Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore fertilize

fertilize

Published by JIRAJAN KONTHA, 2018-08-16 23:00:07

Description: fertilize

Keywords: fertilization

Search

Read the Text Version

หน้าทขี องรก1. ทาํ หน้าทแี ทนระบบหายใจ คอื การแลกเปลยี นก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์2. ทาํ หน้าทขี ับของเสีย3. ทาํ หน้าทขี นส่งอาหาร4. ทาํ หน้าทถี ่ายทอดภูมคิ ้มุ กนั โรคจากมารดาสู่ทารก ในรูป IgG เช่น บาดทะยกั หดั คางทูม คอตบี และโปลโิ อ5. ผลติ ฮอร์โมน ได้แก่ - HCG สามารถตรวจได้ตงั แต่ 8-10 วนั หลงั ปฏสิ นธิ - HCS หรือ HPL เป็ นฮอร์โมนทเี กยี วกบั การเจริญเตบิ โตของทารกในครรภ์และการ เจริญของต่อมนาํ นมในหญิงตงั ครรภ์ - Estrogen กระต้นุ การเจริญเตบิ โตของมดลูก และพฒั นาท่อนาํ นมให้เหมาะสมกบั การสร้างนาํ นม เริมสร้างในสัปดาห์ที 6-12 - Progesterone ช่วยในการฝังตวั ของไซโกตลดการหดรัดตวั ของมดลูก เริมสร้างตงั แต่ สัปดาห์ที 7 และสร้างทดแทนเตม็ ทใี นสัปดาห์ที 11

การพฒั นาของสายสะดอื สายสะดอื เจริญมาจาก Body stalk ซึงเป็ น Cytotrophoblast ทยี ดึ ระหว่างEmbryo และ Trophoblast ยาวประมาณ 30-100 ซม. ค่าเฉลยี 50 ซม. สีขาวเทา หมุนเป็ นเกลยี วประกอบด้วยเส้นเลอื ด umbilical arteries มี 2 เส้น และ umbilical vein 1 เส้น

การพฒั นาของเยอื หุ้มทารกเยอื หุ้มทารกเป็ นแผ่นเยอื ทหี ่อหุ้มทารกและนําครําไว้ ประกอบด้วยเยอื 2 ชัน คอื 1. เยอื หุ้มทารกชันนอก (Chorion) เป็ นเยอื หุ้มทารกชันทตี ดิ กบั โพรงมดลูก ซึงเจริญมาจาก Chorion leave ของ Trophoblast ในสัปดาห์ที 12-16 2. เยอื หุ้มทารกชันใน (Amnion) เป็ นเยอื หุ้มทารกชันในทตี ดิ กบั นําครําและทารกเกดิ จากการแยกชันออกมาของ Cytotrophoblastหลงั จากไข่มกี ารปฏสิ นธไิ ด้ 5 วนั มลี กั ษณะเป็ นถุงใสบาง แต่เหนยี ว

การพฒั นาของเยอื หุ้มทารก2. เยอื หุ้มทารกชันใน (Amnion) ถุงแผ่นเยอื (mebranous sac) ทหี ่อหุ้มตวัอ่อน มลี กั ษณะเป็ นแผ่นเยอื บาง ๆ เป็ นเยอื หุ้มทารกชันในทตี ดิ กบั นาํ ครําและทารกเกดิ จากการแยกชันออกมาของ Cytotrophoblastหลงั จากไข่มกี ารปฏิสนธไิ ด้ 5 วนั มีลกั ษณะเป็ นถุงใสบาง แต่เหนยี ว Amnion ประกอบด้วย ectoderm และextraembryonic somatic mesoderm

การพฒั นาของนําครํา @ ในวนั ที 12 หลงั การปฏิสนธิ นาํ ครําถูกสร้างขึนพร้อมกบั การก่อตวั ของAmniotic cavity @ ลกั ษณะของนําครํา คอื ใส ปราศจากสี มสี ่วนประกอบคล้ายพลาสมาของมารดาเป็ นด่างอ่อนๆ (PH ประมาณ 7-7.5) ระยะใกล้ครบกาํ หนดคลอดจะมนี าํ ครําประมาณ 1,000 มล.



หน้าทขี องนาํ หล่อเดก็1. ช่วยให้มกี ารเคลอื นไหวได้สะดวก2. ควบคุมอณุ หภูมริ ่างกาย3. ป้ องกนั แรงกระทบภายนอก4. เป็ นแหล่งให้อาหาร5. ช่วยให้มกี ารเปิ ดขยายของ ปากมดลูก

การพฒั นาระบบต่างๆ ของทารกในครรภ์



การไหลเวยี นเลอื ดของทารกในครรภ์ (Fetal circulation) Umbilical vein  Hepatic vein Ductus venosusPortal veinSVC IVC + เลอื ดจาก IVC เลก็ น้อย Rt. Atrium tricuspid valve Foramen ovale Rt. Ventricle Lt. Atrium Lt. Ventricledescending aorta Pulmonary arteryDuctus arteriosus ปอด Ascending aorta+descend

ระบบทางเดนิ หายใจ สัปดาห์ที 4 ระบบหายใจเริมพฒั นา เริมจากพฒั นาการของหลอดลม (Trachea) กล่องเสียง (Larynx) และปอด ต่อมาจะสร้างหลอดลมฝอย (Bronchi) และถุงลมปอด (Alveoli) จนเพยี งพอ เพอื แลกเปลยี นก๊าซในปอดภายในสัปดาห์ที 26 สัปดาห์ที 23-24 เริมมกี ารสร้างสารลดความตงึ ผวิ (Surfactant) ปกคลุมผวิ ของ ถุงลมปอด เพอื ลดความตงึ ผวิ ภายในถุงลมปอด ระบบทางเดินอาหาร สัปดาห์ที 4 ระบบทางเดนิ อาหารเริมพฒั นา มกี ารพฒั นารูปร่างและขนาดให้คล้ายปกติ สัปดาห์ที 12-13 ทารกในครรภ์เริมมกี ารดูดกลนื นําครํา เมอื ทารกครบกาํ หนดจะดูดกลนื นําครําประมาณ 450-500 มล./วนั สัปดาห์ที 16 ระบบย่อยอาหารเริมทาํ งาน เริมมขี เี ทา

ระบบประสาท สัปดาห์ที 3 จะเริมปรากฏให้เหน็ บริเวณทจี ะพฒั นาเป็ นสมอง ไขสันหลงั และเซลล์ประสาท สัปดาห์ที 4 Neural fold จะเชือมตดิ ต่อกนั เป็ น Neural tube จะเจริญไปเป็ น CNSNeural crest จะอยู่ระหว่าง Neural tube และ ectoderm จะเจริญไปเป็ น Peripheralnervous sysyem สัปดาห์ที 10-18 มกี ารสร้างจาํ นวนเซลล์เท่ากบั ของผ้ใู หญ่ ระบบทางเดินปัสสาวะ สัปดาห์ที 5 เริมมองเหน็ ไต สัปดาห์ที 12 เริมมกี ารสร้างนําปัสสาวะ สัปดาห์ที 16 เริมถ่ายปัสสาวะได้ nephron สามารถขับของเสียผ่าน glomerulus ได้ เมอื ทารกอายุครรภ์ 30 สัปดาห์ จะขบั ปัสสาวะได้ประมาณ 10 มล./ชม. และเมอื อายุครรภ์ครบกาํ หนดทารกจะขับปัสสาวะประมาณ 27 มล./ชม.หรือ 650 มล./วนั

อวยั วะสืบพนั ธ์ุ สัปดาห์ที 5 ระบบสืบพนั ธ์ุเริมพฒั นา แต่ยงั เหมอื นกนั ทงั 2 เพศอยู่ สัปดาห์ที 12 จะสามารถแยกเพศหญิงและเพศชายได้ โดยเพศชายถูกควบคุมโดยY chromosome ซึงมอี ทิ ธิพลต่อการพฒั นาการของอณั ฑะ และกล่มุ ทไี ม่มี Y chromosomeจะเป็ นเพศหญงิ และมกี ารพฒั นาเป็ นรังไข่

ระบบกล้ามเนือและกระดูกพฒั นามาจาก Mesoderm จะเจริญไปเป็ น MesenchymeMyoblast FibroblastChondroblast OsteoblastWks. ที 4 เริมมพี ฒั นาการของกระดูกสันหลงั ปลาย Wks. ที 4เริมมสี ่วนของแขนขาเกดิ ขึนปลาย Wks. ที 8 จะมีแขนและขาครบ

การกระตุน้ พฒั นาการของทารกในครรภ์ อายคุ รรภ์ 20 สัปดาห์ขึนไป การไดย้ นิ ของทารกจะมีการพฒั นาเตม็ ที 1.การใชเ้ สียงดนตรี แนวทางปฏิบตั ิ ใหเ้ ปิ ดเทปเพลงบรรเลงเยน็ ๆ ใหแ้ ม่และทารกใน ครรภฟ์ ังไปพร้อมกนั เปิ ดเพลงวนั ละครัง ครังละ 10-15 นาที ก็เพียงพอ แลว้ ถา้ เปิ ดซาํ บ่อยๆทารกจะคุน้ ชินและจดจาํ เพลงได้ หลงั คลอดเมือเปิ ด เพลงเดิมนนั อีก จะช่วยใหท้ ารกไม่ร้องกวนและหลบั ง่ายขึน เนืองจาก ความเคยชินต่อเสียงเพลงนีตงั แต่อยใู่ นครรภ์



การกระตุน้ พฒั นาการของทารกในครรภ์ 2. เสียงพดู คุยของมารดา พฒั นาเซลลป์ ระสาทส่วนรับการไดย้ นิ และ ภาษาทางออ้ ม แนวทางปฏิบตั ิ ใชก้ ระดาษหนงั สือพมิ พพ์ บั เป็นรูปปากกรวย ปลายส่วน ทีแคบเป็นทางเขา้ ของเสียงแม่ ส่วนปลายกวา้ งไวจ้ ่อบริเวณหนา้ ทอ้ ง เพอื ใหท้ ารกรับฟัง หรือใชเ้ ครืองมือพูดคุยกบั ทารกในครรภท์ ีเรียกวา่ Infant Phone ซึงมีปลายหนึงไวใ้ หม้ ารดาพดู ส่วนอีกปลายหนึงไวค้ รอบ ทีหนา้ ทอ้ ง บริเวณใกลศ้ ีรษะของทารกในครรภก์ ็ได้ โดยแม่อาจเล่า นิทานหรือร้องเพลงกล่อมทารกบ่อยๆ เพอื ใหท้ ารกชินกบั นิทานหรือ เพลงขบั กล่อมนนั ๆ ตงั แต่ในครรภ์ เมือคลอดแลว้ มารดาสามารถนาํ นิทาน หรือเพลงขบั กล่อมนนั มาช่วยทาํ ใหท้ ารกสงบและหลบั ง่ายขึน



การกระตุน้ พฒั นาการของทารกในครรภ์ 3.ระบบรับความรู้สึกและการเคลือนไหว แนวทางปฏิบตั ิ ใหแ้ ม่ลูบหนา้ ทอ้ ง และนงั โยกบนเกา้ อีไดต้ งั แต่ ทราบวา่ ตงั ครรภ์ ถึงแมว้ า่ ในช่วงนีทารกยงั ไม่สามารถรับรู้ แต่แม่จะ รู้สึกผอ่ นคลาย ขณะนงั เล่นบนเกา้ อีโยก และรู้สึกผกู พนั กบั ทารกขณะ ลูบหนา้ ทอ้ งตวั เอง จนเมืออายคุ รรภ์ 5 เดือนขึนไป ระบบประสาทการ เคลือนไหวของทารกจะมีความพร้อมต่อการรับรู้การสมั ผสั ของแม่ รวมถึงการสัมผสั นาํ อุ่น นาํ เยน็



การกระตุน้ พฒั นาการของทารกในครรภ์ 4.ระบบการมองเห็น ทารกจะพฒั นาเต็มที และรับรู้ผา่ นการมองเห็นไดเ้ มืออายุครรภ์ 28 สปั ดาห์ขึนไป ทางการแพทยจ์ ะใชแ้ สงสวา่ งส่องผา่ นเขา้ ไปถึงทารกใน ครรภท์ างหนา้ ทอ้ งส่วนล่างของแม่ ส่องขณะลูกตืน

จบแลว้ ค่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook