Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 34-อธิปดี บุญกาญจน์-ปวช 1-4 จริยธรรมคอมพิวเตอร์

34-อธิปดี บุญกาญจน์-ปวช 1-4 จริยธรรมคอมพิวเตอร์

Published by soninlow123, 2021-08-06 10:34:10

Description: การสร้างเอกสาร E-book

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 7 จริยธรรมกบั ความรับผิดชอบ เน่ืองจากสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT : Information Technology ) และระบบสารสนเทศ ( IS : Information ) ในโลกยคุ ปัจจุบนั เริ่มเขา้ มามีบทบาทเป็ นอยา่ งมากในการดาเนินชีวติ ของมนุษย์ โดยเฉพาะ ในเชิงธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่องการเงิน การลงทุน และการคา้ ระหวา่ งประเทศ ตลอดจนการศึกษาและบริการ ต่างๆ ก็ตาม สิ่งเหล่าน้ีลว้ นแลว้ แต่อาศยั เทคโนโลยีสารสนเทศในอานวยความสะดวกแทบท้งั สิ้น เพราะ สามารถประหยดั เวลา ประหยดั ตน้ ทุน มีความรวดเร็ว และสามารถเช่ือมน่ั ในความถูกตอ้ งแมน่ ยาของขอ้ มูล ไดเ้ ป็ นอย่างดี หลายองค์กรได้ยอมรับและใช้เป็ นมาตรฐานในการช้ีความน่าเชื่อถือ โดยเฉพาะในกลุ่ม ประเทศที่พฒั นาแลว้ เช่น สหรัฐอเมริกา องั กฤษ กลุ่มประเทศในแทบยโุ รป อยา่ งไรก็ดี ความเหล่ือมล้ากนั ทางเทคโนโลยไี ม่วา่ จะดว้ ยปัจจยั ใดก็ตาม ทาใหเ้ กิดช่องวา่ งระหวา่ ง การรับรู้และการเขา้ ถึงข่าวสารของผมู้ ีข่าวสารและผไู้ ร้ข่าวสาร หรือท่ีเรียกกนั วา่ “Digital Devide” ความไม่ เท่าเทียมกนั ของโอกาสในการเขา้ ถึงเทคโนโลยีเหล่าน้ีส่งผลถึงการละเมิดสิทธิต่าง ๆ มากมาย อาจจะดว้ ย ความต้งั หรือไม่ต้งั ใจท่ีจะทาก็ตาม ส่ิงหน่ึงที่ตอ้ งทาควบคู่กนั ไปกบั การแกป้ ัญหา คือการป้องกนั โดยการ เสริมสร้างจริยธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์ ส่งเสริมใหท้ ุกคนไดเ้ รียนรู้ละเห็นคุณค่าของปัญหาท่ีจะเกิดข้ึน ท้งั โดยตนเองและส่วนรวม ความหมายของจริยธรรม (Ethics) จริยธรรม จากพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึงธรรมที่เป็ นขอ้ ประพฤติ ปฏิบตั ิศีลธรรมและกฎศีลธรรม จากการสัมมนาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติได้สรุปนิยามไวว้ ่าจริยธรรมคือ แนวทางประพฤติปฏิบตั ิตน เพือ่ การบรรลุถึงสภาพชีวติ อนั ทรงคุณค่าพึงประสงค์ โดยทวั่ ไปจริยธรรมมกั อิงอยกู่ บั ศาสนาท้งั น้ีเพราะคาสอนทางศาสนามีส่วนสร้างระบบจริยธรรมให้ สังคม แต่ท้งั น้ีไม่ได้หมายความว่าจริยธรรมอิงอยู่กับหลักคาสอนทางศาสนาเพียงอย่างเดียวแท้ที่จริง จริยธรรมหยง่ั รากอยู่บนวฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและโดยนัยน้ีบางท่านเรียกหลกั แห่งความ ประพฤติอนั เน่ืองมาจากคาสอนทางศาสนาวา่ ศีลธรรม และเรียกหลกั แห่งความประพฤติอนั พฒั นามาจาก แหล่งอื่นวา่ จริยธรรม

คาว่า Ethics ในภาษาองั กฤษมี 2 ความหมายดงั นี้ ความหมายแรกคือจริยธรรม (Ethics) หมายถึงประมวลกฎหมายท่ีกลุ่มชนหรือสงั คมหน่ึง ๆ ยอมรับ เป็นแนวควบคุมความประพฤติเพ่อื แยกแยะใหเ้ ห็นวา่ อะไรควรหรือไปกนั ไดก้ บั การบรรลุวตั ถุประสงค์ ของ กลุ่ม Ethics ที่ใชใ้ นความหมายน้ีเป็ นอนั เดียวกบั จริยธรรมเช่น Medical Ethics (จริยธรรมทางการแพทย)์ ซ่ึง ตรงกบั ความหมายของ Medical Ethics ในภาษาองั กฤษวา่ The rules or principles governing the professional conduct of medical practitioners. ความหมายที่สองของ Ethics เป็ นความหมายท่ีใช้ในภาษานกั ปรัชญาและ Ethics ในความหมายน้ี แปลเป็ นไทยวา่ จริยศาสตร์พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใ้ ห้ความหมายของจริยศาสตร์ ไวว้ ่าปรัชญาสาขาหน่ึงว่าดว้ ยการแสวงหาความ ดีสูงสุดของชีวิตมนุษยแ์ สวงหาเกณฑ์ในการตดั สินความ ประพฤติของมนุษยว์ า่ อะไรถูกอะไรผดิ หรืออะไรควรอะไรไมค่ วร คาวา่ จริยธรรม อาจมีผูร้ ู้ให้คาอธิบายแตกต่างกนั ออกไปตามสาขาวิชา แต่โดยสรุปแลว้ จริยธรรมก็ คือกฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษยซ์ ่ึงเกิดข้ึนจากธรรมชาติของมนุษยเ์ อง ไดแ้ ก่ ความเป็ นผูม้ ีปัญญาและ เหตุผลหรือปรีชาญาณทาให้มนุษยม์ ีมโนธรรมและรู้จกั ไตร่ตรองแยกแยะความดีความชวั่ , ถูก-ผิด, ควร- ไม่ ควรเป็นการควบคุมตวั เองและเป็นการควบคุมกนั เองในกลุ่มหรือเป็ นศีลธรรมเฉพาะกลุ่ม ความหมายของจรรยาบรรณ (Code of Conduct) จรรยาบรรณจากพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึงประมวลความประพฤติที่ ผปู้ ระกอบอาชีพการงานแตล่ ะอยา่ งกาหนดข้ึนเพอื่ รักษาและส่งเสริมเกียรติคุณช่ือเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือไมก่ ไ็ ดเ้ ช่นจรรยาบรรณแห่งวชิ าชีพ (Professional Code of Conduct) ความหมายของศีลธรรม (Moral) ศีลธรรมเป็ นศพั ท์พระพุทธศาสนาหมายถึงความประพฤติที่ดีที่ชอบหรือธรรมในระดบั ศีลคาว่า ศีลธรรมถา้ พิจารณาจากรากศพั ท์ภาษาละติน Morails หมายถึงหลกั ความประพฤติที่ดีสาหรับบุคคลพึง ปฏิบตั ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook