้า เป็นผลใหก้ ารจดั ทำการประเมนิ หลกั สูตร (มคอ.7) เป็นไปได้ ยาก เพราะข้อมูล ลา่ ชา้ ดงั นน้ั ในปกี ารศกึ ษา 2564 ทางคณะกรรมการจงึ มี มีระบบและกลไก ในการประเมนิ การจดั การเรียน การ สอนและประเมินหลักสูตรโดยใช้เครื่องมือของการประกันคุณภาพ มคอ 5 มคอ 6 และ มคอ 7 โดยมีการ กำหนดเวลาและบันทึกการจัดส่งเอกสารอยา่ งชดั เจน ดังนี้ การจัดทำรายงานผลการดำเนนิ การของรายวชิ า และ รายงานการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนามตามแบบ มคอ.5 หรือ มคอ.6 ภายใน 30 วันหลัง ส้นิ สุดภาค การศึกษา และการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปี การศกึ ษาเพ่อื ใหเ้ กดิ การกำกับการประเมินการจัดการการเรียนการสอน และประเมินหลักสตู ร ท่ี มีคุณภาพและมี ประสิทธิภาพ โดยในการกำกับการประเมินทั้งสองประเด็นจะอยู่ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการประกัน คุณภาพของคณะ และคณะกรรมการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร ซึ่งมีคณบดีเป็น ประธาน หลักสูตรมีการ กำกบั การประเมินการจดั การเรียนการสอนโดยจดั ใหม้ ีประชุมหลกั สตู รหลังจากสิน้ สดุ ภาคการศึกษา เพื่อเป็นการ สรุปผลการดำเนินงานและสรปุ ผลการจัดการเรียนการสอน เพือ่ นำผลท่ีไดจ้ ากการ ประชมุ ไปวางแผนปรบั ปรุงใน การจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาตอ่ ไป (หลักฐาน : ปฏิทินการนำส่งแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 ประจำภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564) การวางแผนระบบและกลไกเพื่อการกำกับ/ติดตาม/ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการ ประเมนิ หลกั สตู ร - มีการจัดการเรียนการสอน การรายงานผลการดำเนินงาน (มคอ.5) และประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) ท่ีเร่มิ ต้ังแตศ่ กึ ษารายละเอยี ดของรายวชิ า(มคอ.3) หรอื รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) จัดเตรียมการสอน ดำเนินการสอน ติดตาม ประเมินผลการสอน และสรุปผลการจดั การเรียนการสอนโดยเน้น ผู้เรียนเปน็ สำคัญรายงานผลการดำเนินการรายวิชาและประสบการณภ์ าคสนาม และสิ้นสุดที่การปรับปรุงหรอื พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ การดำเนนิ การกำกับ/ติดตาม/ประเมินผลการจัดการเรยี นการสอนและการประเมนิ หลกั สูตร - อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู รร่วมกันกำกับดแู ลและพจิ ารณาการจดั ทำรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) หรอื รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ใหส้ อดคล้องตรงตามคำอธิบายรายวชิ าใน มคอ.2 - อาจารย์ผู้สอนดำเนินการสอนตามรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หรือรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ.4) ตามทรี่ ะบุไว้ในตารางสอน กรณที ไี่ ม่สามารถเข้าสอนตามท่ีระบุไว้ในตารางสอน ผู้สอนทำการ ขอสอนชดเชยหรือขอให้มกี ารจัดสอนแทน - เมอื่ สน้ิ สดุ ภาคการศกึ ษา อาจารย์ผู้สอนจดั ทำรายงานตามรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ.5) หรอื ตามรายงานผลการดำเนนิ การของประสบการณภ์ าคสนาม (มคอ.6) เสนออาจารย์ผูร้ ับผิดชอบรายวชิ า - นักศึกษาเขา้ ไปประเมนิ ในระบบประเมนิ อาจารย์ ผา่ นเวป็ ไซต์ของมหาวทิ ยาลัยเม่ือส้นิ สดุ ภาคการศึกษา การประเมนิ กระบวนการกำกบั /ติดตาม/ประเมินผลการจดั การเรยี นการสอนและการประเมนิ หลกั สตู ร - ดำเนนิ การทวนสอบผลสัมฤทธ์แิ ละสรปุ ผลการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิ - มวี ธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านการปฏบิ ัติการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ - มคี ณะกรรมการดำเนินการทวนสอบผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนรู้ของนักศึกษา - อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมร่วมกับอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร เสนอรายชื่อวิชาทวนสอบ ผลสมั ฤทธ์ติ อ่ คณบดี - คณบดพี ิจารณาลงนามคำสั่งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ และประกาศรายช่ือวิชาทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ
63 - คณะกรรมการดำเนนิ การทวนสอบผลสมั ฤทธิต์ ามลกั ษณะวธิ ีการทวนสอบท่ีระบุไว้ ในรายละเอยี ดของรายวิชา (มคอ.3) หรือรายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) - คณะกรรมการดำเนนิ การทวนสอบผลสัมฤทธิส์ รุปรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ต่ออาจารย์ผ้สู อนหรือ อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบรายวิชา เพอื่ นำไปจัดทำรายงานผลการดำเนนิ การของรายวิชา (มคอ.5) และรายงานผลการ ดำเนนิ การของประสบการณภ์ าคสนาม (มคอ.6) - คณะกรรมการดำเนินการทวนสอบผลสมั ฤทธ์สิ รปุ รายงานผลการทวนสอบผล สัมฤทธติ์ ่อฝ่ายวิชาการคณะ เพ่อื พจิ ารณาให้ข้อเสนอแนะและนำมาจัดทำแผนปรบั ปรุง ร่วมกับหลักสูตรต่อไป การปรบั ปรงุ ตามผลการประเมินการกำกับ/ตดิ ตาม/ประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอนและการประเมินหลัก สตู ร - แก้ไข ปรับปรงุ รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หรอื รายละเอยี ดของประสบการณภ์ าคสนาม (มคอ.4) ตามขอ้ ทว้ งตงิ หรือคำแนะนำจากรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวชิ า การกำกับ ระยะเวลา ผกู้ ำกบั ติดตาม วิธกี าร การประเมิน มคอ.5 14 วันหลงั ปิดภาค อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ ตามรายละเอยี ด มคอ. 5 การศกึ ษา ประจำหลักสูตร มคอ.6 14 วนั หลังปดิ ภาค อาจารย์ผสู้ อน/อาจารย์ ตามรายละเอียด มคอ. 6 การศกึ ษา ประจำหลักสตู ร มคอ.7 60 วนั หลงั ปดิ ภาค อาจารยป์ ระจำหลกั สูตร ตามรายละเอยี ด มคอ. 7 การศกึ ษา การปรบั ปรุงพัฒนาระบบและกลไกการกำกับติดตามและตรวจสอบการจดั ทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3) และการจดั การเรยี นการสอน ทป่ี ระชุมหลกั สตู รได้มีการทบทวนผลการดำเนินงาน พบวา่ ควรมผี ู้รับผิดชอบกำกบั ติดตามการส่งแผน เรียนรู้ มคอ.3 ทำการสร้างแบบฟอร์มการตรวจและรายงานผลเสนอที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร พบว่า อาจารยผ์ ู้สอนมกี ารส่งแผนการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นรู้ตามระยะเวลาทกี่ ำหนดมากขนึ้ การจดั การเรยี นการสอนในระดบั ปรญิ ญาตรีทีม่ ีการบูรณาการกบั พันธกจิ อื่น ระบบและกลไกในการจดั การเรียนการสอนทม่ี กี ารบูรณาการกบั พันธกิจอนื่ อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตรจดั ประชุมจดั รายวชิ าให้แกผ่ ้สู อนพรอ้ มทั้งวางแผนกำหนดรายวชิ าทเ่ี ปิดสอน กับการวางแผนการบูรณาการความรู้กับด้านการบริการวิชาการ ได้แก่ วิชาการสอนภาษาจีนในฐานะ ภาษาต่างประเทศ และ วชิ าภาษาจีนระดบั กลาง 2 โดยจดั โครงการบรู ณาการการเรยี นการสอนกับการบริการ วิชาการระดับหลักสูตร ในรูปแบบออนไลน์ และ วิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โดยจัด โครงการเตรยี มฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพภาษาจีน บูรณาการความรูภ้ าษาจนี กบั การวิจยั (หลักฐาน : สรุปผลการดําเนินงานโครงการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการระดับ หลักสูตร และโครงการเตรียมฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ภาษาจนี ) รายวชิ า บูรณาการกับพันธกจิ วธิ กี ารบรู ณาการ/วิธีการประเมนิ ผลความสำเร็ (รหัสวชิ า/ชอ่ื วชิ จของการบรู ณาการ า)
64 210422 การสอน โครงการบูรณาการการเรยี น 1.นกั ศึกษาได้มสี ว่ นรว่ มในการบริการวชิ าการ ภาษาจนี ในฐานะ การสอนกับการบรกิ ารวชิ าการ ดา้ นภาษาและวฒั นธรรมจนี แก่นกั เรยี นในระดับ ภาษาต่างประเทศ ระดับหลกั สตู ร มัธยมศึกษา ในรูปแบบออนไลน์ 210311 ภาษาจีน บรู ณาการดา้ นภาษาจนี 2.นกั ศกึ ษาสามารถเรยี นรู้เทคโนโลยใี นการจดั ระดับกลาง 2 วฒั นธรรมจีน และใช้ กจิ กรรมท้งั รูปแบบออนไลน์และออนไซต์ในเวลา เทคโนโลยใี นการประกอบ เดยี วกนั โดยนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ น เกม หรือ 210461 วชิ าชีพไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ คำศพั ท์ภาษาจีน จากการอบรมแอพพลเิ คชั่นใน การเตรียมฝึกประ การทำสื่อประกอบการบริการวชิ าการ สบ โครงการเตรียมฝกึ ประสบ 3.ความพึงพอใจของนักศกึ ษาทไ่ี ด้ฝกึ ฝนทกั ษะ การณว์ ิชาชีพ การณ์วิชาชีพภาษาจนี ด้านภาษาและวฒั นธรรมจีนกอ่ นถึงวนั จัด บรู ณาการความรู้ภาษาจีนกับ กิจกรรม ได้ฝกึ ตดิ ตอ่ ประสานงาน ฝึกการถ่าย การวจิ ยั มีความรู้และทกั ษะ วีดีโอ ตดั ตอ่ ภาพศลิ ปะการตัดกระดาษจีน การรำ ก่อนออกฝึก จีนเป็นรายกลุ่ม 4.ความพงึ พอใจของนกั เรยี นมธั ยมศึกษาทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการ ผลความสำเรจ็ คือ โรงเรยี นทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ ช่ืนชอบและโทรมาแจง้ ด้วยวาจาวา่ ต้องการให้จดั กจิ กรรมแบบนี้อกี ในแบบออนไซตไ์ ด้ย่งิ ดี 1.นกั ศกึ ษามคี วามร้แู ละทักษะก่อนออกฝึกตาม หวั ข้อที่กำหนด 2.ได้ฝึกปฏิบตั ทิ ำวจิ ัยบูรณาการความรภู้ าษาจีน 3.ความพงึ พอใจในการได้รับการพฒั นาทักษะ ต่างๆ ผลความสำเร็จ ไดแ้ ก่ นกั ศกึ ษาทำรายงาน วิจัยสำเร็จ และอาจารย์ได้บทความวจิ ัยที่ได้รบั การตพี ิมพ์ 2) การแต่งตัง้ อาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - หลกั สตู รไม่มีนักศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา 3) การจัดการเรยี นการสอนทีม่ ีการฝึกปฏบิ ตั ิ ในระดับปรญิ ญาตรี มผี ลการดำเนินงาน ดงั น้ี - หลกั สูตรมกี ารจัดการเรียนการสอนทมี่ กี ารฝกึ ปฏบิ ตั ิ รายวิชา ดงั ต่อไปน้ี รายวชิ าอกั ษรจนี รายวิชา ระเบยี บวธิ วี ิจยั และรายวิชาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพภาษาจีนทฝี่ ึกปฏิบตั ิกบั ผ้เู ชย่ี วชาญเฉพาะสาขาวชิ า การจัดการเรียนการสอนรายวิชาที่มีการฝึกปฏิบัติ ระบบและกลไกของหลักสูตรได้กำหนดให้อาจารย์ ผู้สอนระบกุ ารฝกึ ปฏิบัตใิ น มคอ 3 หมวดที่ 5 โดยวธิ กี ารสอน กจิ กรรมการเรียนการสอนของรายวิชาต้องมีการ ปฏบิ ัติ โดยอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สูตรตอ้ งตรวจสอบวา่ รายวชิ ามกี ารใหน้ กั ศกึ ษาไดฝ้ กึ ปฏบิ ัติโดยให้นักศึกษาทำ วิจัยกลุ่ม และมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ในส่วนของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ได้ออกฝึก ประสบการณ์วิชาชีพภาษาจีนตามความถนัดของนักศึกษา ได้แก่ ฝึกสอนตามสถานศึกษา ฝึกงานตามสถาน ประกอบการ การประเมนิ ผเู้ รี ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2563 มผี ลการดำเนนิ งานในระดับ 3 ยน ผลการประเมินตนเองในปี 2564 มผี ลการดำเนินงานในระดบั 3 (ตัวบง่ ช้ี 5.3) ผลการดำเนนิ งาน
65 1) การประเมินผลการเรียนร้ตู ามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ มผี ลการดำเนินงาน ดังนี้ ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome) ท่กี ำหนดตามกรอบคุณวุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ (TQF) ของหลักสูตร ศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาจีน ทร่ี ะบุไว้ใน มคอ.2 ท้งั หมด 5 ดา้ น ดงั น้ี ด้าน วิธกี ารสอน/การจัดการเรียนรู้ วธิ ีวัดและประเมินผล 1.คุณธรรม จริยธรรม 1) บรรยายพร้อมยกตัวอยา่ ง 1) บนั ทึกพฤตกิ รรมการเขา้ เรยี น 1) ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ตอ่ ตนเองและ กรณศี กึ ษาเก่ยี วกบั ประเดน็ และสง่ งานท่ไี ด้รับมอบหมาย ผ้อู ่นื ทางจริยธรรมที่เก่ยี วข้อง ตามขอบเขตทใ่ี หแ้ ละตรง 2) มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา ปฏิบตั ติ าม จากเหตกุ ารณป์ จั จุบนั เวลา กฎระเบียบและข้อบังคับของ องคก์ รและสงั คม 2) บรรยายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง 2) ประเมนิ ผลการนำเสนองาน 3) ตระหนกั ในคุณค่าและ กรณศี ึกษาเกย่ี วกบั การมี และรายงานทมี่ อบหมาย คุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ระเบียบวนิ ัย ความ อดทน มีจิตอาสา รับผิดชอบ ความซอ่ื สตั ย์ 3) สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ น 4) ยอมรบั ความเป็นประชาธิปไตย ตรงตอ่ เวลา ร่วมในกจิ กรรมในชนั้ เรยี น การ ความยตุ ิธรรม ความเทา่ เทียมกัน ทำงานกลมุ่ ทางสงั คม 3) มอบหมายงาน และกำหนด 4) ประเมินจากแบบทดสอบ วันสง่ ทช่ี ดั เจน 4) ปฏิบัติตามกฎระเบยี บและ ข้อบงั คบั ขององค์กรและสงั คม 2. ความรู้ 1) บรรยาย อภิปรายเน้อื หา 1) สังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น 1) มคี วามร้แู ละความเข้าใจ ผ่านสือ่ ตา่ งๆเชน่ เอกสาร การทำแบบฝึกหัด การส่งงาน ประกอบการสอน สอ่ื มัล และแบบฝึกหัด เกย่ี วกบั หลักการและทฤษฎีใน ติมิเดยี ต่างๆเช่น power เน้ือหาท่ศี ึกษา point, CD, DVD 2) การสอบปฏิบัติ 2) มีความสามารถในการอธิบาย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ความรเู้ ก่ียวกบั หลกั การและ 2) การทำงานเดีย่ ว งานคู่ การ 3) ประเมนิ จากรายงานและ ทฤษฎี นำเสนอรายงาน และ 3) สามารถวเิ คราะหป์ ระยกุ ต์ มอบหมายใหศ้ กึ ษา ค้นควา้ การศกึ ษาดงู านของนักศกึ ษา ความรูท้ ักษะไปใชใ้ นการ เนอื้ หาทีเ่ กีย่ วขอ้ ง โดย 4) ผลการฝึกประสบการณ์จาก พฒั นาการเรียนภาษาจนี นำมาสรุปและนำเสนอ สถานประกอบการหรอื สหกิจ 4) มีความใฝ่รู้ สนใจพัฒนาความรู้ รายงาน ศกึ ษา ความชำนาญทางภาษาจนี อยา่ ง ต่อเนอ่ื ง 3) การทำกิจกรรม การฝกึ ปฏิบตั ิ ฝกึ สนทนา เปน็ คู่ และเดี่ยว 4) จัดใหม้ กี ารเรยี นรูจ้ าก สถานการณจ์ ริงโดย การศึกษาดูงาน 5) ศึกษาจากประสบการณ์ตรง จากสถานการณต์ รงหรือสนใจ ศึกษา การใชก้ ระบวนการวจิ ัย ในการหาความรู้ การจัดการ ความรู้
66 3. ทกั ษะทางปญั ญา 1) บรรยายสอดแทรกปญั หา 1) การสอบกลางภาค สอบ ยกตวั อยา่ งกรณีศกึ ษา การ ปลายภาค การสอบปฏบิ ัติ 1) สามารถคน้ หาความรู้ ขอ้ มูล ระดมความคิดเห็นอภิปราย และประเมนิ ความถูกตอ้ งได้ กลมุ่ ร่วมกนั 2) ประเมนิ ผลจากการสง่ งาน ดว้ ยตนเอง และการถามตอบ การ 2) มอบหมายใหน้ ักศกึ ษา อภิปรายในแตล่ ะบทเรยี น 2) สามารถศึกษาวิเคราะห์ปญั หา ทำงานเด่ยี วและงานกลมุ่ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขได้ มอบหมายการทำ 3) ประเมินผลจากรายงานผล อย่างสร้างสรรค์ 3) สามารถใน แบบฝึกหดั และสมุ่ เรยี ก การดำเนินงานและการ การวเิ คราะห์สถานการณ์ตา่ งๆ ผูเ้ รียนใหต้ อบคำถามในแต่ แกป้ ัญหา และประยกุ ตค์ วามรู้และ ละบทเรียน 4) ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ ง แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 3) สะทอ้ นแนวคิดจาก บุคคล การปฏิสัมพันธก์ ับผู้อืน่ 4) สามารถประยกุ ต์ความรู้ พฤติกรรม โดยใชท้ ฤษฎกี าร ภาคทฤษฎี การปฏิบตั ปิ สกู่ าร เรียนเปน็ ฐานในการพัฒนา ทำงานได้ ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 1) มอบหมายงานรายเดีย่ วและ 1) ประเมนิ ตนเองและเพ่ือนด้วย บคุ คลและความรบั ผิดชอบ รายกลุ่มนำเสนอผลงาน แบบฟอรม์ ทกี่ ำหนด หนา้ ช้ันเรยี น 1) มีความรบั ผิดชอบในงานที่ 2) ประเมนิ ทักษะการมี ไดร้ ับมอบหมายงานรายบุคคล 2) จดั กิจกรรมการเรียนการ ปฏิสมั พนั ธใ์ นการทำงานกลุ่ม และงานกลุม่ สอน ทำงานเปน็ กลุ่ม ให้ การมีสว่ นร่วมในการทำ ทกุ คนมสี ่วนรว่ ม แสดง กจิ กรรมกลุ่ม ความ 2) สามารถปรบั ตวั เข้ากบั ความคดิ เหน็ อย่างทั่วถงึ กระตอื รอื ร้น สถานการณแ์ ละการ เปลย่ี นแปลงได้ 3) จัดกจิ กรรมการบริการ 3) พิจารณาจากการเข้าร่วม วิชาการนอกห้องเรียน การ กิจกรรมของนกั ศึกษา 3) สามารถปฏบิ ัตติ น รู้รับผดิ ชอบ แบง่ กลมุ่ จดั กจิ กรรม ให้ และมีส่วนร่วมในการชว่ ยเหลอื ความรูด้ า้ นทกั ษะภาษาจนี 4) ประเมินผลจากแบบประเมิน ผ้รู ว่ มงานด้วย ตนเองและกจิ กรรมกลมุ่ 4) ฝึกการยอมรับความคิดเห็น ความสนใจ ของผู้อื่นด้วยเหตุผล ส่งเสริม 5) ประเมินจากผลการการ 4) มคี วามรบั ผดิ ชอบในการเรยี นรู้ การเคารพสิทธิ และการรับฟัง อภิปรายและเสวนา และพัฒนาตนเอง ความคดิ เห็นของผูอ้ นื่ 6) สังเกตพฤติกรรมการระดม สมอง 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข 1) มอบหมายงานใหน้ กั ศึกษา 1) การจัดทำรายงานและการ การสอ่ื สาร และ คน้ คว้าดว้ ยตนเองจาก นำเสนอด้วยส่อื เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ website, E-learning โดย 1) สามารถสรปุ หัวขอ้ สรุป เน้นการนำเนอื้ หา การอ้างอิง 2) การสงั เกตจากเนอื้ หา ความ ประเดน็ จากการสือ่ สารไดถ้ กู ต้อง จากแหล่งที่มาของขอ้ มลู ที่ ถกู ต้อง รายละเอียดและ 2) สามารถใชเ้ ทคโนโลยี นา่ เช่อื ถอื ความคิดสรา้ งสรรค์ในการ สารสนเทศและการส่อื สารที่ 2) การใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละ ทำงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย เหมาะสม เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ นำเสนอผลงานทีไ่ ดร้ ัมอบ
67 3) สามารถใช้ภาษาไทยและ หมายใหน้ ักศึกษาทำงานเปน็ ภาษาต่างประเทศในการฟงั การ กลมุ่ โดยวธิ ชี ว่ ยเพ่อื นอ่าน พดู การอ่าน การเขียน และสรปุ และสรุปบทเรยี นหลกั เป็น ประเด็นได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ภาษาจีนอย่างง่ายในแตล่ ะ 4) มที กั ษะในการใช้เทคโนโลยี สัปดาห์ สารสนเทศเพอ่ื สบื ค้นขอ้ มูล 3) สง่ เสริมนกั ศึกษาคน้ ควา้ แสวงหาความรู้ ขอ้ มูลสารสนเทศ เรียบเรียงขอ้ มูล และนำเสนอ ในการพฒั นาตนเองและการ ใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจไดถ้ กู ตอ้ งและให้ ปฏิบัตงิ าน ความสำคญั ในการอ้างอิง แหล่งทม่ี าของขอ้ มลู 6.กรณมี เี กณฑ์วชิ าชีพ (ให้ระบ)ุ - - ผลการดำเนนิ งานในปกี ารศกึ ษา 2564 ในมคอ 2 มีการกำหนดวธิ ีการสอน วิธีวัดและประเมินผลและอาจารยผ์ ู้สอนในรายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนได้ นำเอาวธิ ีการสอน วธิ ีวัดและการประเมินผล มคอ.3 และรายงานผลการสอนใน มคอ.5 วธิ ีการสอนมที ง้ั การบรรยาย การอภปิ รายระดมความคดิ เปน็ กลุ่ม การยกตัวอยา่ งการฝึกปฏบิ ัติ การใชส้ ถานการณ์ จำลอง ใช้กระบวนการกลุ่มในการฝึกการทำงานร่วมกัน การมอบหมายให้มีการศึกษาค้นคว้าและสรุปผลเพือ่ รายงาน และศกึ ษาการศกึ ษาดงู าน การวัดผลมีท้งั การวดั ผลจากสภาพจริง และการใช้เครื่องมือต่างๆ คอื แบบทดสอบ แบบฝกึ หดั บทเรียน E-Learning โปรแกรมสำเร็จรูป zoom สื่อออนไลน์ kahoot การสังเกตการเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาการ การประเมินผลในหลกั สตู รใชก้ ารประเมนิ ผลแบบอิงเกณฑ์ โดยอาจารยผ์ ้สู อนทกุ ท่านใชเ้ กณฑ์เดยี วกันในการให้ คะแนน 1) การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรขู้ องนักศึกษา มีผลการดำเนนิ งาน ดงั น้ี 2.1 อธบิ ายในภาพรวมวา่ สามารถประเมินผลการเรยี นรู้ตามกรอบคณุ วฒุ ิไดอ้ ยา่ งไร การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามกรอบคุณวุฒิใช้วิธีการหลากหลายมีทั้งการใช้เครื่องมือและการวัดจากสภาพจริง การสังเกตพฤติกรรม โดยผ่านวิธีการการทวนสอบผลการเรียน ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา การประเมินอาจารย์ผู้สอนโดย นักศึกษา การสังเกตพัฒนาการของนักศึกษา แนวโน้มของพัฒนาการ คะแนนเฉลี่ยสะสม ความสามารถการใช้ ความรูแ้ ละทกั ษะเช่อื มโยง ถา่ ยโอนไปสู่ปฏิบัติจริง ผลการสอบวัดระดบั ความรภู้ าษาจนี 2.2 พบสิ่งที่ผิดปกติในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาหรือไม่ หรือสิ่งที่ไม่สามารถดำเนินการได้ คอื อะไร อธบิ ายพรอ้ มบอกเหตุผล พบส่งิ ผดิ ปกติในการประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องนักศึกษาบางวชิ าที่มผี ลคะแนน F จำนวนหนึง่ ไดท้ บทวนการ ประเมินของอาจารย์ผ้สู อน และผลการเรียนรู้ของนกั ศึกษาทต่ี ิด F ได้ข้อมลู ว่า นักศกึ ษาสอบกลางภาค ปลายภาค รวมถงึ สอบปฏิบัตไิ มผ่ า่ น นักศึกษาบางสว่ นไมท่ ำงานและไมม่ ีส่วนรว่ มทำงานกลุ่มตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย การสอบ และการมอบหมายงานทุกครง้ั อาจารย์ผ้สู อนชี้แจงวธิ กี าร รายละเอียด และเวลาส่งงานทุกคร้ัง แต่นักศกึ ษาทส่ี อบ ไมผ่ ่านบางส่วนมกั ไม่ต้งั ใจฟังการอธบิ ายและปฏบิ ัตติ าม และลาออกเนอ่ื งจากปญั หาตา่ งๆ เชน่ ตอ้ งการย้ายไป เรยี นสาขาวชิ าอน่ื มีปัญหาสขุ ภาพ หรือปัญหาภายในครอบครัว เปน็ ตน้ 2.3 วธิ ีการแก้ไขสงิ่ ทเ่ี กิดขึ้นในขอ้ 2.2
68 อาจารย์ผ้สู อนได้ติดตามนักศกึ ษาท่ีมคี ะแนนไมผ่ ่านเกณฑข์ ัน้ ตำ่ และไดใ้ ห้โอกาสนกั ศึกษาส่งงานหรอื สอบ แก้ตัว แตก่ ำหนดเง่ือนไขวา่ คะแนนทีไ่ ดต้ อ้ งไมเ่ กนิ 50 % ของคะแนนเต็ม ผลปรากฏวา่ นักศึกษาทส่ี ง่ งานและสอบ แก้ตวั ผลการสอบนกั ศึกษาส่งงานเพม่ิ ภายในเวลากำหนด และสอบผ่านมากข้นึ แต่ยงั มนี ักศกึ ษาบางคนไมย่ อมส่ง งานจนหมดเวลาตามกำหนด และไมม่ าสอบแก้ตัวตามวนั เวลาทนี่ ดั ไว้ และจึงใหอ้ าจารย์ทป่ี รกึ ษาติดตามสอบถาม ใหก้ ำลังใจและแนะนำแนวทางเป็นรายบุคคลอีกทางหนึ่ง 2) การกำกบั การประเมนิ การจัดการการเรยี นการสอน และประเมนิ หลกั สูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) มผี ล การดำเนนิ งาน ดงั น้ี หลักสูตรมีระบบและกลไกการกำกับการส่งมคอ.5 และมคอ.6 โดยแจ้งปฏิทินกำหนดการส่งมคอ.5 และ มคอ.6 เมอ่ื สนิ้ สดุ ภาคเรียน แบ่งความรบั ผิดชอบใหอ้ าจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร ติดตามการสง่ มคอ.5 และ และ ตรวจสอบความถูกต้องพรอ้ มกับต้องแนบผลการประเมินอาจารย์โดยนักศึกษามาด้วย และประธานหลกั สตู รเป็นผู้ ตรวจสอบความครบถ้วน ความถูกต้องทั้งจำนวนของ มคอ.5 และมคอ.6 แล้วลงนามในมคอ.5 และ มคอ.6 หลกั ฐาน มคอ.5 การกำกับการ ผู้กำกบั ตดิ ตาม วิธีการ ระยะเวลา ประเมิน มคอ.5 อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบ การประชุมแจง้ กำหนด 14 วันนบั จาก หลกั สตู ร การส่งมคอ.5และ6 สง่ ผลการเรียน ประธานหลกั สตู ร ถึงหลักสตู ร มคอ.6 อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ การประชมุ แจ้งกำหนด 14 วนั นับจาก หลักสตู ร การส่งมคอ.5และ6 สง่ ผลการเรียน ประธานหลกั สตู ร ถงึ หลักสูตร มคอ.7 อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบ การประชุมปฏิบัติการ ภายใน 60 หลักสตู ร จัดทำ มคอ. 7 วันหลังส้ินสุด ประธานหลกั สตู ร ปกี ารศึกษา 2. การประเมินคุณภาพหลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ฯิ (ตวั บง่ ช้ี 5.4) 2.1 ตวั บ่งช้ีผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ของหลักสตู ร (ข้อมลู ปรากฏในหมวดท่ี 7 ข้อ 7 ของ มคอ.2) ดัชนีบง่ ชผี้ ลการดำเนินงาน 2560 2561 2562 2563 2564 (1) อาจารย์ประจำหลักสตู รอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80 มีสว่ นร่วมในการประชมุ เพอื่ วางแผน ตดิ ตาม ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ และทบทวนการดำเนินงานหลกั สูตร (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ หรือมาตรฐานคณุ วุฒสิ าขา/สาขาวชิ า (ถา้ มี) (3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทกุ รายวชิ า
69 (4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินงานของ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถา้ มี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังส้ินสุดปี การศกึ ษา (5) จดั ทำรายงานผลการดำเนินการของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลังส้ินสุดปี ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ การศึกษา (6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธขิ์ องนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรทู้ ี่กำหนดใน มคอ.3 และ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างนอ้ ยร้อยละ 25 ของรายวิชาท่ีเปิดสอนในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา (7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจดั การเรียนการสอน กลยุทธก์ ารสอน หรือการประเมินผลการ ✓✓✓✓ เรยี นรจู้ ากผลการประเมินการดำเนนิ งานท่ีรายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว (8) อาจารย์ใหม่ (ถา้ มี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรอื คำแนะนำดา้ นการจดั การเรียนการสอน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ (9) อาจารยป์ ระจำทุกคนได้รบั การพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละ 1 ครงั้ (10) จำนวนบคุ ลากรสายสนบั สนุนการเรยี นการสอน (ถ้ามี) ไดร้ ับการพฒั นาทางวชิ าการ และ/ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ หรอื วชิ าชพี ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ต่อปี (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บณั ฑติ ใหม่ที่มตี ่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่ ✓✓ นอ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0 (12) ระดบั ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้บัณฑติ ที่มีตอ่ บณั ฑิตใหม่ เฉลย่ี ไม่นอ้ ยกว่า 3.5 จากระดบั 5.0 ✓ รวมตัวบ่งช้ีท่ีตอ้ งประเมนิ 9 10 10 11 12 2.2 รายงานผลการดำเนนิ งานตามดชั นบี ง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน ดัชนบี ง่ ชี้ เปน็ ไป ไม่เป็นไป เอกสารหลักฐา ตามเก ตามเกณ น ณฑ์ ฑ์ รายละเอยี ด (1) อาจารย์ประจำหลักสูตรอยา่ งน้อย รอ้ ยละ 80 มสี ว่ น ✓ ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรได้มี 1.สรุปสาระ ก า ร ร่วมในการประชุมเพ่อื วางแผน ตดิ ตาม และทบทวน การประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ประชุม การดำเนินงาน หลกั สูตรจำนวน 12 คร้งั 2. ครั้งที่ 1 วันที่ 4 มิถุนายน 2564 รายงานการประ ผูเ้ ขา้ รว่ มประชุมคดิ เปน็ 100% ชมุ ครัง้ ท่ี 2 วนั ที่ 16 กรกฎาคม 2564 ผ้เู ขา้ รว่ มประชมุ คิดเปน็ 100%
70 ครั้งที่ 3 วันที่ 16 สิงหาคม 2564 ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมคิดเปน็ 100% ครั้งที่ 4 วันที่ 20 กันยายน 2564 ผู้เข้ารว่ มประชุมคิดเปน็ 100% ครั้งที่ 5 วันที่ 25 ตุลาคม 2564 ผู้เขา้ ร่วมประชุมคดิ เป็น 100% ครั้งที่ 6 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 ผู้เข้าร่วมประชุมคิดเป็น 100% ครั้งที่ 7 วันที่ 24 ธันวาคม 2564 ผเู้ ข้าร่วมประชมุ คิดเปน็ 100% ครั้งที่ 8 วันที่ 17 มกราคม 2565 ผูเ้ ขา้ รว่ มประชมุ คดิ เป็น 100% ครั้งท่ี 9 วนั ที่ 14 กุมภาพนั ธ์ 2565 ผเู้ ขา้ ร่วมประชุมคิดเปน็ 100% ครั้งที่ 10 วันที่ 25 มีนาคม 2565 ผู้เขา้ รว่ มประชุมคิดเปน็ 100% ครั้งท่ี 11 วันที่ 3 พฤษภาคม 2565 ผเู้ ข้ารว่ มประชมุ คิดเป็น 100% ครั้งที่ 12 วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 ผู้เข้าร่วมประชุมคิดเป็น 100% (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ท่ี ✓ ระบคุ วามสอดคลอ้ งของ มคอ.2 1. สอดคลอ้ งกบั กรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษา กบั มคอ.1 (กรณีท่ีมี มคอ.1) เอกสารหลกั สตู ร แห่งชาติ หรือมาตรฐานคณุ วุฒสิ าขา/สาขาวิชา (ถ้า 2. หนังสือนำที่ มี) สกอ. แจ้งรบั ทราบหลั กสตู ร (3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของ ✓ มคอ.3 และมคอ.4 เทอม 1/64 ส่ง ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 กอ่ นเปดิ ภาคการศึกษา (วันที่ 12 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละ กรกฎาคม 2564) และดำเนินการ เอกสาร มคอ.3, ภาคการศกึ ษาให้ครบทุกรายวชิ า ได้ครบทุกรายวิชา มคอ.4
71 เทอม 2/64 ส่งก่อนเปิดภาค การศกึ ษา (วันที่ 3 ธันวาคม 2564) และดำเนินการได้ครบ ทุกรายวชิ า (4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และ ✓ มคอ.5 และมคอ.6 เทอม 1/64 สง่ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ข อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ภายใน 14 วัน(วันท่ี 22 ธนั วาคม ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 2564) และดำเนินการไดค้ รบทุก เอกสาร มคอ.5, ภายใน 14 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอน รายวชิ า เทอม 2/64 ส่งภายใน 14 มคอ.6 ใหค้ รบทกุ รายวิชา วนั (วันที่ 17 พฤษภาคม 2565) และดำเนินการได้ครบทุกรายวชิ า และดำเนนิ การไดค้ รบทุกรายวิชา (5) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตาม ✓ ส่งภายใน 60 วัน 1. เอกสาร แบบ มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลังสน้ิ สดุ ปีการศึกษา (วันที่ 1 กรกฎาคม 2564) เป็นไป มคอ.7 ตามคู่มือการบริหารหลักสูตร ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิของ มหาวทิ ยาลัย (6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม ✓ ในปีการศึกษา 2564 มีการเปิด 1.ค ำ ส ั ่ ง แ ต ่ ง ตั้ ง มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ.3 และ สอนทัง้ หมด 38 รายวิชา หลกั สูตร กรรมการทวน ได้ดำเนินการทวนสอบร้อยละ 25 สอบ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อย ร้อยละ 25 ของรายวิชาท่ี ซงึ่ มจี ำนวน 10 รายวิชาท่ีต้องทวน 2.สรุป/รายงานผ สอบ ซึ่งแบ่งเป็นเทอม 1/64 ลการทวนสอบ เปิดสอนในแต่ละปีการศกึ ษา จำนวน 5 รายวิชา เทอม 2/64 จำนวน 5 รายวชิ า (7) มีการพัฒนา/ปรบั ปรงุ การจัดการเรียนการสอน กล ✓ มกี ารวางแผนการจดั โครงการ รายงาน ยทุ ธก์ ารสอน หรอื การประเมินผลการเรียนรู้จากผล ตา่ งๆตลอดจนกำกบั ติดตาม การประชุม การประเมินการดำเนินงานท่ีรายงานใน มคอ.7 ปีท่ี วางแผนการจัดการเรยี นการสอน แลว้ (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือ ✓ มีการปฐมนิเทศใหอ้ าจารยผ์ ู้รับผิด รายงานการประชุ คำแนะนำดา้ นการจดั การเรียนการสอน ชอบหลกั สตู รใหม่ ม (9) อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ ✓ อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครั้ง หลกั ฐานคำส่ัง และ/หรือวชิ าชีพ อยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั (จำนวน 7 คน) ประชมุ /รว่ ม สัมมนา ทางวชิ าการ เกียรติบตั ร (10) จำนวนบคุ ลากรสายสนับสนนุ การเรียนการสอน (ถ้า - ไมม่ ี - มี) ไดร้ บั การพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชพี ไม่ นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ตอ่ ปี
72 (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดทา้ ย/บัณฑิต ✓ ผลประเมินความพึงพอใจชอง ผลประเมนิ ใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายต่อหลักสูตร ความ เฉลี่ยเท่ากับ 4.25 (ข้อมูลวันที่ 21 พงึ พอใจตอ่ การ จากคะแนนเต็ม 5.0 มิ.ย.2565) วิธีการปรับปรุงและ บรหิ ารหลักสูตร พัฒนา อาจารย์ผู้รับผิดชอบ ของนกั ศกึ ษาชนั้ ห ล ั ก ส ู ต ร ป ร ะ ช ุ ม ว า ง แ ผ น เ พ่ื อ ปีสุดท้าย ปรบั ปรุงร่วมกนั (12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิต ✓ ผลการประเมิน ความพงึ พอใจของ ผลประเมิน ความ ใหม่ เฉลีย่ ไมน่ ้อยกวา่ 3.50 จากระดบั 5.0 ผู้ใชบ้ ณั ฑติ ทีม่ ตี อ่ บณั ฑติ ใหม่ เฉลี่ย พึงพอใจของผู้ใช้ เท่ากับ 3.50 (ข้อมูลวันที่ 23 มิ.ย. บัณฑิต 2565) ข้อเสนอแนะวธิ ีการปรบั ปรงุ และพัฒนา อาจารย์ผู้รับผิดชอบ ห ล ั ก ส ู ต ร ป ร ะ ช ุ ม ว า ง แ ผ น เ พื่ อ ปรบั ปรงุ ร่วมกนั รวมตวั บ่งชท้ี ไ่ี ด้ประเมนิ 12 รอ้ ยละของตัวบง่ ช้ีทไี่ ดป้ ระเมนิ 100 จำนวนตัวบ่งช้ใี นปีน้ที ีด่ ำเนนิ การผา่ น 12 ร้อยละของตวั บง่ ชีท้ งั้ หมดในปนี ้ี 100 หมายเหตุ 1. หลักสูตรทเี่ ป็นหลกั สูตรปรบั ปรุง ต้องรายงานผลการดำเนินงานตามดัชนีบ่งช้ี 12 ตวั บง่ ช้ี 2. กรณีขอ้ 8 และข้อ 10 ถ้าไมม่ ี ใหถ้ ือวา่ มกี ารดำเนินงานในขอ้ นนั้ เปน็ ไปตามเกณฑ์และนำมาคำนวณรอ้ ยละ จำนวนตวั บ่งชท้ี ่ีได้ดำเนนิ การทงั้ ตัวตง้ั และตวั หาร 3. ปญั หาในการบริหารหลักสูตร ผลกระทบของปัญหาตอ่ สัมฤทธิผล แนวทางการป้องกันและแก้ไข ตามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร ปัญหาในอนาคต ปัญหาในการบรหิ ารหลักสูตร 1. ปัญหานักศึกษาเกิดความเครียด 1.ทำให้หลกั สูตรมีภาระการติดตามนักศึกษา 1.หลักสตู รจดั อาจารย์เขา้ รับการอบรมเทคนิคการให้ จ า ก ก ารป รั บ ต ั ว ใ น ช ่ ว ง ที่ ที่ไม่เข้าเรียนออนไลน์หรือบางส่วนไม่มา คำปรกึ ษา เพ่ือเขา้ ถงึ นกั ศกึ ษาท่ีเกิดความเครียดแล้ว มหาวิทยาลัยประกาศให้ปรับ เรยี นออนไซต์ การขาดสอบโดยไมแ่ จง้ ผู้สอน มาขอคำปรึกษา และมุ่งเน้นให้นักศึกษาตระหนักวา่ รูปแบบการเรียนการสอนแบบ ทำให้อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ท่ีปรึกษา ต้อง แท้จรงิ แล้วตนเองต้องการเรยี นรู้อะไร มีเป้าหมายใน ออนไลน์ และออนไลน์สลับกับ แก้ปญั หา และติดตาม การเรยี นหรือไม่ โดยมีการพูดคุยสอบถามกันตั้งแต่วัน ออนไซต์ สอบสมั ภาษณ์ ในระหวา่ งการเรยี นชว่ ยแนะนำวิธีการ 2.ท ำ ใ ห ้ ห ล ั ก ส ู ต ร ต ้ อ ง ต ิ ด ต า ม แ ล ะ ช ่ ว ย เรยี นภาษาจนี ปรบั ทศั นคติ สร้างแรงจูงใจใหน้ ักศกึ ษา 2. ปัญหานักศึกษาสำเร็จการศึกษา แก้ปัญหาให้กับนักศึกษาตกค้าง อันเป็นผล เห็นความสำคัญและตั้งใจเรียน มีการกำกับ ติดตาม ช้ากวา่ กำหนดเวลาของหลักสูตร มาจ าก มี ผลก ารเ รี ย น F หลาย ว ิ ช า ผลการแกป้ ัญหา บางส่วนตอ้ งการทำงานระหว่างเรียนโดยไม่เ 2.สำหรบั นักศึกษาที่มีผลการเรียนไม่ถงึ 2.00 ท่ีเสี่ยง ขา้ เรียนหรอื พักการเรียน ซ่งึ สามารถติดตาม ต่อการไม่สำเร็จการศึกษาหลักสูตร ควรดำเนินการ แกป้ ัญหาจนนกั ศกึ ษาสำเรจ็ การศึกษาได้ แต่ เปิดคอร์สสำหรับกลุ่มที่มีปัญหาด้านการเรียน การ
73 บางส่วนไม่สามารถติดตามได้ เช่น กรณีที่ สอบเพื่อเปน็ แนวทางช่วยให้นักศกึ ษามผี ลการเรียน นกั ศึกษายกเลิกการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ ก่อนสำเรจ็ การศึกษา โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาตจากทางหลักสูตร 4. ส่งิ สนับสนุนการเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน ตวั บ่งชี้ ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2563 มีผลการดำเนนิ งานในระดับ 4 สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู้ ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2564 มีผลการดำเนนิ งานในระดบั 4 (ตวั บง่ ช้ี 6.1) (P) 1. ระบบการดำเนนิ งานของหลกั สูตร/คณะ/สถาบัน โดยมีสว่ นร่วมของอาจารย์ประจำหลกั สตู ร เพื่อให้มี ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้ มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั นี้ เมื่อหลักสูตรได้รับจัดสรรงบประมาณจากคณะฯ หลักสูตรมีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (หลักฐาน : การประชุมครั้งที่ 4 วันที่ 20 กันยายน 2564) เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อร่วมพิจารณางบประมาณ พิจารณาโครงการที่จะจัดในปีงบประมาณ 2565 ซึ่งได้รับจัดสรรงบ บำรงุ การศกึ ษาเปน็ เงนิ 163,616.00 บาท การจัดสรรงบประมาณแตล่ ะโครงการ มีดงั นี้ กจิ กรรมท่ี 1 ปฐมนเิ ทศนักศึกษาใหมแ่ ละอบรมเตรยี มความพรอ้ ม 15,000 บาท กจิ กรรมที่ 2 ศกึ ษาดูงาน 10,000 บาท กิจกรรมท่ี 3 อบรมการทำวจิ ยั เบอ้ื งต้น 10,000 บาท กจิ กรรมที่ 4 บรู ณาการการเรียนการสอนกับการบรกิ ารวิชาการระดบั หลกั สูตร 25,000 บาท กจิ กรรมที่ 5 วสั ดแุ ละสื่อการเรียนการสอน เปน็ เงนิ 88,616 บาท กจิ กรรมที่ 6 เตรยี มฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี 0 บาท กิจกรรมท7่ี ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี นเิ ทศนักศกึ ษาฝึกประสบการณ์และสัมมนาหลงั ฝึกประสบการณ์0 บาท กิจกรรมท่ี 8 โครงการคุยจนี (Chit-chat Chinese) 0 บาท บางกจิ กรรม ทางหลกั สูตรมีการวางแผนไม่รับงบประมาณ เนอื่ งจากพจิ ารณาวา่ อยู่ในชว่ งแพร่ระบาดของ ไวรัส COVID19 จงึ มีการวางแผนดำเนินโครงการใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ในขณะนั้น นอกจากนี้ จากการที่คณาจารย์ในหลักสูตรเข้าร่วมสัมมนาท่ี หน่วยงาน Center for language Education and Cooperation จัดขนึ้ จึงไดท้ ราบขา่ วสารการขอรบั บรจิ าคหนังสือและสื่อการเรียนการสอน จากประเทศจีน คณาจารย์ในหลักสตู รจึงวางแผนการขอรับบริจาคโดยมีขอบเขตเป็นหนงั สือทีส่ ามารถใช้ ประกอบการเรียนการสอน การทำวิจัยสำหรับนักศึกษาและอาจารย์ได้ รวมถึงสื่อการเรียนการสอนด้าน ศิลปะวัฒนธรรมจีน โดยสมัครในเว็บไซต์ที่ทางหน่วยงานระบุ เลือกหนังสือและสื่อต่างๆ บนเว็บไซต์ของ หน่วยงานข้างต้นด้วยงบประมาณ 20,000 หยวน พร้อมทั้งทำบนั ทึกแจ้งความประสงค์ท่ีมีตราประทับของ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ แล้วส่งไปยังหน่วยงาน จากนั้นรอผลการพิจารณา และรอรับ หนงั สอื ทเี่ ลอื ก (D) หลกั สตู รได้จัดกจิ กรรมตามแผนงบประมาณข้างต้นตามแผนทั้งหมดไดต้ ามปกติ และเมอื่ การจดั โครงการ ตรงกับช่วงแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ก็ได้ปรับการจัดเป็นรูปแบบออนไลน์ ได้แก่ โครงการคุยจีน (Chit-chat Chinese) กิจกรรมเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ นิเทศนักศึกษาฝึก ประสบการณ์ และสมั มนาหลังฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ จึงมไิ ดม้ ีการระบุงบประมาณ
74 ในปกี ารศึกษา 2564 ท่ผี า่ นมา หลกั สูตรไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณจากสำนักวิทยบรกิ ารฯเพื่อจัดซ้ือ หนังสือ ตำรา เฉพาะทางสาขาภาษาจีนเข้าห้องสมุด ทางสำนักวิทยาบริการจะจัดส่งรายการหนงั สือมายงั หลักสูตรเพื่อให้เลือกซื้อ หากรายการหนังสือไม่ซ้ำกับที่มีในห้องสมดุ ทางสำนักวทิ ยาบริการจะจดั ซ้ือตาม ความต้องการ หรือหากอาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลกั สตู รมรี ายการหนังสอื ทต่ี อ้ งการซือ้ ก็สามารถแจ้งไปยังสำนัก วิทยบรกิ ารให้จัดซื้อได้ นอกจากน้ี คณาจารย์ในหลักสูตรยังได้รว่ มกันคัดเลือกหนังสอื และสือ่ การเรียนการ สอนด้านภาษาและวัฒนธรรมจนี มลู ค่า 20,000 หยวน จากการบริจาคของหนว่ ยงาน Center for language Education and Cooperation นักศึกษาในหลักสูตรยังไดใ้ ชส้ ิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ในหอ้ งปฏบิ ัติการภาษาจีนในการดำเนินโครงการ บูรณาการการเรียนการสอนกับการบรกิ ารวชิ าการระดับหลักสูตร เช่น ทำคลปิ ส่ือการเรยี นการสอนภาษาจีน สำหรบั นักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษา ใช้หนังสอื พจนานกุ รมต่างๆ คน้ คว้าสำหรบั การทำโครงร่างวิจยั เปน็ ตน้ (C) 2. จำนวนสิ่งสนับสนนุ การเรยี นรทู้ ่ีเพียงพอและเหมาะสมตอ่ การจดั การเรยี นการสอน มผี ลการดำเนินงาน ดังนี้ หลักสูตรมีการบริการที่เหมาะสมต่อการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษาใช้ห้องเรียนของ มหาวทิ ยาลยั ซงึ่ มอี ปุ กรณก์ ารศกึ ษา ส่งิ สนบั สนุนการเรยี นรู้ และมจี ุดเชอื่ มอินเตอรเ์ น็ตนระบบไร้สาย และมี ห้องปฏิบัตกิ ารภาษาจีน ที่ให้นักศึกษาอ่านหนังสือ ค้นคว้า ทำการบ้าน และใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของ หลักสูตร ใช้เป็นห้องเรียนซ่อมเสรมิ ให้กบั นกั ศกึ ษา หลักสตู รมหี นังสือภาษาจนี ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ สื่อตา่ ง ๆท้งั ภาพ เสยี ง ให้นักศกึ ษาได้คน้ ควา้ ศึกษาดว้ ยตนเอง และมีการจัดคอมพิวเตอรไ์ ว้บริการอาจารย์ และนักศึกษาเพื่อการสอน การค้นคว้า และการปฏิบัติงาน และจากการท่ีคณาจารย์ในหลักสูตรได้ร่วมกนั คัดเลือกหนงั สือและส่อื การเรียนการสอนด้านภาษาและวฒั นธรรมจีนในการบริจาคของ หน่วยงาน Center for language Education and Cooperation มูลค่า 20,000 หยวน สื่อต่างๆที่คัดเลือกในระบบส่งมาถึง หลักสตู รในชว่ งเดอื นมกราคม 2565 รวมทง้ั การเลือกซ้อื หนังสือตามงบท่ีหลักสูตรกำหนดให้ ซ่งึ ถือวา่ เพยี งพอ ต่อการจัดการเรียนการสอน (A) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ต่อสิ่งสนับสนุนการ เรียนรู้ มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั น้ี อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรได้จัดประชุมและจดั สรรงบเพื่อใช้สอยด้านส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ผ่าน โครงการต่าง ๆ โดยเน้นตามความต้องการของคณาจารย์และนักศกึ ษา โดยคำนึงถงึ ความสอดคล้องต่อการ จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนานกั ศึกษา เชน่ โครงการบรู ณาการการเรยี นการสอนกบั บริการวชิ าการ ทีม่ ีการซอ้ื อปุ กรณท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง เช่น พดั จีน กระดาษสำหรับทำบัตรคำศัพท์ เป็นตน้ นอกจากน้ียังมีการจัดหา และสังซอื้ หนงั สอื สำหรบั อาจารย์และนักศึกษาใชใ้ นการเรยี นการสอนและการวิจัยเพ่มิ เติมอย่างหลากหลาย เพือ่ ให้อาจารย์และนักศึกษาไดค้ ้นควา้ โดยใหน้ ักศึกษาเป็นผเู้ ลอื กส่งิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ และใชใ้ ห้เหมาะสม กับกิจกรรมต่างๆดว้ ยตนเอง และคณาจารย์ก็เป็นผู้คดั เลอื กสือ่ ต่างๆทั้งจากการรับบริจาคและการเลือกซอื้ ดว้ ยตนเอง ตวั อยา่ งหนงั สือและส่ืออุปกรณท์ ่จี ดั ซื้อจัดหาร่วมกนั ตวั อยา่ งเช่น 1. A Complete Handbook of Spoken Chinese 想说就说 北京语言大学出版社 马箭飞 毛悦 2. Business Chinese Conversation (Advanced )经贸高级汉语口语 北京语言大学出版 社 黄为之 3. Chinese for liberal arts: Listening and speaking course 大文科专业汉语听说教程 北 京语言大学出版社 4. Fun reading about China 悦读中国 全国百佳图书出版 于文 5. 对外汉语口语教学研究 商务印书馆出版 李晓琪 刘晓雨 6. 对外汉语口语理论研究 商务印书馆出版 李泉 蔡永强 7. 现代汉语八百词 商务印书馆出版 吕叔湘
75 8. 新华反义词词典 商务印书馆出版 袁晖 9. 对外汉语教学论 北京语言大学出版社 姜丽萍 10. 使用对外汉语教学法 (第三版) 北京大学出版社 徐子亮 吴仁甫 11. Readings of Chinese Culture Series 中国经典文化走向世界丛书 上海外语教育出 版社 潘文国 ปีการศึกษา 2564 ความพึงพอใจของนกั ศึกษาต่อสง่ิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ (หลกั ฐาน : ผลประเมินความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาตอ่ หลกั สตู ร ช้นั ปที ี่2-4 ) ชนั้ ปี ปกี ารศึกษา คา่ เฉลี่ยรวมทกุ ช้ันปี 2 34 2562 3.74 3.98 3.98 3.90 2563 3.70 3.79 3.74 3.74 2564 4.07 3.90 4.24 4.07 จากผลประเมินความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาต่อหลักสูตรดา้ นส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ พบว่า มีค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจเพ่ิมข้ึน แม้ว่าในปีการศึกษา 2564 จะยังคงมกี ารแพร่ระบาดของเชอ่ื ไวรัสโควิด 19 ทำให้การ เข้าถงึ สอื่ สิ่งสนับสนุนการเรียนรขู้ องนักศกึ ษาลดลง เพราะนักศกึ ษาเรยี นออนไลน์อย่ทู ี่บา้ นก็จริง แต่คณาจารย์ ในหลกั สูตรพยายามจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ และพัฒนานกั ศกึ ษาโดยปรบั ตัวตามสถานการณท์ มี่ ีการเปลี่ยนแปลง อยู่เสมอ อาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละชั้นปีมีการติดต่อ แนะนำ สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาในการใช้ ทรพั ยากรสงิ่ สนับสนนุ การเรียนรู้ที่มใี นหลกั สตู ร และปรับรูปแบบใหร้ องรับตามความสะดวกของนักศึกษา เช่น การจดั โครงการบูรณาการการเรียนการสอนกับบริการวิชาการ กิจกรรมที่1 อบรมหัวขอ้ การใชแ้ อพพลิเคช่ัน ในการทำสอื่ ประกอบการเรียนการสอน สำหรบั นักศกึ ษาช้นั ปีที่3 จากการสำรวจ มนี ักศกึ ษาครงึ่ หน่งึ ต้องการ อบรมแบบออนไซต์ เพื่อใช้คอมพวิ เตอร์ในมหาวิทยาลัย ต้องการเรียนรู้พร้อมกับเพ่ือนร่วมรุ่นในห้องเรียน ส่วนอีกครึ่งหนึง่ ไม่สะดวกเดินทางข้ามจังหวดั เนื่องจากในขณะน้ันคืนหอพักไปแลว้ จึงต้องการอบรมแบบ ออนไลน์ ทางหลกั สูตรจงึ ดำเนนิ การตามที่สำรวจ และเม่ือจดั กจิ กรรมที่2 ในโครงการเดียวกนั นักศึกษาก็ได้ เขา้ ถงึ การใชส้ งิ่ สนับสนนุ การเรียนร้เู พ่ือดำเนนิ โครงการ เป็นตน้ ความพึงพอใจของอาจารย์ต่อสง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ของหลกั สูตร ปีการศึกษา คา่ เฉลย่ี รวม 2562 3.97 2563 4.44
76 2564 4.58 จากผลประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ตอ่ หลักสูตรด้านสิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้ พบว่าคะแนน เฉลีย่ เพ่มิ ขน้ึ เนอ่ื งจากทางหลักสูตรมกี ารสำรวจความต้องการในการจดั หาสิ่งสนับสนนุ การเรยี นรจู้ ากอาจารย์ ในหลกั สูตร และไดด้ ำเนนิ การจดั หาตามท่อี าจารย์ตอ้ งการเพื่อใชใ้ นการทำวจิ ัย การเรียนการสอนและการจัด กิจกรรมส่งเสรมิ และพฒั นานกั ศึกษา รวมถึงการให้คณาจารย์ผู้สอนทกุ คนมีส่วนร่วมในการคัดเลือกหนังสือ ด้วยตนเอง ถึงแม้จะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 บ้าง เช่น ทำให้การจัดส่งหนังสือและ สื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ล่าช้าลง ตลอดทั้งปกี ารศกึ ษามีการใช้ประโยชน์จากพืน้ ท่พี บปะนักศึกษา ตลอดจนอาคาร เรียน หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบัตกิ ารน้อยมาก แต่ในภาพรวมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คา่ เฉล่ยี ผลประเมิน ความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ สง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ถอื วา่ มากข้ึนกวา่ ปที ่ผี ่านมา (หลกั ฐาน: คา่ เฉลย่ี ผลประเมนิ ความพึงพอใจของอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรทม่ี ตี ่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ )
77 หมวดท่ี 6 ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะเกยี่ วกบั คุณภาพหลกั สตู รจากผ้ปู ระเมินอสิ ระ 1. ขอ้ คดิ เหน็ หรอื สาระทีไ่ ดร้ ับการเสนอแนะจากผู้ประเมิน และความเห็นของผู้รับผิดชอบหลักสูตรตอ่ ขอ้ คดิ เหน็ หรอื สาระที่ได้รบั การเสนอแนะ ขอ้ คิดเหน็ หรือสาระ ความเห็นของหลักสูตรต่อข้อคิดเห็นหรือสาระ ที่ได้รบั การเสนอแนะจากผูป้ ระเมิน ทไ่ี ด้รับการเสนอแนะ องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรมีการวางแผนและกำกบั ให้อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู รมผี ลงาน 1.ควรมกี ารกำกบั ให้อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รมีผลงานทางวชิ าการ ทางวิชาการในรอบปีการศึกษาท่ีผ่านมาและได้กระตุ้นให้อาจารย์ประจำ 2.กระตนุ้ ใหอ้ าจารย์ประจำหลักสตู รตพี มิ พผ์ ลงานวชิ าการ หลกั สตู รทำตำราและงานวจิ ัยเพ่ือเป็นประโยชนต์ อ่ การปรับปรงุ การเรียน การสอนและเพ่ือตพี มิ พผ์ ลงานวิชาการ องค์ประกอบที่ 2 บณั ฑิต แนวทางเสริม คือ เพิ่มเติมทักษะทางด้านความสามารถในการสรุป มกี ารตดิ ตามและสง่ เสริมให้นกั ศึกษาชั้นปี4เข้ารับการอบรมและทดสอบ ประเดน็ และสอ่ื สารการพดู การเขียน การใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดา้ นดิจิทัลและภาษาอังกฤษ องค์ประกอบที่ 3 นกั ศกึ ษา 1.มกี ารประชุมเพ่ือวางแผนการจัดโครงการในคร้ังต่อไปโดยปรับรูปแบบ 1. การเตรียมความพร้อมอาจทำขยายไปมากไปถึงกลางภาคได้ ตามความรนุ แรงของสถานการณ์โควดิ 2.ควรมกี ารสง่ เสรมิ พัฒนานักศกึ ษาโดยเพิ่มทักษะดิจิตัลและทักษะทาง 2.มกี ารติดตามและสง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษาชนั้ ปี3 เขา้ อบรมและทดสอบทกั ษะ ภาษาอังกฤษ ดจิ ิทัลและภาษาองั กฤษ 3.ควรมแี นวทางในการสง่ เสรมิ นักศึกษาสำเรจ็ ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ หลกั สตู รมกี ารส่งเสรมิ ใหอ้ าจารยใ์ นหลกั สตู รเขา้ รว่ มการอบรมวิชาการทั้ง ควรมีการส่งเสรมิ พฒั นาผลการพฒั นาอาจารย์ ลดภาระงาน ในและนอกประเทศ เมื่อมีอาจารย์ไปศึกษาต่อระยะสั้นหรืออบรม ต่างประเทศ จึงมีภาระงานสอนเพิ่มบางส่วน ภาระงานอื่นเป็นไปตาม ขอ้ กำหนดของมหาวทิ ยาลยั องค์ประกอบท่ี 5 หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมินผ้เู รยี น 1.หลักสตู รมกี ารปรับปรุงรายวิชาในการปรบั ปรงุ หลักสูตร 2565 1.เพิ่มการปรับปรุงรายวิชาท่ีทันสมัย 2.มกี ารปรบั ปรงุ วธิ ีการสอนใหเ้ ป็นรปู แบบออนไลนต์ ามสถานการณโ์ ควิด 2.การปรบั ปรุงวธิ ีการสอนใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ องค์ประกอบท่ี 6 ส่งิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ มีการสอบถามความต้องการของอาจารย์และนักศึกษาในหลักสูตรจึง ควรจัดทำฐานขอ้ มูลส่งิ สนับสนุนการเรยี นรู้ ดำเนินการจดั หาสิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ เชน่ หนังสอื ส่อื การเรยี นการสอน การไดม้ าซึง่ ส่งิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ควรไดม้ าจากอาจารย์และนกั ศกึ ษา อ่นื ๆ โดยคณาจารย์ได้รว่ มกนั จัดซื้อด้วยงบวสั ดุ และได้ร่วมกันคัดเลือก รายชื่อหนังสือที่ได้รับการบริจาคจากหน่วยงาน语合中心 ประเทศ จนี 2. การนำไปดำเนนิ การเพ่ือการวางแผนหรือปรบั ปรุงหลกั สูตร การปรับปรุงหลักสูตรในวงรอบต่อไปในหรอื การปรับปรุงหลักสตู รในระยะใกล้ ปีการศึกษา 2563-2564 หลักสูตร เตรียมวางแผนรายวิชาท่ีควรปรับปรุงคำอธบิ ายรายวชิ าใหท้ ันสมัย สอดคล้องกับศาสตร์ความรู้ที่พัฒนา เปลี่ยนแปลงไปและ วางแผนการเปดิ รายวิชาเลอื กใหม่ๆทเ่ี หมาะสมกับปัจจุบนั และไดด้ ำเนินการปรับปรุงหลกั สตู รปี 2565 แล้วเสร็จ
78 3. การประเมนิ จากนักศกึ ษาช้ันปสี ุดท้าย (รายงานตามปที ี่สำรวจ) วันทีส่ ำรวจวนั ท่ี 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 ปีการศกึ ษา 2564 ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาชัน้ ปสี ดุ ท้ายตอ่ หลักสูตร เฉล่ียเทา่ กับ 4.25 (หลกั ฐาน: ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ) 3.1 ขอ้ วิพากษท์ ่สี ำคญั จากผลการประเมิน ขอ้ คดิ เหน็ ของนักศึกษาชั้นปีสดุ ทา้ ย ตอ่ ผลการประเมนิ ขอ้ วิพากษ์ท่สี ำคญั จากผลการประเมิน ไม่มี ไม่มี หมายเหตุ กองประกนั คณุ ภาพการศึกษาเป็นหน่วยงานทใ่ี หข้ ้อมูล 3.2 ขอ้ เสนอการเปล่ยี นแปลงในหลกั สตู รจากผลการประเมิน ระบขุ ้อเสนอการเปลย่ี นแปลงในหลักสตู ร หากไมม่ ีใสค่ ำว่า “ไมม่ ี” 4. การประเมินจากผูม้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ ง (ผูใ้ ช้บัณฑิต) 4.1 ขอ้ วพิ ากษท์ สี่ ำคญั จากผลการประเมิน และข้อคดิ เหน็ ของผูม้ สี ่วนเกย่ี วขอ้ งต่อผลการประเมิน ขอ้ วพิ ากษ์ทีส่ ำคญั จากผลการประเมิน ขอ้ คดิ เหน็ ของผูม้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งตอ่ ผลการประเมนิ ไม่มี ไม่ ม่ ี หมวดท่ี 7 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลกั สูตร 1. ความกา้ วหน้าของการดำเนนิ งานตามแผนทเ่ี สนอในรายงานของปีทผ่ี ่านมา แผนดำเนนิ งาน วันสิ้นสดุ ผรู้ ับผิดชอบ ความสำเรจ็ ของแผน เหตุผลท่ไี ม่สามารถ ตามแผน สำเรจ็ ไม่สำเรจ็ ดำเนินการไดส้ ำเรจ็ 1. การสง่ เสรมิ ด้านผลงานทางวิชาการของ ภาคเรยี นที่ 2 ประธานหลักสูตร ✓ - อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู รและอาจารย์ ปกี ารศกึ ษา 2564 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ ประจำหลักสตู ร หลักสตู ร 2. ทวนสอบผลสัมฤทธแิ์ ละจัดโครงการ สิน้ ภาคเรยี นท่1ี ประธานหลักสูตรอาจา ✓ - แก้ปัญหานกั ศกึ ษา กรณีสอบวัดระดบั ปีการศึกษา รย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร ทกั ษะภาษาจนี HSK 4 ไม่ผ่านและกรณีที่ 2564 อาจารย์ที่ปรกึ ษาช้นั ปีท่ี 1-4
79 มีผลการเรียนไมถ่ งึ 2.00 ทุกชั้นปขี อง หลกั สตู ร 3.วิจยั และการปรับปรุงรายวิชาในหลักสูต ปกี ารศึกษา ประธานหลักสูตร ✓ - อาจารย์ผู้รับผิดชอบ ✓ รใหท้ ันสมยั 2564 หลกั สตู ร ✓ 4.การปรับปรุงระบบ ขั้นตอนการเตรียม ภาคเรียนที่ 1 ประธานหลกั สตู ร อาจารย์ผู้รับผิดชอบ ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ปกี ารศึกษา หลกั สูตร อาจารย์ที่ปรกึ ษา 2564 ชัน้ ปีที่ 4 อาจารยท์ ป่ี รึกษา 5.การจัดโครงการอบรมภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษา ช้ันปที ่ี 3-4 2564 2. ข้อเสนอแนะในการพฒั นาหลักสูตร 2.1 ข้อเสนอแนะการปรับโครงสร้างหลกั สตู ร (จำนวนหน่วยกติ รายวชิ าแกน รายวิชาเลอื กฯ) ใหร้ วบรวมจากหมวดท่ี 6 ขอ้ 4. ใน มคอ.5 ของทุกรายวิชา และระบเุ ปน็ รายข้อ 1.ควรจัดกิจกรรมนอกหลักสตู รเพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาทำกจิ กรรมนอกชน้ั เรยี น 2.ควรมโี ครงการพเิ ศษเสริมทกั ษะดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศสำหรบั นักศึกษาและผู้สอนอย่างสมำ่ เสมอ 3.จดั กิจกรรมท่หี ลากหลาย เน้นการเตรียมความรแู้ ละทกั ษะทต่ี ้องใชใ้ นการทำงาน ควรมีความร่วมมอื กบั หน่วยงานภายนอก เพอ่ื เปน็ แหลง่ ฝกึ ประสบการณท์ ี่ดแี ก่นกั ศกึ ษา 4.ควรจัดซ้ืออปุ กรณก์ ารเขียนพูก่ นั จนี ไวใ้ นหลกั สูตรให้เพียงพอกับจำนวนนกั ศกึ ษา 2.2 ขอ้ เสนอในการเปลยี่ นแปลงรายวิชา ใหร้ ะบุข้อเสนอในการเปลย่ี นแปลง เช่น การเพ่ิม – ลด เนื้อหาในรายวิชา การเปล่ียนแปลงการสอน การประเมินผลสมั ฤทธิ์รายวชิ า เป็นตน้ และให้ระบุเปน็ รายข้อ มีการปรบั ปรงุ หลกั สูตรในรอบ 5 ปี (หลกั สตู รปรับปรงุ 2565) ซงึ่ มที ้งั การเพมิ่ ลด เน้อื หารายวิชา ปรับคำอธิบายรายวชิ า เพ่ิมช่วั โมงปฏิบัติ ลดช่ัวโมงบรรยาย ปรบั รหสั วิชา เป็นต้น 2.3 กิจกรรมการพฒั นาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ให้คณาจารย์ในหลักสตู รทุกคนเข้ารว่ มโครงการการพฒั นาเอกสารประกอบการสอนหรือตำรา หรืองานวิจยั อยา่ งนอ้ ยอย่างใดอยา่ งหนึ่ง 3. แผนปฏิบัติการใหมส่ ำหรับปกี ารศกึ ษาถัดไป (ระบกุ จิ กรรม/โครงการทจ่ี ะดำเนินการในปกี ารศกึ ษาถัดไป โดยวิเคราะหจ์ ากผลการดำเนนิ งานของปีประเมนิ หรอื ข้อเสนอแนะของกรรมการประเมนิ คุณภาพการศึกษาในระดบั หลักสตู ร) แผนการดำเนินงาน วนั ทค่ี าดว่าจะสน้ิ สุ ผ้รู บั ผดิ ชอบ ดแผน
80 1.การส่งเสริมดา้ นผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ สิน้ ภาคเรียนท่ี 2 ประธานหลกั สตู ร หลักสูตรและอาจารยป์ ระจำหลกั สูตร ปกี ารศึกษา อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร 2565 ประธานหลกั สูตร 2.ทวนสอบผลสมั ฤทธิแ์ ละจดั โครงการแก้ปญั หานักศึกษา กรณสี อบ สน้ิ ภาคเรียนท่ี2 อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร อาจารย์ท่ีปรึกษาชน้ั ปีท่ี 1-4 วัดระดับทักษะภาษาจีน HSK 4 ไมผ่ ่านและกรณีท่มี ผี ลการเรยี นไม่ ปกี ารศกึ ษา ถงึ 2.00 ทุกชนั้ ปขี องหลักสูตร 2565 3.พิจารณาปรบั ปรุงเพ่มิ ลดหัวข้ออบรมสำหรบั การเตรียมฝึกประสบ ภาคเรยี นท่ี 1 ประธานหลักสตู ร อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร การณ์วชิ าชพี ปีการศกึ ษา อาจารยท์ ี่ปรึกษาชั้นปีท่ี 4 2565 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู ร :อาจารย์ จริ าพร ปาสาจะ ลายเซ็น : ...................................... อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร :อาจารย์ ดร.รจุ ริ า ศรีสุภา ลายเซ็น : ...................................... อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลักสตู ร :อาจารย์ จนิ ตนา แย้มละมลุ ลายเซ็น : ...................................... อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร :อาจารย์ ดร.ธีรวฒั น์ การโสภา ลายเซ็น : ...................................... อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร :อาจารย์ ปานดวงใจ บุญจนาวโิ รจน์ ลายเซ็น : ...................................... ประธานหลักสูตร : วนั ทรี่ ายงาน : 8 กรกฎาคม 2565 ลายเซน็ : เห็นชอบโดย : (คณบดีคณะ ) ลายเซน็ : วนั ที่ : ภาคผนวก ตารางที่ 1 จำนวนอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสูตร หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาจีน ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ รวม คณุ วฒุ ิการศึกษา ปริญญาตรี -- -- ปริญญาโท 3- - -3 ปริญญาเอก 2- - -2 5- - -5 รวม
81 ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 23 มิถนุ ายน 2565 ตารางที่ 2 คณุ สมบตั ิอาจารยป์ ระจำและอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร ชื่อ – สกลุ / วุฒิการศึกษา ตำแหน่งทาง สาขาวชิ าท่ีจบ ปที จี่ บ ผลงานทางวิชาการ/ อาจารยป์ ระจำและอาจ ตรี โท เอก วชิ าการ การศกึ ษา/ การศกึ ษา ตำรา/งานวจิ ยั / สถาบนั ทจ่ี บ ปีทต่ี พี ิมพเ์ ผยแพร่ ารยผ์ ู้รับผิดชอบ ผศ. รศ. ศ. การศึกษา หลกั สตู ร 1 นางสาวรุจิรา √ Ph.D. (Linguistic 2559 รจุ ิรา ศรสี ภุ า (2560) ศรสี ภุ า and Applied “ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห์ Linguistic) ข้อผิดพลาดการเรียน Xiamen ภาษาจีนของนักศึกษา University, ไ ท ย ”เ อ ก ส า ร ป ร ะ ชุ ม China วิชาการและนำเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัย เพื่อรับใช้สังคม....พลัง ขบั เคลอื่ นประเทศไทยสู่ ยคุ 4.0 2 นางจินตนา √ ศศ.ม.(การสอน 2557 รัตนกลุ กาญจนะพรกุล แย้มละมุล ภาษาจีน) ,จินตนา แย้มละมุ ล มหาวทิ ยาลัยหัว (2560) เฉยี วเฉลิมพระ “กฎการเขียนพินอิน” เกยี รติ เอกสารประชุมวิชาการ และนำเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้ สังคม....พลังขับเคลื่อน ประเทศไทยสยู่ คุ 4.0 3 นางสาวจิราพร √ M.A. (Teaching 2555 จ ิ ร า พ ร ป า ส า จ ะ ปาสาจะ Chinese to ,ธีรวัฒน์ การโสภา Speakers of (2560) “การศึกษา Other ความหมายแฝงท าง Languages) ภาษาและวัฒนธรรม Xinan ข อ ง “ไ ก่ ” ผ ่ า น University, สำนวนสุภาษิตจีน” China เอกสารประชุมวิชาการ และนำเสนอผลงานวิจัย ระด ั บ ชาต ิ ค รั ้ง ท่ี 7 มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้ สังคม....พลังขับเคลือ่ น ประเทศไทยส่ยู คุ 4.0
82 4 นายธีรวัฒน์ √ Ph.D. 2563 ธรี วฒั น์ การโสภา, ปาน การโสภา (Linguistics and ดวงใจ บญุ จนาวิโรจน์. Applied (2564). การพฒั นา Linguistics) ผลสมั ฤทธ์ิการใช้“几 Shanghai ” และ “多少” Normal ของนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 University, สาขาวชิ าภาษาจนี China มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครราชสีมา โดยใช้ ชดุ ฝกึ ทกั ษะ. วารสาร การบรหิ ารนติ บิ คุ คล และนวตั กรรมทอ้ งถนิ่ , ปีท่ี 7 ฉบบั ท่ี2, กุมภาพันธ์ 2564, หน้า 227-239 (TCI กลมุ่ ท่ี 2) 5 นางสาวปานดวงใ √ M.A. (Teaching 2556 ธรี วฒั น์ การโสภา, ปาน จ บญุ จนาวโิ รจน์ Chinese to ดวงใจ บุญจนาวิโรจน์. Speakers of Other ( 2564). ก า ร พ ั ฒ น า ผลสัมฤทธิก์ ารใช้“几 Languages) ” แ ล ะ “多少” Nanjing Normal ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 University,Chin a สาขาวิชาภ า ษ า จี น (2556) มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา โดยใช้ ชุดฝึกทักษะ. วารสาร การบริหารนิติบุคคล และนวัตกรรมท้องถิ่น, ป ี ท่ี 7 ฉ บ ั บ ท่ี 2, กุมภาพันธ์ 2564, หน้า 227-239 (TCI กลุ่มท่ี 2) ขอ้ มลู ณ วันท่ี 23 มิถนุ ายน 2565 ตารางท่ี 3 คุณสมบัตอิ าจารย์ผู้สอนระดบั ปริญญาตรี ช่อื – สกลุ / วฒุ ิการศกึ ษา ตำแหน่งทางวชิ าการ สาขาวชิ าที่จบ ปีท่จี บ อาจารย์ประจำและอาจารย์ ตรี โท เอก ผศ. รศ. ศ. การศกึ ษา/ การศกึ ษา สถาบันที่จบการศกึ ษา ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตร
83 1 นางสาวรุจิรา ศรสี ุภา √ Ph.D. (Linguistics and 2559 2 นางจินตนา แยม้ ละมุล √ Applied Linguistics) 2557 3 นางสาวจริ าพร ปาสาจะ √ Xiamen University, 2555 China 2562 4 นายวรยศ ชนื่ สบาย √ 2556 ศศ.ม.(การสอน 2553 5 นางสาวปานดวงใจ √ ภาษาจนี ) 2563 บญุ จนาวโิ รจน์ มหาวทิ ยาลัยหัวเฉียว 2563 เฉลมิ พระเกียรติ 6 Miss Yang Shu Juan √ M.A. (Teaching 7 นางสาวพชรมน ซือ่ สัจลือสกลุ √ Chinese to Speakers of Other Languages) นายธีรวฒั น์ การโสภา √ Xinan University, China M.A. (Chinese Philology) Lanzhou University, China M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages) Nanjing Normal University, China M.A. (Biochemistry and molecular biology) Jilin University, China Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Beijing Language and Culture University, China Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Shanghai Normal University, China
84 8 นายวิชมยั อิม่ วิเศษ √ M.A. (Teaching 2559 9 Mr.Meng Lingbao √ Chinese to Speakers 2558 of Other Languages) Capital Normal University, China ศศ.ม.(การสอน ภาษาจนี ) มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิ มพระเกียรติ ตารางที่ 4 การปรบั ปรุงหลักสตู รตามรอบระยะเวลาทีก่ ำหนด รอบระยะเวลาหลกั สตู ร ปกี ารศึกษาที่พัฒนา ปีการศึกษาทใ่ี ช้จัด การพิจารณา การศกึ ษา หลักสูตรเดมิ ปีการศึกษา 2551 ปีการศึกษา 2552 สภาวิชาการอนุมตั ิหลกั สูตรปรับปรุง ในคราวประชุมครั้งที่ หลกั สูตรปจั จบุ นั 6/2555 เมือ่ วนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2555 สภามหาวิทยาลัยอนุมตั ิหลักสูตรปรับปรุงในคราวครั้งที่ 1 ในการประชุมครัง้ ที่ 5/2555 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2555 และครั้งท่ี 2 ในการประชุมครั้งท่ี 1/2556 เมื่อวันที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2556 หลกั สตู ร ปี 2560 ปกี ารศกึ ษา 2553 ปีการศึกษา 2555 สภามหาวิทยาลัยอนมุ ัติหลักสูตรปรับปรุงในคราวคร้ังที่ 1 ปีการศกึ ษา 2559 ปกี ารศกึ ษา2560 ในการประชุมคร้งั ท่ี 5/2555 เมอื่ วนั ที่ 15 พฤษภาคม 2555 และครัง้ ท่ี 2 ในการประชุมครั้งท่ี 1/2556 เมือ่ วนั ที่ 15 กมุ ภาพันธ์ 2556 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรปรับปรุงในคราวครั้งที่ 1 ในการประชมุ ครงั้ ที่ ...../2559 เมื่อวันที่ 31มนี าคม 2559 ปจั จบุ นั เป็นการใช้หลกั สูตร ปที ่ี 5 ของรอบระยะเวลา คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร พจิ ารณาหลักสตู รนีใ้ นการประชมุ ครัง้ ท่ี 1/2559 เมอื่ วนั ท่ี 6 มถิ ุนายน 2559 ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวนั ท่ี 16 มถิ ุนายน 2559 ครั้งท่ี 3/2559เมอ่ื วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 ครง้ั ที่ 4/2559เม่อื วนั ท่ี 13 กนั ยายน 2559 คณะกรรมการประจำคณะ พิจารณาหลกั สตู รน้ใี นการประชมุ คร้ังท่ี 5/2559 เมอ่ื วนั ท่ี 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2559
85 หลักสูตร ปี 2565 ปกี ารศึกษา 2563 ปีการศกึ ษา2565 สภาวชิ าการพจิ ารณาให้ความเห็นชอบในการประชุมคร้ังท่ี 2/2560 เมอื่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 สภามหาวทิ ยาลยั อนุมัตหิ ลกั สตู รในการประชมุ ครั้งท่ี 2/2560/ เม่ือวันที่ 24 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560 สภาวิชาการอนมุ ตั ิหลกั สูตรปรับปรงุ เล็กน้อยในคราวครง้ั ที่ 10 ในการประชุมคร้ังที่ 10/2560เมอ่ื วนั ที่ 10 พฤศจิกายน 2560 คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร พิจารณาหลกั สตู รน้ีในการประชุม ครั้งท่ี 1/2563 เม่ือวนั ท่ี 18 มกราคม 2564 ครั้งที่ 2/2563 เม่อื วนั ท่ี 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ครง้ั ที่ 3/2563 เมอื่ วันที่ 22 มนี าคม 2564 ครั้งที่ 4/2563 เมือ่ วันท่ี 26 เมษายน 2564 ตารางที่ 5 กระบวนการปรับปรงุ ผลการดำเนนิ งาน (อธิบายผลการดำเนนิ งานในแตล่ ะกระบวนการ) กระบวนการ 1. แต่งตงั้ คณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรฯ คณะกรรมการรา่ งหลักสตู รได้รับการแตง่ ต้ัง ตามคำส่ังมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่ 229/2559ส่งั ณ วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2559 คณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู รได้รบั การแตง่ ต้ัง ตามคำสั่งมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ท่ี 345/2559 สง่ั ณ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2559 คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร พจิ ารณาหลกั สูตรน้ใี นการประชุม 4 คร้ังไดแ้ ก่ ครงั้ ที่ 1/2559 เมือ่ วนั ที่ 6 มถิ ุนายน 2559 ครง้ั ท่ี 2/2559 เมอ่ื วันท่ี 16 มิถนุ ายน 2559 คร้ังท่ี 3/2559เมื่อวันท่ี 28 กรกฎาคม 2559 ครง้ั ที่ 4/2559เมอ่ื วันท่ี 13 กันยายน 2559 2. วิเคราะห์ความตอ้ งการใชบ้ ณั ฑิต/ตลาดแรงงาน ความต้องการใช้บัณฑติ /ตลาดแรงงานเนอื่ งจากท้งั ภาครฐั และเอกชนมีความตน่ื ตัวในการ ความพรอ้ มของคณะ คแู่ ข่ง และจดุ เดน่ ของ ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบกบั ประเทศจีนมบี ทบาทด้านการคา้ และ หลกั สูตร เพื่อจดั ทำกรอบแนวคิด วฒั นธรรมมากขนึ้ ส่งผลใหภ้ าษาจีนยง่ิ มคี วามสำคญั ตามมา สถาบนั การศกึ ษาต่างๆท้ัง ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาได้จดั การเรยี นการสอนภาษาจีน บัณฑิตทมี่ ีความรู้ ทางดา้ นภาษาจีนจงึ เปน็ ทตี่ ้องการของตลาดแรงงานทง้ั ในดา้ นธรุ กจิ การบริการ การ ทอ่ งเทยี่ ว โรงแรม ดา้ นการศึกษาและดา้ นสุขภาพ ความพร้อมของคณะ หลกั สูตรมบี คุ ลากรทจ่ี บการศึกษาทีม่ คี วามรู้ มปี ระสบการณ์ใน ดา้ นภาษาจนี และมกี ารจัดทำหลักสูตรที่เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสกอ กำหนด หลกั สูตรมีการ จดั กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร มกี ารทำMOUแลกเปล่ียนนักศึกษา และมีการรบั อาสาสมัคร ชาวจีนเข้ามาสอนในหลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาจีน
86 คแู่ ข่ง สถาบนั อดุ มศึกษาหลายแห่งไดเ้ ปิดหลักสูตรภาษาจีนเชน่ กนั จำนวนนกั ศึกษาใหม่ ของมหาวิทยาลยั มีแนวโนม้ ลดลง จุดเด่นของหลักสูตร ผลติ บัณฑติ ท่ีสามารถใชภ้ าษาจีนในการสือ่ สาร การทำงาน ทงั้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หน่วยงานสถานศึกษา การประกอบอาชีพอิสระ และ สามารถศึกษาในระดับท่สี งู ข้ึน ทง้ั ภายในประเทศและต่างประเทศ บัณฑิตเป็นผู้มคี วามรู้ มีคุณธรรม มคี วามอดทน ซอ่ื สัตย์ 3. จดั ทำ (รา่ ง) หลกั สูตร มคอ.2 และเสนอ สสว. จากหลกั สูตร ศศ.บ. ภาษาจีน ปีการศึกษา 2555 ไดด้ ำเนนิ การรับนกั ศึกษา ใชห้ ลักสตู ร ตรวจสอบ (รา่ ง) หลกั สูตร ครบรอบของการจดั การปรบั ปรุงหลักสตู รมหาวทิ ยาลัยไดม้ ีคำสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการ ร่างกลักสตู รปรบั ปรุงและคณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรปรบั ปรงุ ปีการศึกษา 2560 อาจารยป์ ระจำหลักสูตรจัดทำ (รา่ ง) หลกั สตู ร มคอ.2 และเสนอ สสว. ตรวจสอบ (รา่ ง) หลกั สตู รเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 4. สสว. นำเสนอ (ร่าง) คณะกรรมการประจำคณะ พจิ ารณาหลกั สูตรน้ใี นการประชุมครง้ั ที่ 5/2559 เม่ือวันที่ หลกั สตู รต่อคณะกรรมการประจำคณะ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2559 5. สสว. นำเสนอ (ร่าง) สภาวชิ าการพิจารณาให้ความเห็นชอบในการประชมุ ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวนั ท่ี 10 หลักสตู รต่อสภาวิชาการเพอ่ื ให้ความเหน็ ชอบ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560 6. สสว. นำเสนอ (ร่าง) หลกั สตู รต่อ สภามหาวทิ ยาลยั อนุมัตหิ ลกั สตู รในการประชุมครัง้ ท่ี 2/2560/ เม่ือวนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ สภามหาวทิ ยาลัยเพอ่ื อนมุ ัติ พ.ศ. 2560 7. สสว. เสนอหลกั สตู รตอ่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ สำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วิจัยและนวัตกรรมรบั ทราบใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสตู รนีเ้ มื่อวันที่ 16 กนั ยายน พ.ศ. (สกอ.)เพือ่ รับรอง 2563 8เสนอ สมอ 08 เพอ่ื แก้ไขรายชอ่ื อาจารย์ประจำ สภาวชิ าการอนุมตั ิสมอ 08 หลักสูตรใหม่จำนวน 1 ทา่ น หลักสตู รปรับปรงุ อาจารย์ประจำหลักสตู รหลักสตู รปรับปรุงเลก็ น้อยในคราวครั้งท่ี 10 ในการประชุมครงั้ ท่ี 10/2560เม่ือวนั ที่ 10 พฤศจิกายน 2560 ตารางท่ี 6 ผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตร ปี พ.ศ 2564 คา่ นำ้ หนัก ชอ่ื เจ้าของผลงาน ชื่องานสร้างสรรค/์ แหล่งเผยแพร่/ตพี ิมพ์ หมายเหตุ ชอ่ื ผลงานทางวชิ าการ 1 นางสาวรุจิรา ศรีสุภา รุจิรา ศรีสุภา (2560) “การ เรื่อง English for Geotourism Speaking วิเคราะหข์ ้อผดิ พลาดการเรียน Achievement of the Youth Guides at ภาษาจีนของนกั ศกึ ษาไทย” Khorat Geopark Area in Nakhon R a tchasima via Language Instruction รุจริ า ศรสี ุภา,วชิ มยั อม่ิ วิเศษ Innovation ต ี พิ มพ์ เ ผย แ พร่ ใ นว ารสาร
87 (2561)ก า ร ศ ึ ก ษ า ก า ร ใ ช้ Advances in Language and Literary พจนานุกรมและปัญหาการใช้ Studies ปีท่ี 12 ฉบบั ที่ 4 หนา้ ที่ 79-90 พจนานุกรมในการแปล 2 นักศึกษาวชิ าเอกภาษาจนี ชัน้ ปี อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรท่ีมีส่วนร่วมในบ ที่ 3 คณะมนุษยศาสตร์และ ทความวิจยั น้ีคือ อาจารย์ ดร.รจุ ริ า ศรสี ุภา สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราช เอกสารประชุมวิชาการและนำเสนอ ภฏั นครราชสมี า ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัย เพือ่ รบั ใชส้ ังคม....พลังขับเคลอ่ื นประเทศไทยสู่ ยุค 4.0 เอกสารประชุมวิชาการและนำเสนอ ผลงานวจิ ยั ระดับชาติครั้งที่ 10 ถกั ถองานวิจัย ท้องถ่ิน กา้ วไกลส่สู ากล (Connecting Local Research to International Perspectives) 0.6 นางจินตนา แย้มละมุล จินตนา แย้มละมุล,วรยศ ชื่น วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรม สบ าย ( 2564) ก ารพั ฒ นา ท้องถิ่น, ปีท่ี 7 ฉบับที่ 2. กุมภาพันธ์ พ.ศ. ความสามารถในการอ่านป้าย 2564, หนา้ 167-180 (TCI กลมุ่ ท่ี 2) สัญลักษณ์ภาษาจีนของ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา ภาษาจีน โดยใช้สื่อท่เี ป็นชดุ ฝกึ ภาษาจนี เอกสารประชุมวิชาการและนำเสนอ รัตนกุล กาญจนะพรกุล , ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัย จนิ ตนา แย้มละมุล (2560) เพอ่ื รบั ใชส้ ังคม....พลังขบั เคล่ือนประเทศไทยสู่ “กฎการเขยี นพนิ อนิ ” ยคุ 4.0 นางสาวจริ าพร ปาสาจะ จ ิ ราพร ป าสาจ ะ ( 2563) วารสารสหวิทยาการศาสตรแ์ ละการสื่อสาร. ปี การศึกษาความเข้าใจในการ ที่ 3 ฉบับท่ี 1, มกราคม-เมษายน 2563, หน้า 68-82. (TCI กลุ่มท่ี 2) แปลคำบอกทิศทาง “上 ” (Shang) จ าก ภาษ าจี น เป็นภาษาไทยของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาจีนชั้นปีที่ 3 ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ร า ช ภั ฏ นครราชสีมา จิราพร ปาสาจะ,ธรี วัฒน์ การ เอกสารประชุมวิชาการและนำเสนอ โ ส ภ า ( 2560) “ก า ร ศ ึ ก ษ า ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัย ความหมายแฝงทางภาษาและ เพือ่ รบั ใชส้ ังคม....พลงั ขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ ยคุ 4.0 วัฒนธรรมของ “ไก่” ผ่าน สำนวนสุภาษิตจีน”
88 0.6 นายธีรวฒั น์ การโสภา ธรี วฒั น์ การโสภา, ปานดวงใจ บ ุ ญ จ นาว ิ โรจ น์ ( 256 4 ) วารสารการบรหิ ารนติ ิบคุ คลและนวัตกรรมท้อ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์กิ ารใช้ งถ่นิ , ปีที่ 7ฉบับท่ี2, กมุ ภาพันธ์ 2564, หน้า “ 几 ” แ ล ะ “ 多 少 227-239 (TCI กล่มุ ที่ 2) ”ของนักศึกษาชั้นปีท่ี 2 ส า ข า ว ิ ช า ภ า ษ า จี น มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสี มา โดยใช้ชดุ ฝกึ ทกั ษะ จิราพร ปาสาจะ,ธีรวัฒน์ เอกสารประชมุ วิชาการและนำเสนอผลงานวจิ ั การโสภา(2560) ยระดบั ชาติคร้งั ท่ี 7 “การศึกษาความหมายแฝงทา มหาวทิ ยาลยั เพื่อรับใชส้ ังคม....พลงั ขับเคล่อื น งภาษาและวัฒนธรรมของ ประเทศไทยสู่ยุค 4.0 “ไก่” ผา่ นสำนวนสภุ าษิตจีน” นางสาวปานดวงใจ ธรี วฒั น์ การโสภา, ปานดวงใจ วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรม บุญจนาวิโรจน์ บุญจนาวิโรจน์ (2564) การ ท้องถน่ิ , ปที ี่ 7ฉบับที่2, กมุ ภาพันธ์ 2564, พัฒนาผลสั มฤทธ ิ์ก าร ใ ช้ หนา้ 227-239 (TCI กลุม่ ที่ 2) “几” และ “多少” ข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษ า ช ั ้ น ป ี ท่ี 2 ส า ข า ว ิ ช า ภ า ษ า จี น ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ร า ช ภั ฏ นครราชสีมา โดยใช้ชุดฝึก ทักษะ ขอ้ มลู ณ วันที่ 23 มิถนุ ายน 2565
Search