โครงงาน เร่อื ง การศึกษาลายผ้าซ่ินในเมืองนา่ น จดั ทาโดย 1.นางสาว ดรุณี ขะระเขอ่ื น เลขที่ 5 2.นางสาว ชลธี อนิ ทา เลขท่ี 7 3.นางสาว วรุณพร ไชยมงคล เลขท่ี 18 4.นางสาว มณฑิตา ภญิ โญยงิ่ เลขท่ี 24 5.นางสาว วิมลศริ ิ อายยุ นื เลขท่ี 25 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/5 ครูท่ีปรึกษาโครงงาน นายดารงค์ คันธะเรศย์
บทคดั ย่อ ผ้าทอพ้ืนเมอื งนา่ นนั้น มที ้ังผา้ ท่ีทอขึน้ โดยชาวพ้ืนเมอื งเมอื งนา่ นดั้งเดมิ และผ้าทอพืน้ เมอื งที่มาจากแหล่งอน่ื สบื เนอ่ื งมาจากความสัมพันธ์ทางการเมอื ง และการ อพยพโยกยา้ ยถิ่นของผคู้ นภายหลังการสงครามจากหวั เมอื งชายพระราชอาณาเขต เข้ามา เป็นไพร่พลเมอื งของเมอื งนา่ น ระหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 10-25 กล่มุ ชนเผ่าทสี่ าคญั ไดแ้ ก่ ไท ล้ือ และชาวไทยภูเขาเผา่ ตา่ งๆ ผา้ พื้นเมอื งนา่ นด้ังเดมิ ได้แก่ ผ้าพ้นื ผา้ ขาวมา้ ถงุ ยา่ ม (ลาย ขาวดา) ผา้ ห่ม (ผา้ ตาแสง หรือ ผ้าตาโกง้ ) ผา้ ลายคาดกา่ นแบบน่าน ผา้ พน้ื เมอื ง จากแหล่ง อน่ื เช่น ผ้าตนี จกจากเมืองพิชัย ซ่ินม่าน ซ่ินเชยี งแสนจากเชียงตุง ผา้ ลายลื้อจากเมอื งเงิน เมอื งคง เมอื งฮุน เมืองลา้ และสบิ สองปันนา ผา้ ไหมซิน่ ลาวจากเมอื งหลวงพระบางและเวยี ง จนั ทร์ ซ่ินก่านคอควาย และซ่นิ ตามะนาวจากแพร่ ซน่ิ ลายขวางจากเมอื งเชียงใหม่ เปน็ ต้น กลุ่มชนท่ีอาศัยอยใู่ นจังหวดั นา่ นมีทง้ั ชนชาตไิ ท ชาวไทยภเู ขา ทอี่ าศยั อยูเ่ ดมิ และไดอ้ พยพ มาจากลา้ นช้าง สิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ได้แก่ ไทยวนหรอื ไทยโยนก ไทล้อื ถ่ิน(ลัวะ) ขมุ มง้ (แมว้ ) เยา้ (เมยี่ น) และมลาบรี (ผีตองเหลือง) จึงทาใหผ้ ้า ทอเมอื งน่านมที มี่ าหลายแห่งดว้ ยกัน คณะผ้จู ดั ทาจึงมคี วามสนใจที่จะศึกษาซนิ่ หรอื ผ้าทอ ในเมอื งน่าน เพื่ออนุรักษแ์ ละสืบตอ่ การทอผา้ ใหก้ ับคนรุ่นใหม่ เพราะในปจั จุบนั น้ีไดร้ ับ อิทธิพลจากชาติตะวันตกทาให้คนรุ่นหลงั อาจจะหลงลมื ภูมปิ ัญญาอนั งดงามในท้องถิน่
กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานฉบบั นสี้ าเรจ็ ไดด้ ดี ว้ ยความกรณุ าของครผู สู้ อน ซ่งึ ไดใ้ ห้คาปรกึ ษา ขอ้ ช้ีแนะและความช่วยเหลอื จนกระท่งั โครงงานสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดี คณะผจู้ ดั ทาขอ กราบขอบพระคุณอยา่ งสูงมา ณ ที่น้ี ขอกราบขอบพระคณุ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา ทใ่ี ห้ความ กรุณาในการแก้ไขขอ้ บกพร่องตา่ งๆ ของโครงงานและใหค้ วามรู้ ให้คาแนะนาทง้ั กาลงั ใจ ท้ายสุดนี้คณะผจู้ ดั ทาหวังเปน็ อย่างยงิ่ ว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชนต์ อ่ การศกึ ษาและ นา่ สนใจสาหรับผทู้ ีส่ นใจต่อไป คณะผู้จดั ทา
คานา • โครงงานเร่ืองซนิ่ ในเมอื งนา่ นน้เี ปน็ ส่วนหน่งึ ของการเรียนวิชา is1-โครงงาน การออกแบบเทคโนโลยี กลมุ่ ของขา้ พเจ้าจดั ทาข้นึ เพื่อศึกษาประวตั คิ วามเปน็ มาของผา้ ซนิ่ ในเมืองน่าน ศกึ ษาถงึ ประเภทของผา้ ซิน่ วัสดทุ ใ่ี ช้ อุปกรณ์ทใ่ี ชท้ อ วิธกี ารทอผา้ ซนิ่ และนา ความรู้ทีไ่ ด้เผยแพร่แก่เยาวชนร่นุ ใหม่ และช่วยอนรุ กั ษภ์ ูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน คณะผจู้ ดั ทาตอ้ ง ขอขอบพระคณุ คณุ ครู ดารงค์ คนั ธะเรศย์ เปน็ อยา่ งสงู ท่ีชว่ ยใหค้ าแนะนาเกย่ี วกบั โครงงาน ฉบับนี้ และขอบคณุ ป้าแม่บา้ นทใี่ หข้ อ้ มลู แก่กลมุ่ ขา้ พเจ้า หากมีข้อผดิ พลาดประการใด คณะ ผู้จดั ทาขออภัยมา ณ ทนี่ ้ี คณะผจู้ ดั ทา
สารบญั บทคัดย่อ กิตตกิ รรมประกาศ คานา สารบญั บทท่ี 1 บทนา ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา สมมติฐานการศกึ ษา ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั บทที่ 2 เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง เอกสารอ้างอิง บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ โครงงาน ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ บทท่ี 4 ผลการศึกษาล ผลการศกึ ษา บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษา สรุปผลการศึกษา ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากโครงงาน
บทที่ 1 บทนา ท่มี าและความสาคัญของโครงงาน ผา้ ทอพื้นเมอื งนา่ นน้ัน มีท้ังผา้ ที่ทอข้ึนโดยชาวพืน้ เมอื งเมืองนา่ นดง้ั เดมิ และผา้ ทอพืน้ เมอื งท่มี าจากแหล่งอืน่ สืบเนอ่ื งมาจากความสัมพันธ์ทางการเมอื ง และการ อพยพโยกย้ายถ่ินของผคู้ นภายหลังการสงครามจากหวั เมืองชายพระราชอาณาเขต เข้ามา เป็นไพรพ่ ลเมอื งของเมอื งน่าน ระหวา่ งพทุ ธศตวรรษที่ 10-25 กลมุ่ ชนเผา่ ทสี่ าคญั ไดแ้ ก่ ไท ลื้อ และชาวไทยภูเขาเผา่ ต่างๆ ผา้ พ้นื เมอื งนา่ นดัง้ เดิม ได้แก่ ผา้ พ้นื ผา้ ขาวม้า ถงุ ย่าม (ลาย ขาวดา) ผา้ หม่ (ผ้าตาแสง หรือ ผ้าตาโกง้ ) ผ้าลายคาดก่านแบบน่าน ผา้ พ้นื เมอื ง จากแหล่ง อ่ืน เชน่ ผ้าตนี จกจากเมอื งพชิ ยั ซ่ินมา่ น ซนิ่ เชยี งแสนจากเชียงตงุ ผ้าลายล้อื จากเมืองเงิน เมืองคง เมอื งฮนุ เมืองล้า และสบิ สองปนั นา ผา้ ไหมซิน่ ลาวจากเมอื งหลวงพระบางและเวยี ง จนั ทร์ ซ่ินกา่ นคอควาย และซ่นิ ตามะนาวจากแพร่ ซ่ินลายขวางจากเมอื งเชยี งใหม่ เป็น ตน้ กลมุ่ ชนทอี่ าศยั อยใู่ นจังหวัดน่านมที งั้ ชนชาตไิ ท ชาวไทยภเู ขา ท่ีอาศยั อยู่เดมิ และได้ อพยพมาจากลา้ นชา้ ง สิบสองปันนา สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ได้แก่ ไทยวน หรอื ไทยโยนก ไทลื้อ ถน่ิ (ลัวะ) ขมุ มง้ (แม้ว) เยา้ (เมยี่ น) และมลาบรี (ผีตองเหลอื ง) จงึ ทา ใหผ้ ้าทอเมอื งนา่ นมที ี่มาหลายแห่งดว้ ยกัน คณะผจู้ ัดทาจึงมคี วามสนใจที่จะศกึ ษาซนิ่ หรอื ผา้ ทอในเมืองน่าน เพอื่ อนุรกั ษ์และสืบตอ่ การทอผ้าให้กับคนรนุ่ ใหม่ เพราะในปจั จุบันนี้ไดร้ ับอทิ ธิพลจากชาติ ตะวนั ตกทาให้คนรนุ่ หลงั อาจจะหลงลมื ภมู ปิ ัญญาอนั งดงามในท้องถ่นิ
วตั ถปุ ระสงค์ของการทาโครงงาน 1.เพื่อศกึ ษาลวดลายผา้ ซน่ิ และวิธีทาลายผา้ ซนิ่ ในเมืองนา่ น 2.เพื่อศกึ ษาประเภทและลายของผา้ ซิ่น 3.เพื่ออนรุ ักษแ์ ละสืบสานภมู ิปัญญาในทอ้ งถนิ่ สมมตฐิ านของการศกึ ษา 1.ไดเ้ รียนรู้วิธกี ารทอผา้ ซน่ิ 2.ได้รู้จักประเภทและลวดลายของผา้ ซ่นิ 3.ได้แบ่งปันความรู้เกยี่ วกับผา้ ซิ่นใหแ้ ก่คนรุ่นใหม่ ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั คนรุ่นใหม่ได้ร้จู กั ผ้าซนิ่ และไดเ้ รยี นรูว้ ธิ ีการทดลอง เพอื่ นาไปตอ่ ยอดใน อนาคตและไมใ่ หภ้ มู ปิ ัญญาน้ีเลอื นหายไป
บทที่ 2 เอกสารอา้ งอิง ซิ่น (คาเมือง: คาเมอื ง: สน้ิ ; ลาว: ສິ້ ນ) เป็นผา้ น่งุ ของผู้หญงิ มีลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกนั ไป ตามทอ้ งถ่ิน ทง้ั ขนาด การน่งุ และลวดลายบนผนื ผ้า โดยมีการสวมใส่ในประเทศลาวและ ประเทศไทย โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคอสี านของไทย ผ้าซิ่นนับเป็นความภาคภมู ใิ จอยา่ งหน่ึงของหญงิ ไทย ในสมยั โบราณ การทอ ผ้าเปน็ งานในบา้ น ลูกผหู้ ญงิ มหี น้าที่ทอผา้ แมจ่ ะส่งั สอนใหล้ ูกสาวฝึกทอผา้ จนชานาญ แล้ว ทอผา้ ผืนงามสาหรับใช้ในโอกาสพิเศษ เชน่ งานแตง่ งาน งานบวช หรืองานบญุ ประเพณตี ่าง ๆ การนุ่งผา้ ซิ่นของผูห้ ญิงจึงเป็นเหมือนการแสดงฝมี อื ของตนใหป้ รากฏ ผา้ ซ่นิ ทที่ อได้ สวยงาม มฝี ีมอื ดี จะเป็นท่ีกล่าวขวญั และช่นื ชมอยา่ งกวา้ งขวาง และยงั เป็นการบง่ บอก ฐานะทางสังคม เช่น ผา้ ทอทมี่ ลี วดลายสวยงาม มีสสี ันและพศิ ดารนั้นมกั ใช้เฉพาะเจ้านายใน ราชสานัก หรือ คนทมี่ คี วามร่ารวย ส่วนผ้าซนิ่ ลายธรรมดาเรยี บงายสสี นั นอ้ ยมักใชใ้ นกลมุ่ ชาวบา้ นโดยทว่ั ไป ผ้าซิน่ ของไทยมักจะแบ่งไดเ้ ปน็ สองลกั ษณะ อยา่ งแรกคือ ผ้าซนิ่ สาหรบั ใช้ ทั่วไป มักจะไมม่ ีลวดลาย ทอดว้ ยผา้ ฝา้ ยหรอื ดา้ ยโรงงาน (ในสมยั หลัง) อาจใสล่ วดลายบ้าง เล็กนอ้ ยในเนอ้ื ผา้ อกี อย่างหนง่ึ ผ้าซนิ่ สาหรับใชใ้ นโอกาสพเิ ศษมักจะทอด้วยความประณตี เปน็ พเิ ศษ มีการใสล่ วดลาย สีสันงดงาม และใชเ้ วลาทอนานนับแรมเดอื น ขนาดและลกั ษณะของผ้าซ่ินนัน้ ขนึ้ กบั ฝมี ือ รสนยิ ม ขนบการทอในแตล่ ะ ทอ้ งถิน่ และยังข้นึ กบั ขนาดของก่ที อด้วย การทอผา้ ด้วยก่ีหนา้ แคบ จะไดผ้ ้าท่แี คบ ผ้าซน่ิ สาหรับใช้จรงิ จงึ ตอ้ งนามาตอ่ เป็นผืนใหก้ วา้ งขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม ผา้ ซ่นิ ในปัจจุบันจะทอด้วยก่ี หน้ากว้าง ไมต่ อ้ งตอ่ ผนื อยา่ งในสมัยโบราณอกี ต่อไป
สว่ นประกอบ ซิน่ แบบไทยวน hua sinh = หวั ซน่ิ (คาเมือง: หวั สน้ิ ) tua sinh = ตวั ซ่ิน (คาเมอื ง: ตั๋วสิ้น) และ tin sinh = ตนี ซ่นิ (คาเมอื ง: ตนี๋ ซนิ่ ) 1.ผา้ ซนิ่ สว่ นมาก มโี ครงสร้างคลา้ ยกนั คอื ประกอบด้วย 3 สว่ นหลกั ไดแ้ ก่ 2.หัวซิ่น เป็นสว่ นบนสุดของซ่นิ ไม่นยิ มทอลวดลาย บางแหง่ ใชผ้ ้าขาวเย็บเป็นหัวซนิ่ และ เหน็บพกไว้ มองไม่เห็นจากภายนอก 3.ตวั ซ่ิน เป็นสว่ นหลักของซ่ิน อาจมกี ารทอลวดลายบ้างเล็กน้อยในลกั ษณะของลวดลายท่ี กลมกลืน ไม่ใช่ลายเดน่ มกั เปน็ สเี ดยี วตลอด 4.ตีนซิ่น เป็นสว่ นสุดของซิน่ ในบางทอ้ งถ่ินนยิ มทอลวดลายเป็นพิเศษ สาหรับตีนซ่ิน โดยเฉพาะ แคบบา้ ง กวา้ งบา้ ง เชน่ ซน่ิ ตีนจก ขณะท่ซี นิ่ ของชาวอสี าน จะใส่ตีนซน่ิ แคบ ๆ ผ้าซนิ่ ในเขตภาคเหนอื ของประเทศไทย ในเขตภาคเหนอื ของประเทศไทย ชาวลา้ นนาก็เรยี กผา้ นงุ่ สาหรบั ผู้หญิงวา่ \"ซิ่น/สน้ิ \" (คาเมือง: , สนิ้ ) เช่นกนั ผ้าซน่ิ คอื ผ้าท่เี ยบ็ เปน็ ถงุ สาหรับผหู้ ญิงนงุ่ จะมีขนาด สนั้ ยาวและกวา้ งแคบตา่ งๆกนั ไป ขน้ึ อยกู่ ับรปู ร่างของผู้นุ่ง และวธิ ีการนุง่ นอกจากนย้ี งั ขึ้นอยู่กบั โอกาส เวลา และสถานท่ี ตลอดจนอาจจะเปล่ยี นแปลงตามความนิยมในแตล่ ะยคุ สมัยด้วย โครงสรา้ งของผ้าซ่นิ โดยทั่วไป จะประกอบดว้ ย 3 ส่วน คอื สว่ นเอวหรอื หวั ซนิ่ สว่ นตวั ซิน่ และสว่ นตีนซ่ิน สาหรับผ้าซ่นิ ที่ใช้นุ่งในโอกาสพิเศษ เช่น ในพิธีกรรม ในงาน ทาบุญท่วี ัด จะตอ่ ตีนซนิ่ ด้วยผ้าทอพิเศษด้วยเทคนคิ การ “จก” มกี ารตกแต่งลวดลายงดงาม กวา่ ปกติ เรียกว่า \"ผา้ ซน่ิ ตนี จก\" (คาเมอื ง: , ผา้ สิน้ ต๋ีนจก๋ ) ลวดลายของซิ่นตนี จก นั้นมคี วามหลากหลายสงู มากตามทอ้ งถิ่น แต่โดยรวมแลว้ ลวดลายทง้ั หมดล้วนไดแ้ นวคิดมา จาก \"ธรรมชาตริ อบตวั \" \"คติความเช่อื \" และ \"พทุ ธศาสนา\" ผา้ ซนิ่ ตีนจกในเขตภาคเหนอื
บทที่ 3 วิธีการดาเนินโครงงาน ในการจดั ทาโครงงานการศึกษาซิน่ ในเมืองนา่ นผ้จู ดั ทามีวัตถุประสงค์เพอ่ื เพิม่ พนู ความรู้และประสบการณ์ในการเรยี นรเู้ รอ่ื งผา้ ซิ่นในเมอื งนา่ น และเปน็ การสืบสาน วฒั นธรรมท้องถนิ่ ใหค้ นรุ่นใหม่ได้เรยี นรู้และอนรุ ักษณ์สิ่งทสี่ วยงามทใี่ หอ้ ยสู่ บื ไป ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ 1.รวบรวมขอ้ มลู พืน้ ฐานของผ้าซิ่นในเมอื งน่าน -ประวตั ิความเป็นมาของผา้ ซน่ิ นันทบรุ ศี รีนครนา่ นหรอื เมอื งน่านเมอื งงามแห่งล้านนาตะวันออก เปน็ เมือง ประวัตศิ าสตรเ์ มอื งหน่งึ ซึ่งในอดีตเป็นนครรัฐขนาดเลก็ รมิ แม่นา้ นา่ น ถกู โอบลอ้ มไวด้ ้วย ขนุ เขาผปี ันนา้ และขนุ เขาหลวงพระบางคนเมอื งน่านเลา่ เรือ่ งราวในอดตี ของตนเองผา่ น ตานานพนื้ บ้านและคัมภีร์ใบลานดว้ ยอกั ษรธรรมล้านนาน่านมอี ายเุ ก่าแก่พอกบั กรุงสุโขทยั สนั นิษฐานว่าสรา้ งราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ “พญาภคู า” ได้สร้างขนึ้ ในบริเวณทร่ี าบทาง ตอนบนเขตตาบลศลิ าเพชร หรืออาเภอปวั ในปจั จบุ นั จากหลักฐานทางโบราณคดี นา่ นเคย เป็นชมุ ชนโบราณทมี่ อี ายเุ กา่ แกเ่ นือ่ งจากมกี ารขุดพบเคร่อื งมือหินกรวดขนาดใหญ่ทเี่ สาดนิ นานอ้ ย ซ่งึ จัดเปน็ เคร่ืองมือหนิ เก่าใชเ้ ทคโนโลยแี บบด้งั เดมิ ท่ีสดุ รวมทั้งยังเปน็ ศนู ยก์ ลาง การค้ามาแตอ่ ดตี เพราะมที รพั ยากรทสี่ าคญั คอื เกลอื และการหลักฐานทางด้าน สถาปัตยกรรม จติ รกรรม ศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนยี ม วิธชี ีวติ ของชาวนา่ นไดส้ ะทอ้ นให้ เหน็ การผสมผสานทง้ั กรงุ สโุ ขทยั ลา้ นนา ลา้ นช้าง (หลวงพระบาง) สบิ สองปันนา พกุ าม อย่างกลมกลืน สาหรับผ้าทอพน้ื เมืองน่านน้ัน มที ้ังผา้ ทที่ อขน้ึ โดยชาวพ้ืนเมอื งเมอื งน่านดัง้ เดมิ และ ผา้ ทอพืน้ เมืองทม่ี าจากแหล่งอื่น สบื เนอ่ื งมาจากความสมั พันธท์ างการเมอื ง และการอพยพ
โยกย้ายถน่ิ ของผู้คนภายหลงั การสงครามจากหวั เมอื งชายพระราชอาณาเขต เข้ามาเป็นไพร่ พลเมอื งของเมืองนา่ น ระหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 10-25 กลุ่มชนเผา่ ทสี่ าคญั ได้แก่ ไทลอ้ื และ ชาวไทยภเู ขาเผ่าต่างๆ ผา้ พ้ืนเมอื งนา่ นดั้งเดมิ ได้แก่ ผ้าพนื้ ผ้าขาวม้า ถุงย่าม (ลายขาวดา) ผา้ หม่ (ผา้ ตาแสง หรอื ผ้าตาโกง้ ) ผ้าลายคาดกา่ นแบบนา่ น ผ้าพ้ืนเมือง จากแหล่งอ่ืน เช่น ผ้าตนี จกจากเมอื งพิชยั ซน่ิ มา่ น ซ่ินเชียงแสนจากเชียงตงุ ผา้ ลายลอ้ื จากเมืองเงนิ เมอื งคง เมอื งฮุน เมอื งลา้ และสบิ สองปนั นา ผ้าไหมซิ่นลาวจากเมอื งหลวงพระบางและเวยี งจันทร์ ซิ่นกา่ นคอควาย และซน่ิ ตามะนาวจากแพร่ ซน่ิ ลายขวางจากเมอื งเชยี งใหม่ เป็นตน้ กลุม่ ชนทอ่ี าศัยอยู่ในจังหวดั น่านมีทง้ั ชนชาตไิ ท ชาวไทยภูเขา ทอี่ าศยั อยู่เดมิ และได้ อพยพมาจากลา้ นช้าง สบิ สองปันนา สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ได้แก่ ไทยวน หรือไทยโยนก ไทลอ้ื ถน่ิ (ลัวะ) ขมุ มง้ (แม้ว) เยา้ (เมย่ี น) และมลาบรี (ผีตองเหลอื ง) จึงทา ให้ผา้ ทอเมอื งนา่ นมีทีม่ าหลายแหง่ ด้วยกัน ผ้าทอเมอื งนา่ นเปน็ ผ้าทที่ อจากฝา้ ย ในอดีตนนั้ จะใชฝ้ า้ ยทม่ี ีในท้องถ่ิน โดยเรม่ิ จาก การปลกู ฝา้ ย และเขา้ สขู่ บวนการผลติ เปน็ เสน้ ดา้ ย โดยภูมปิ ญั ญาของทอ้ งถิ่นท้ังหมด รวมทัง้ กรรมวิธยี ้อมสีธรรมชาติ เช่น สดี าจากผลมะเกลอื สแี ดงจากครง่ั สเี หลืองจากขมิน้ แก่นขนุนและสีนา้ ตาลได้จากเปลือกต้นสนุ เปน็ ต้น การสืบทอดทางวฒั นธรรม พบวา่ ผทู้ ี่มี อาชพี ทอผา้ สว่ นใหญส่ บื เชื้อสายมาจากชาวไทยลือ้ โบราณ 2.ศึกษาลวดลายและประเภทของผา้ ซ่ิน -ลวดลายของซ่นิ เมอื งนา่ น ลวดลายผา้ เมอื งนา่ นจะเลยี นแบบจากธรรมชาติ และลายเรขาคณติ ซ่ึงลกั ษณะการทอ จะมี 3 ประเภท 1) ลายล้วง หมายถึง ผ้าลายในเนอ้ื เกดิ จากการใชม้ อื จับเสน้ ด้าย หรอื ไหมตา่ งสีสอด (ลว้ ง) ใหเ้ กดิ ลายทีต่ ้องการขณะทท่ี อ มชี อ่ื ลายเรยี กต่างกันออกไป เชน่ ลายใบมดี ลายน้า ไหล ลายดอกไม้ ลายธาตุ ลายปู และลายจรวดทพี่ ฒั นาข้นึ ในระยะหลงั เป็นตน้
2) ลายเกบ็ มุก มวี ธิ ที อทส่ี ลบั ซับซอ้ นกวา่ ลายธรรมดา คลา้ ยวธิ ีทที่ าลายขิดภาคอสิ าน ชา่ งทอจะเก็บลายที่ตอ้ งการไวก้ อ่ นดว้ ยไม้ตา่ งขนาด คล้ายกับการสานเสอ่ื เมอื่ ถึงเวลาทอจึง ใช้เส้นดา้ ยพุ่งไปแทนท่ีไมเ้ ก็บมกุ ทเี่ กบ็ ลายไว้ ลวดลายมหี ลายชนดิ ด้วยกัน คือ ลายดอกไม้ เชน่ ลายดอกจันทร์แปดกลบี ดอกแกว้ ดอกมะเฟอื ง ดอกกหุ ลาบ ดอกหมาก ดอกเปา (เตง็ รัง) ผักกูด และขา้ วลบี ฯลฯ ลายของใช้ เชน่ ลายโดม ผาสาท (ปราสาท) ลายสัตว์ เชน่ ลายนก นกกินน้าต้น (คณโฑ) พญานาค นาคชน นาคหวัน (กระหวัด) ชา้ ง ช้างตา่ งม้า ม้าตา่ งหงส์ กระต่าย ฯลฯ ลายเรขาคณิต เชน่ ลายเส้นตรง ลายเหลี่ยม สเ่ี หลยี่ มผนื ผา้ สีเ่ หลย่ี มขนมเปียกปนู ขอ นอ้ ย ขอลวง ขอเหลยี ว ฯลฯ ลายอ่นื ๆ เชน่ ลายกาบ กาบหลวง กาบซอ้ น เขีย้ วหมา (ลายยอด) รวมทงั้ ลายลือ้ ชนิด ต่างๆ 3) ลายคาดกา่ น วธิ ีทาคล้ายกบั \"มัดหมี่อสิ าน\" คอื มดั ย้อมลายทตี่ อ้ งการอย่างง่ายๆ ด้วยเชือกกล้วยลวดลายท่สี าคัญได้แก่ ลายก่านแบบดงั้ เดิม คาดกา่ นนา้ ไหล และคาดกา่ น ชนิดลายประดิษฐ์ ฯลฯ 3.เรยี นรวู้ ิธกี ารทอผ้าซน่ิ -วธิ กี ารทอผ้า ปัจจุบัน ถึงแม้ว่ายงั ไมม่ หี ลกั ฐานทแี่ นช่ ัดบ่งบอกถงึ ต้นกาเนดิ ของการ ทอผา้ แตก่ ส็ ามารถ เทียบเคยี งกบั หลกั ฐานอ่ืน ๆ ซ่งึ มคี วามคลา้ ยคลึงกันโดยมเี หตผุ ลหลายอยา่ งสนบั สนนุ แนวคิดท่วี า่ การทอผา้ มีววิ ัฒนาการมาจากการทาเชอื ก ทอเสอ่ื และการจักสาน โดยเฉพาะ อยา่ งย่ิงลายเชือกทาบทปี่ รากฎ ร่องรอยใหเ้ ห็นบนภาชนะดนิ เผา ซงึ่ พบเปน็ จานวนมากตาม แหล่งโบราณคดีกอ่ นประวตั ิศาสตร์สมยั หนิ ใหมเ่ ร่ือยมาจนถงึ แหลง่ โบราณคดสี มัย
ประวัติศาสตร์ ด้วยเหตนุ ้เี อง จงึ กล่าวได้วา่ การทอผา้ เป็นงานหตั ถกรรมทเี่ กา่ แก่ที่สดุ ในโลก งานหนงึ่ หลักของการทอผา้ กค็ อื การทาให้เสน้ ด้ายสองกลมุ่ ขดั กนั โดยทง้ั สอง พวกต้งั ฉาก กนั เสน้ ด้ายกล่มุ หน่ึงเรยี กวา่ ดา้ ยยืน และอีกกลุม่ หนึ่งเรยี กว่า ดา้ ยพุ่ง ลกั ษณะของการ ขดั กนั ของดา้ ยพ่งุ และดา้ ยยืน จะขดั กันแบบธรรมดาท่เี รยี กวา่ ลายขัดหรอื อาจจะเพม่ิ เทคนิค พิเศษเพือ่ ให้ผา้ มีลวดลายสสี นั ท่ีสวยงามแปลกตา ขัน้ ตอนในการทอผา้ 1. สบื เส้นดา้ ยยนื เข้ากบั แกนมว้ นด้ายยืน และร้อยปลายด้ายแตล่ ะเสน้ เข้าในตะ กอแต่ละ ชดุ และฟันหวดี ึงปลายเส้นด้ายยืนท้ังหมดมว้ นเขา้ กับแกนม้วนผา้ อีกดา้ นหนึง่ ปรับความตึง หย่อนใหพ้ อเหมาะกรอด้ายเขา้ กระสวยเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ดา้ ยพุ่ง 2. เร่ิมการทอโดยกดเครือ่ งแยกหมตู่ ะกอ เสน้ ดา้ ยยนื ชดุ ที่ 1 จะถกู แยก ออกและเกิด ช่องวา่ ง สอดกระสวยดา้ ยพงุ่ ผา่ นสลบั ตะกอชุดที่ 1 ยกตะกอชดุ ท่ี 2 สอดกระสวยดา้ ยพุง่ กลบั ทาสลับกันไปเรอ่ื ย ๆ 3. การกระทบฟันหวี (ฟมื ) เม่อื สอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบฟนั หวี เพอื่ ใหด้ า้ ยพุ่ง แนบตดิ กนั ได้เนอื้ ผ้าทแ่ี น่นหนา 4. การเกบ็ หรือมว้ นผา้ เม่ือทอผา้ ไดพ้ อประมาณแลว้ กจ็ ะมว้ นเกบ็ ในแกนม้วนผา้ โดยผอ่ น แกนดา้ ยยนื ให้คลายออกและปรับความตงึ หย่อนใหม่ ใ่ หพ้ อเหมาะ ข้ันตอนการทอผา้ มดี ังนี้ 1. ปลูกฝา้ ยในเดอื นแปด เดือนเกา้ เกบ็ ฝ้ายในเดอื นเกีย๋ งถงึ เดอื นยี่ 2. เก็บเอาฝ้ายมารวมกนั นามาตาก แลว้ เอาสง่ิ ทป่ี นมากับฝ้ายออก 3. นามาอดี ฝา้ ย คอื เอาเมล็ดของฝา้ ยออก เหลอื เฉพาะยวงฝา้ ย 4. นายวงฝา้ ยมา “ปดฝา้ ย” คอื ทาใหฝ้ า้ ยกระจายตัว ในเข้ากนั ได้ดี 5. นามา “ฮา” คอื พันปน็ หางฝา้ ย 6. นาฝา้ ยทีไ่ ด้มาปั่นด้วยเครื่องปั่นฝ้าย(ทาฝา้ ยจากที่เป็นหางใหเ้ ป็นเสน้ ฝา้ ย) 7. นามา “เปฝ๋ ้าย” คอื นาเส้นไหมทไ่ี ด้จากการปนั่ ฝ้ายมาทาเปน็ ตอ่ ง (ไจ)
8. นาตอ่ งฝา้ ยมา “ป้อ”(ทบุ ) ฝา้ ย แชน่ ้า 2 คืน ตอ่ มานามานวดกับนา้ ข้าว(ข้าวเจ้า) ผ่ึง ไว้ใหแ้ ห้ง 9. นาเส้นฝา้ ยทไี่ ดม้ า “กวกั ฝา้ ย” 10.นามา “ฮว้ น” (เดนิ เสน้ ) กับหลกั เสา 11.นาไปใส่ก่ี แลว้ นาไปสืบกับ “ฟืม “ 12.ฝา้ ยทเ่ี หลอื จากการใสก่ ี่ นามาป่นั ใสห่ ลอด แลว้ เอาหลอดฝ้ายใสส่ วยทอ(กระสวยทอ ผ้า) 4.ตรวจสอบขอ้ มลู ที่ไดร้ บั มาเพอ่ื ความถกู ตอ้ ง 5.นาไปเผยแพรห่ รอื นาเสนอ
บทที่ 4 ผลการศึกษา ไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั ประวตั ิความเป็นมาของซ่ินในเมืองน่านและในจงั หวัดอ่นื ๆ ทราบถึง ลวดลายของซิ่นมี3 ลาย และประเภทของซ่นิ วา่ มีอะไรบา้ ง ยังรูเ้ ก่ยี วกับวิธกี ารทอฝา้ ยจนไป ถึงการทอผ้าซ่ินทาให้เกิดลวดลายอันสวยงาน ซงึ่ เป็นภมู ปิ ญั ญาท่ีสืบสานมาแตอ่ ดตี จน ปจั จุบนั ทาใหล้ ูกหลายได้สืบต่อเรอ่ื นรู้มใิ หส้ ิง่ สวยงามนเี้ ลอื นหายไป
บทท่ี 5 สรปุ ผลการศกึ ษา สรุปผลการศึกษา จากการทาโครงงานเรอ่ื งการศกึ ษาลายผา้ ซ่ินในเมอื งนา่ น คณะผ้จู ดั ทาและ ผทู้ ีต่ อ้ งการศกึ ษา มคี วามพงึ พอใจในเนื้อหาสาระเป็นอยา่ งมาก และมคี วามรูใ้ นเรอื่ ง เกี่ยวกับลายผา้ ซิ่นมากยิ่งขึ้น อกี ทั้งยงั สามารถ นาความรทู้ ไ่ี ด้ไปใชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ ใน ชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากนย้ี ังไดร้ ับความพงึ พอใจในความเหมาะสม ท่ี จัดเป็นสื่อการเรยี น ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากโครงงาน คนรุ่นใหม่ได้รจู้ กั ผ้าซน่ิ และไดเ้ รียนรู้วธิ กี ารทดลอง เพอื่ นาไปตอ่ ยอดใน อนาคตและไม่ให้ภูมปิ ัญญานีเ้ ลอื นหายไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: