Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ReportSAR63w

ReportSAR63w

Published by Supervusor_CMI, 2021-02-18 04:24:52

Description: ReportSAR63w

Keywords: SAR

Search

Read the Text Version

รายงาน สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ของสถานศึกษาในสังกัด กศน.จังหวดั เชยี งใหม่ ประจาํ ปงบประมาณ 2563 SAR กลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สาํ นักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม เอกสารทางวิชาการลําดับที 6/2564

คาํ นาํ เอกสารฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือรายงานสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงาน กศน.จังหวัดเชียงใหม่ประจําปีงบประมาณ 2563 ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562 เพื่อนําผลการประเมินตนเองของสถานศึกษามาใช้ในการวางแผนสนับสนุนช่วยเหลือและพัฒนา สถานศึกษาต่อไป สาระสําคัญในเอกสารประกอบด้วยมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา นิยามและความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสรุปผลการ ประเมินตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศึกษาโดยภาพรวมในแต่ละมาตรฐานของสถานศึกษาในสังกัด สํานกั งาน กศน.จังหวัดเชียงใหม่ จุดเด่น จดุ ทค่ี วรพฒั นา และขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา ขอขอบคณุ ผ้เู กี่ยวขอ้ งทุกทา่ น ทงั้ ผู้บริหาร ขา้ ราชการครู บรรณารักษ์ ครู กศน.ตําบล ครูอาสาสมัครฯ และบุคลากรทางการศึกษา ที่ให้ความร่วมมือในการจัดทํารายงานสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงาน กศน.จังหวัดเชียงใหม่ประจําปีงบประมาณ 2563 ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2562 จนสาํ เรจ็ ด้วยดี กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา สํานักงาน กศน.จงั หวดั เชยี งใหม่ ํสา ันกงาน กศน.จังห ัวดเ ีชยงให ่ม

สารบญั หนา้ 1 เรอื่ ง 1 5 มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 7 นยิ ามและความหมายของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 11 12 สรุปผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศกึ ษาโดยภาพรวมในแตล่ ะมาตรฐาน 16 ของสถานศกึ ษาในสังกดั สํานักงาน กศน.จงั หวัดเชยี งใหม่ 18 - จดุ เด่น - จุดควรพฒั นา - ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ตารางสรุปผลการประเมินตนเองโดยภาพรวมในแต่ละมาตรฐานของสถานศกึ ษา การรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ผา่ นระบบออนไลน์ แผนภมู ริ ปู ภาพสรปุ ผลรายงานการประเมนิ ตนเองฯ ความตอ้ งการการส่งเสริม สนบั สนนุ จากหน่วยงานตน้ สงั กดั คณะผจู้ ัดทาํ ํสา ันกงาน กศน.จังห ัวดเ ีชยงให ่ม

1 สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน (SAR) ตามมาตรฐานการศกึ ษา ของสถานศกึ ษาในสังกดั สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดเชยี งใหม่ ปงี บประมาณ 2563 ************** ตามที่ กฎกระทรวงกําหนดระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายในสําหรับสถานศึกษา ที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ.2555 กําหนดให้สถานศึกษาดําเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษา และจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) พร้อมทั้งรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อ หน่วยงานต้นสังกัด และให้หน่วยงานต้นสังกัด มีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการประกันคุณภาพภายในของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ โดยสรุปรายงานการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษาเป็นภาพรวมของจังหวัด นําผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษามาใช้ในการวางแผน สนับสนนุ ช่วยเหลือ และพฒั นาสถานศึกษาต่อไป มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั พ.ศ. 2562 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2562 ซ่ึงประกอบด้วย 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐาน การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งในแต่ละมาตรฐานจะมุ่งพิจารณาคุณภาพใน 3 ด้าน คือ 1) คุณภาพของผู้เรียนหรือผู้รับบริการ 2) คุณภาพการจัดการศึกษา และ 3) คุณภาพการบริหารจัดการ ของสถานศึกษา ทําให้มีผลบังคับใช้โดยสถานศึกษาแต่ละแห่งใช้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาและยกระดับ คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา โดยศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ เป็นสถานศึกษาหน่ึงท่ีต้องใช้มาตรฐานดังกล่าว เป็นมาตรฐานในการพัฒนา ระดบั คณุ ภาพของสถานศึกษาต่อไป นิยามและความหมายของการประกนั คณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 1. สถานศึกษา หมายถึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ/เขต ทุกแห่งใน สังกัดสาํ นักงาน กศน. 2. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา หมายถึง ทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ที่เกิดมาจากผลการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม หรือ สภาพแวดล้อมและศักยภาพของสถานศึกษา (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม) วิเคราะห์นโยบาย จุดเน้นที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงอาจจัดทําเป็นแผนระยะ 3 - 5 ปี และใช้เป็นแนวทางในการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปี 3. แผนปฏิบัติการประจําปี หมายถึง ทิศทางการดําเนินงานประจําปีงบประมาณของสถานศึกษา ท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้เกิดการดําเนินงานจริงตามกลยุทธ์ ซ่ึงต้องกําหนดค่า เป้าหมายผลการดาํ เนนิ งานในโครงการหรือกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่ดาํ เนนิ การในปนี นั้ ๆ 4. คุณภาพการศึกษา หมายถึง คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และพันธกิจของการ จัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

2 5. มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หมายถึง ข้อกําหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และเป็นสิ่งท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง ท่ีใช้เป็นหลักในการเทียบเคียง สําหรับ ส่งเสริมการกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา ซ่ึงประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มีจํานวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ซึ่งมปี ระเด็นการ พิจารณา จํานวน 8 ประเด็น ประกอบดว้ ย 1.1 ผู้เรยี นการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นท่ีดีสอดคล้องกับหลักสตู รสถานศกึ ษา 1.2 ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะท่ดี ตี ามทสี่ ถานศกึ ษา กําหนด 1.3 ผู้เรยี นการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและ แลกเปลย่ี น ความคดิ เห็นรว่ มกบั ผูอ้ ืน่ 1.4 ผเู้ รยี นการศึกษาขัน้ พื้นฐานมีความสามารถในการสรา้ งสรรค์งาน ช้ินงาน หรือนวัตกรรม 1.5 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล 1.6 ผูเ้ รียนการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ 1.7 ผู้เรียนการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น 1.8 ผู้จบการศึกษาข้นั พนื้ ฐานน าความรู้ ทักษะพ้ืนฐานทไี่ ด้รับไปใชห้ รอื ประยุกต์ใช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ซ่งึ มปี ระเดน็ การพิจารณา จํานวน 4 ประเดน็ ประกอบดว้ ย 2.1 การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท และความต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ 2.2 สื่อทีเ่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ 2.3 ครมู ีความรู้ ความสามารถในการจดั การเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสําคญั 2.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา ซงึ่ มปี ระเด็นการพิจารณา จาํ นวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาท่เี น้นการมีสว่ นร่วม 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพฒั นาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่อื สนบั สนุนการบริหารจดั การ 3.5 การกํากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบตั หิ น้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ปน็ ไปตามบทบาททีก่ าํ หนด 3.7 การสง่ เสริม สนับสนุนภาคีเครอื ขา่ ยใหม้ สี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ 3.9 การวจิ ยั เพอ่ื การบริหารจัดการศกึ ษาสถานศึกษา

3 มาตรฐานการศกึ ษาต่อเนอื่ ง มีจํานวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเน่ือง ซ่ึงมปี ระเด็นการพจิ ารณา จาํ นวน 3 ประเดน็ ประกอบด้วย 1.1 ผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเน่อื งมีความรู้ ความสามารถ และ หรอื ทกั ษะ และ หรอื คุณธรรม เปน็ ไปตามเกณฑ์ การจบหลกั สูตร 1.2 ผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งสามารถนําความรู้ท่ไี ดไ้ ปใช้ หรอื ประยกุ ต์ใช้ บนฐาน คา่ นิยมร่วม ของสงั คม 1.3 ผูจ้ บหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื งทน่ี ําความรู้ไปใช้จนเห็นเปน็ ประจักษ์หรือตัวอยา่ งทดี่ ี มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้การศกึ ษาต่อเนื่อง ซ่งึ มีประเด็นการพิจารณา จํานวน 5 ประเดน็ ประกอบดว้ ย 2.1 หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่องมคี ณุ ภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาตอ่ เนอื่ ง มีความรู้ ความสามารถ หรอื ประสบการณต์ รงตามหลกั สตู ร การศกึ ษาต่อเนอื่ ง 2.3 สือ่ ทเี่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ 2.4 การวดั และประเมินผลผู้เรยี นการศกึ ษาตอ่ เนื่อง 2.5 การจดั กระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนือ่ งทมี่ คี ุณภาพ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จํานวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาท่เี นน้ การมสี ว่ นรว่ ม 3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารจดั การ 3.5 การกาํ กบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดําเนนิ งานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏบิ ตั หิ น้าท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ปน็ ไปตามบทบาทท่ีกําหนด 3.7 การสง่ เสริม สนับสนุนภาคเี ครอื ข่ายใหม้ ีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา 3.8 การส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ 3.9 การวิจัยเพ่อื การบรหิ ารจัดการศกึ ษาสถานศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มีจาํ นวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผรู้ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซึ่งมปี ระเดน็ การพิจารณา จาํ นวน 1 ประเดน็ ประกอบด้วย 1.1 ผรู้ ับบริการมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ซึ่งมีประเดน็ การพิจารณา จํานวน 4 ประเดน็ ประกอบดว้ ย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2.2 ผูจ้ ัดกจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 2.3 สอ่ื หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่ีเอ้อื ตอ่ การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2.4 ผ้รู บั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจตอ่ การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย

4 มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จํานวน 9 ประเดน็ ประกอบด้วย 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาท่เี น้นการมสี ่วนร่วม 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอื่ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการ 3.5 การกํากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดําเนินงานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏิบตั ิหน้าท่ขี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาที่เป็นไปตามบทบาททก่ี าํ หนด 3.7 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ข่ายให้มีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ 3.9 การวจิ ัยเพื่อการบริหารจัดการศกึ ษาสถานศกึ ษา หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ท้ังมาตรฐานการศึกษานอก ระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มาตรฐานการศกึ ษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั 6. การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการทํากิจกรรม หรือการปฏิบัติภารกิจหลักอย่าง มีระบบตามแบบแผนท่ีกําหนดไว้ โดยมีการควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ จนทําให้เกิดความม่ันใจในคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึง กระบวนการและกลไกการดาํ เนนิ งาน และผลผลิตและผลลพั ธข์ องการจัดการศกึ ษา 7. การประกนั คุณภาพภายใน หมายถงึ กระบวนการดําเนนิ งานเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการ ศกึ ษา ซงึ่ ประกอบด้วย การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และการประเมิน คณุ ภาพภายใน 8. การประเมินคุณภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ และเปรียบเทียบผลการ ดําเนินงานของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อระดับคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9. กระบวนการ หมายถึง ลําดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานตามโครงการหรือกิจกรรม เช่น กระบวนการ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น กระบวนการจัดทําแผนการเรยี นรู้รายบคุ คล กระบวนการออกขอ้ สอบ เป็นต้น 10. ค่าเป้าหมาย หมายถึง ค่าความสําเร็จ หรือระดับผลการดําเนินงานที่สถานศึกษาคาดหวังว่า สามารถทําให้เกิดข้ึนได้ตามศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา ซึ่งสถานศึกษาเป็นผู้กําหนดข้ึน โดยใช้ข้อมูล สารสนเทศจากการดําเนินงานที่ผ่านมา และต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารสํานักงาน กศน.จังหวัด ด้วย วธิ กี ารสอบทาน ค่าเปา้ หมายท่ีกําหนดขึ้น 11. วิธีปฏบิ ัตทิ ี่ดี หมายถงึ กระบวนการ วธิ กี ารปฏิบัติในการทาํ ส่งิ ใดสิง่ หนึ่งใหป้ ระสบความสาํ เรจ็ และ มีหลักฐานของความสําเรจ็ ปรากฏชดั เจน ซึง่ เปน็ ผลมาจากการนาํ ความรู้และประสบการณท์ ่ีมอี ยไู่ ปปฏิบัตจิ รงิ ภายใตศ้ กั ยภาพและบริบทของสถานศกึ ษา 12. นวัตกรรม หมายถึง กระบวนการ วิธีการปฏิบัติท่ีเกิดขึ้นใหม่ซ่ึงยังไม่เคยมีมาก่อน หรือเป็นการ พัฒนา ดดั แปลงจากของเดิมท่ีมีอยูใ่ หท้ นั สมยั ใชไ้ ดผ้ ลดมี ากข้นึ หรอื ชว่ ยใหก้ ารทํางานไดผ้ ลที่ดี มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เป็นท่ียอมรับตอ่ สาธารณะ ซึ่งเกิดข้ึนภายใต้ศักยภาพและบรบิ ทของสถานศกึ ษา 13. ตัวอย่างท่ีดี หมายถึง ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้รับบริการ/วิทยากร/การดําเนินงานท่ีเป็นท่ี ยอมรบั ของบุคคล ชุมชนและสังคม 14. ต้นแบบ หมายถึง ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้รับบริการ/การดําเนินงานที่เป็นแบบอย่าง และมีการ เผยแพร่ จนเปน็ ทีย่ อมรบั ของบุคคล ชุมชนและสังคม โดยมบี คุ คลหรือสถานศึกษานําไปปฏิบตั หิ รอื ประยุกตใ์ ช้

5 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน (SAR) ของสถานศกึ ษาในสงั กดั สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงใหม่ ต้ังอยู่เลขท่ี 157 หมู่ 4 ตําบลดอนแก้ว อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั กระทรวงศกึ ษาธิการ มีสถานศึกษาในสังกัด จํานวน 25 แห่ง โดยมีผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษาตามรายมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของสํานักงาน กศน. สรุปผลการประเมินได้ ดงั น้ี สรุปผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศึกษาโดยภาพรวมในแต่ละมาตรฐานของ สถานศึกษาในสังกดั สาํ นักงาน กศน.จังหวดั เชยี งใหม่ มีดงั นี้ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ ตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาพบว่า ผลการประเมินในภาพรวม มีค่าคะแนนผลการประเมินเท่ากับ 85.53 อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ โดยเมื่อพจิ ารณาผลการประเมินตามมาตรฐานพบวา่ มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีค่าคะแนน เท่ากับ 82.71 อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มีค่าคะแนน เท่ากับ 85.83 อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มีค่าคะแนนเท่ากับ 88.05 อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยยี่ ม จดุ เด่น ผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดีเป็นไปตามที่ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กําหนด การจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเน่ืองท่ีมีคุณภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ืองมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และ หรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร สามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยม ร่วมของสังคม การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ ผู้รับบริการ ทําให้ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ และมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษา ตามอธั ยาศัย ท้ังนีเ้ กิดจากการบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม มีการพัฒนาครู และบุคลากร ของสถานศึกษาอยู่เสมอ อีกทั้งยังใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ มีระบบการประกัน คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ท่ีเปน็ ไปตามกฎกระทรวงและพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ จดุ ทีค่ วรพัฒนา ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้สูงข้ึน สนับสนุนให้ผู้เรียน สร้างสรรค์งาน ช้ินงาน หรือนวัตกรรม หรือสิ่งใหม่ ๆ ให้เกิดข้ึนและใช้ประโยชน์ได้จริง พัฒนาหลักสูตร การศึกษาต่อเน่ืองให้มีคุณภาพ คัดเลือกวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตร จัดหาและพัฒนาส่ือ แหล่งเรียนรู้ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สอดคล้องตามหลักสูตร เลือกใช้เครื่องมือวัดผลและ ประเมินผลให้เป็นไปตามจุดมงุ่ หมายหรอื วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร จะสง่ ผลให้ผ้จู บหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง นําความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างท่ีดี พัฒนาบุคลากรหรือผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดหา พัฒนาส่ือหรือนวัตกรรมท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและความ ต้องการของผู้รับบริการ จัดสภาพแวดล้อมให้มีความเหมาะสม น่าใช้บริการ ท้ังน้ีสถานศึกษาควรมีการจัดทํา งานวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา ที่เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการในด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล หรือด้านการบริหารงานทั่วไป เพื่อนําผลการวิจัยไปปรับปรุงและ พัฒนางานของสถานศกึ ษา

6 ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา ควรยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเ้ รียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้น พ้ืนฐาน ในทุกระดับ โดยใช้ข้อมูล สารเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ครบถ้วน สมบูรณ์ และถูกต้อง มาเป็นข้อมูลในการ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา เช่น ข้อมูลผลการสอบปลายภาคเรยี น ข้อมูลผลการทดสอบแห่งชาติ (N-Net) เป็นต้น พัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ให้สอดคล้องกับสภาพบริบท หรือความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน สงั คม จัดหาและพัฒนาส่ือ แหล่งเรยี นรู้ หรอื ภูมิปญั ญาท้องถ่ินท่สี อดคลอ้ งตามหลกั สตู ร และให้สถานศกึ ษาจดั ทํา งานวิจยั เพอื่ การบริหารจดั การศึกษาสถานศึกษา ทเี่ ก่ยี วข้องกบั การบริหารจดั การในด้านวชิ าการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล หรือด้านการบริหารงานท่ัวไป เพ่ือนําผลการวิจัยไปปรับปรุงและพัฒนางานของ สถานศกึ ษาตอ่ ไป

7 ตารางสรปุ ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวมในแต่ละมาตรฐานของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดบั 50 40.93 ดี การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ยอดเยย่ี ม 1.1 ผ้เู รยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนท่ีดี 10 7.48 สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรสถานศึกษา ดเี ลิศ 1.2 ผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม 10 8.88 ดี และคณุ ลกั ษณะท่ีดตี ามท่สี ถานศึกษากําหนด ดีเลิศ ดีเลิศ 1.3 ผ้เู รยี นการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานมีความสามารถในการคดิ 5 4.08 ดีเลศิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และแลกเปล่ยี น ความคดิ เห็น ดีเลศิ รว่ มกบั ผอู้ ่ืน ดีเลศิ ดเี ลศิ 1.4 ผเู้ รียนการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานมีความสามารถในการ 5 3.72 ดีเลิศ สร้างสรรค์งาน ช้ินงาน หรอื นวตั กรรม ดเี ลิศ ดีเลิศ 1.5 ผเู้ รียนการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้ 4 3.08 เทคโนโลยดี ิจิทัล 1.6 ผเู้ รียนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมีสขุ ภาวะทางกาย และ 4 3.34 สุนทรยี ภาพ 1.7 ผู้เรียนการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานมีความสามารถในการอา่ น การ 4 3.44 เขยี น 1.8 ผจู้ บการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานนาํ ความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐานที่ได้รับ 8 6.91 ไปใชห้ รอื ประยุกตใ์ ช้ มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั 20 16.08 การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สําคัญ 5 3.88 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท และ ความต้องการของผู้เรยี น ชุมชน ทอ้ งถน่ิ 2.2 สอ่ื ทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ 5 3.84 2.3 ครมู คี วามรู้ ความสามารถในการจัดการเรยี นรูท้ ี่เน้นผเู้ รยี น 5 4.08 เปน็ สาํ คญั 2.4 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ 5 4.28

8 มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คณุ ภาพ 30 25.70 ดีเลศิ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา 3 2.87 4 3.54 ยอดเยี่ยม 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมสี ว่ นรว่ ม 3 2.71 ยอดเยี่ยม 3 2.83 ยอดเยย่ี ม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม 3 2.50 3.3 การพฒั นาครู และบุคลากรของสถานศึกษา ดเี ลิศ 3 2.53 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทลั เพือ่ สนับสนนุ การบริหารจัดการ ดีเลศิ 3 2.62 3.5 การกํากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาํ เนนิ งานของ ดเี ลศิ สถานศกึ ษา 5 4.05 3 2.04 ดีเลิศ 3.6 การปฏบิ ตั ิหน้าทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเปน็ ไป 100 82.71 ดี ตามบทบาททกี่ ําหนด ดเี ลศิ 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ภาคีเครอื ขา่ ยใหม้ สี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ การสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 3.9 การวิจยั เพอ่ื การบริหารจดั การศึกษาสถานศึกษา รวมคะแนน

9 มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่อื ง คะแนนเตม็ ได้คะแนน ระดบั คณุ ภาพ มาตฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา 50 43.46 ดีเลศิ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียนการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 10 9.62 ยอดเยยี่ ม 1.1 ผเู้ รยี นการศกึ ษาตอ่ เนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือ 20 18.00 ยอดเย่ยี ม ทักษะ และหรอื คณุ ธรรมเปน็ ไปตามเกณฑ์การจบหลกั สูตร 20 15.84 ดีเลศิ 1.2 ผ้จู บหลกั สตู รการศึกษาต่อเนือ่ งสามารถนาํ ความรูท้ ่ีได้ไปใช้ หรือประยกุ ตใ์ ชบ้ นพืน้ ฐานค่านิยมรว่ มของสังคม 20 16.65 ดเี ลศิ 4 3.07 ดเี ลิศ 1.3 ผู้จบหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่อื งทน่ี าํ ความรไู้ ปใช้จนเห็น เป็นประจักษห์ รอื ตวั อยา่ งที่ดี 4 3.38 ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 4 3.20 ดีเลศิ 4 3.14 ดีเลิศ 2.1 หลักสตู รการศึกษาต่อเน่ืองมคี ุณภาพ 4 3.87 ยอดเยี่ยม 30 25.70 ดเี ลศิ 2.2 วทิ ยากรการศกึ ษาตอ่ เน่ือง มคี วามรู้ ความสามารถ หรือ 3 2.87 ยอดเยย่ี ม ประสบการณต์ รงตามหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 4 3.54 ยอดเยยี่ ม 3 2.71 ยอดเย่ยี ม 2.3 สื่อท่เี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ 3 2.83 ยอดเย่ียม 2.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ 3 2.50 ดเี ลศิ 2.5 การจัดกระบวนการเรียนร้กู ารศึกษาต่อเน่ืองทม่ี คี ณุ ภาพ 3 2.53 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา 3 2.62 ดีเลศิ 5 4.05 ดเี ลิศ 3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาทีเ่ น้นการมสี ่วนรว่ ม 3 2.04 ดี 100 85.82 ดเี ลศิ 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่ือสนบั สนุนการบริหารจดั การ 3.5 การกาํ กบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาํ เนนิ งานของ สถานศึกษา 3.6 การปฏบิ ัติหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาทีเ่ ป็นไป ตามบทบาทที่กําหนด 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครอื ข่ายให้มสี ว่ นร่วมในการจัด การศกึ ษา 3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ 3.9 การวิจัยเพอ่ื การบริหารจดั การศึกษาสถานศกึ ษา รวมคะแนน

10 มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย คะแนนเต็ม ได้คะแนน ระดับคณุ ภาพ 50 44.65 ยอดเยี่ยม มาตฐาน/ประเดน็ การพิจารณา 50 44.65 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผรู้ ับบริการการศกึ ษาตาม อัธยาศยั 20 17.70 ยอดเยย่ี ม 1.1 ผูร้ ับบรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทกั ษะ หรือประสบการณ์ 5 4.80 ยอดเยี่ยม สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงคข์ องโครงการหรอื กิจกรรมการศกึ ษา 5 4.21 ดีเลศิ ตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตาม 5 4.00 ดเี ลศิ อัธยาศยั 5 4.69 ยอดเยยี่ ม 2.1 การกาํ หนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 30 25.70 ดเี ลศิ 3 2.87 ยอดเยยี่ ม 2.2 ผจู้ ัดกิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรม 4 3.54 ยอดเยีย่ ม การศกึ ษาตามอัธยาศยั 3 2.71 ยอดเย่ียม 2.3 ส่อื หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอ้ือตอ่ การจัด 3 2.83 ยอดเย่ยี ม การศึกษาตามอธั ยาศยั 3 2.50 ดีเลศิ 2.4 ผู้รับบรกิ ารมีความพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาตาม อัธยาศยั 3 2.53 ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา 3 2.62 ดเี ลิศ 5 4.05 ดีเลศิ 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาท่เี น้นการมสี ว่ นรว่ ม 3 2.04 ดี 100 88.05 ยอดเยยี่ ม 3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 100 85.53 ดเี ลศิ 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการ 3.5 การกํากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดําเนนิ งานของ สถานศึกษา 3.6 การปฏิบตั ิหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาทเ่ี ป็นไป ตามบทบาททีก่ าํ หนด 3.7 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ยใหม้ สี ว่ นรว่ มในการจัด การศกึ ษา 3.8 การส่งเสรมิ สนับสนนุ การสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 3.9 การวิจยั เพ่ือการบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา รวมคะแนน รวมคะแนนทงั้ สิ้น

11 การรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ผา่ นระบบออนไลน์

12 สรุปผลรายงานการประเมนิ ตนเอง ตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

13 แผนภูมริ ูปภาพแสดงคะแนนมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

14 แผนภูมริ ปู ภาพแสดงคะแนนมาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง

15 แผนภูมิรปู ภาพแสดงคะแนนมาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

16 ความตอ้ งการการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ จากหนว่ ยงานตน้ สงั กดั

17

18 คณะผจู้ ัดทาํ ที่ปรึกษา เตยี งธวัช ผ้อู าํ นวยการ สํานักงาน กศน.จงั หวัดเชยี งใหม่ นางสาวทิพวรรณ ผูส้ รปุ รายงาน คงดี ศกึ ษานเิ ทศก์ชํานาญการพิเศษ นายวริ ตั น์ คันธา นกั วิชาการศึกษา นางสาวรุจริ า แมนมาศวิหค นักวิชาการศึกษา ว่าท่ี ร.ต.หญิง บารมี ออกแบบปก คันธา นกั วชิ าการศกึ ษา นางสาวรจุ ิรา

สาํ นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook