62 คลาวด์แบ่งเป็น 3 บริการได้แก่ บริการโครงสร้างพ้ืนฐาน (Infrastructure as a Service: IaaS) บริการแพลตฟอร์ม (Platform as a Service: PaaS) และบริการซอฟต์แวร์ (Software as a Service: SaaS) (Anurag, 2013; Nabeel, 2015) กติ ติ และพนิดา (2546) ได้กล่าวไว้ว่า การพฒั นาระบบสารสนเทศต้องดาเนินงานตามวงจร การพัฒนาระบบ SDLC ว่ามีขั้นตอนการพัฒนาระบบออกเป็น 5 ข้ันตอน ดังนี้ คือ 1) การวางแผน โครงการ 2) การวเิ คราะห์ระบบ 3) การออกแบบระบบ 4) การพัฒนาระบบ และ 5) การบารงุ รักษา ระบบ โดยสามารถวิเคราะห์ระบบย่อยเพ่ือการดาเนินงานที่สามารถตอบสนองความต้องการของ ผู้ใช้งานออกเป็นประเภทต่าง ๆ คือ ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems: KWS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems: MIS) ระบบสนบั สนุนการ ตัดสินใจ (Decision Support Systems: DSS) และระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS) 2.7.2 ความเป็นมาของระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์ โดยบริษทั แอนดรอยด์ ไดท้ าการพัฒนา และต่อมาได้ผนวกเข้ากับบริษัท Google ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซึ่งมีการร่วมมือกัน ระหว่างบริษัทชั้นนามากกว่า 33 บริษัทเพื่อพัฒนาระบบ Android ทั้งบริษัทผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนท่ี บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์โทรศัพท์เคล่ือนที่ บริษัทซอฟต์แวร์และบริษัทเอกชนต่าง ๆ เ ช่ น HTC, LG, Motorola, Samsung, China Mobile Communications, KDDI, DoCoMo, Sprint/Nextel, T-Mobile, Telecom Italia, Telefonica, Audience, Broadcom, Intel, Marvel, NVidia, eBay, Packet Video, TAT และ Wind River เป็นต้น โดยใช้ช่ือกลุ่มว่า OHA (Open Handset Alliances)ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ เปน็ ซอฟตแ์ วร์ที่มีโครงสรา้ งแบบเรยี งทับซอ้ นหรือ แบบสแต็ก (Stack) ซ่ึงรวมเอาระบบปฏิบัติการมิดเดิลแวร์และแอปพลิเคชันที่สาคัญเข้าไว้ด้วยกัน เพ่ือใช้สาหรบั ทางานบนอุปกรณ์พกพาเคล่อื นท่ีโดยเฉพาะ เช่น โทรศพั ท์มือถือ แทบ็ เลต็ เปน็ ต้น 2.7.2.1 Android Open Source Project (AOSP) เป็นระบบแอนดรอยด์ประเภท แรกท่ีทางบริษัท Google เปิดให้สามารถนา Source Code ไปติดตั้งและใช้งานในอุปกรณ์ต่างๆ ได้ โดยไม่ต้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยใด ๆ ทงั้ สนิ้ 2.7.2.2 Open Handset Mobile (OHM) เป็นระบบแอนดรอยด์ท่ีได้รับการพัฒนา ร่วมกับกลุ่มบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์พกพา ที่เข้าร่วมกับบริษัท Google ในนาม Open Handset Alliances (OHA) ซงึ่ บริษัทเหล่าน้ีจะพัฒนาระบบแอนดรอยด์ในแบบฉบับของตนออกมา โดยรปู รา่ ง หน้าตาการแสดงผล และฟังก์ชันการใช้งาน จะมีความเป็นเอกลักษณ์ และมีลิขสิทธิ์เป็นของตน พร้อมได้รับสิทธิใ์ นการมีบริการเสริมต่าง ๆ จากบริษัท Google ท่ีเรยี กวา่ Google Mobile Service (GMS) เป็นบริการเสริมท่ีทาให้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามจุดประสงค์ ของระบบแอนดรอยด์ 2.7.2.3 Cooking หรือ Customize เป็นระบบแอนดรอยด์ที่นักพัฒนานาเอารหัส ตน้ ฉบับจากแหล่งต่าง ๆ มาปรับแต่ง ในแบบฉบับของตนเอง โดยจะต้องทาการปลดล็อคสิทธ์ิการใช้ งานอุปกรณ์ หรือ Unlock เครื่องก่อน จึงจะสามารถติดต้ังได้ โดยระบบแอนดรอยด์ประเภทน้ี ถือ เป็นประเภทท่ีมีความสามารถมากท่ีสุด เท่าท่ีอุปกรณ์เครื่องน้ันๆ จะรองรับได้ เนื่องจากได้รับการ ปรบั แตง่ ให้เข้ากับอปุ กรณน์ ัน้ ๆ จากผใู้ ชง้ านจริง
63 2.7.2.4 Eclipse IDE Eclipse คือ โ ปร แก รมท่ีใชสาหรับพัฒ น าภาษา จาว า ซ่ึงโปรแกรม Eclipse เป็นโปรแกรมหน่ึงท่ีใช้ในการพัฒนา Application Server ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเนื่องจาก Eclipse เป็นซอฟตแ์ วร์ Open Source ทีพ่ ัฒนาขึน้ เพอื่ ใช้โดยนักพัฒนา เองทาให้ความก้าวหน้าในการพัฒนาของ Eclipse เป็นไปอย่างต่อเน่ืองและรวดเร็ว Eclipse มี องค์ประกอบหลักท่ีเรียกว่า Eclipse Platform ซ่ึงให้บริการพ้ืนฐานหลัก สาหรับรวบรวมเคร่ืองมือ ตา่ งๆ จากภายนอกให้สามารถเข้ามาทางานร่วมกันในสภาพแวดลอ้ ม เดียวกัน และมีองค์ประกอบท่ี เรียกว่า Plugin Development Environment (PDE) ซ่ึงใช้ในการเพ่ิมความสามารถในการพัฒนา ซอฟต์แวร์มากข้ึน เคร่ืองมือภายนอกจะถูกพัฒนาในรูปแบบท่ีเรียกว่า Eclipse Plugin ดังนั้นหาก ตอ้ งการให้ Eclipse ทางานใดเพ่ิมเตมิ กเ็ พียงแตพ่ ัฒนา Plugin สาหรบั งานนั้นขึ้นมาและนามาติดตั้ง เพิม่ เติมใหก้ บั Eclipse ทมี่ ีอยู่ โดยขอ้ ดีของโปรแกรม Eclipse คอื ตดิ ต้ังงา่ ย สามารถใช้ได้กับ J2SDK ได้ทุกเวอร์ชั่น รองรับภาษาต่างประเทศอีกหลายภาษา มี Plugin ท่ีใช้เสริมประสิทธิภาพของ โปรแกรมสามารถทางานได้กับไฟล์หลายชนิด เช่น HTML, Java, C, JSP, EJB, XML และ GIF และ เป็นฟรีเเวร์ใชง้ านได้กับระบบปฏบิ ัติการ Windows, Linux และ Mac OS 2.7.3 PHP HTML คือโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ในลักษณะเซิร์ฟเวอร์ไซด์ สคริปต์ โดยลิขสิทธิ์อยู่ในลักษณะโอเพนซอร์ส ภาษาพีเอชพีใช้สาหรับจัดทาเว็บไซต์แอปพลิเคชันแสดงผล ออกมาในรูปแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสร้างคาส่ังมาจากภาษาซี ภาษาจาวา และภาษาเพิร์ล ซ่ึงภาษาพีเอชพีนั้นง่ายต่อการเรยี นรู้ เปา้ หมายหลักของภาษาน้ีคือให้นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจท่ีมีการโต้ตอบได้ อย่างรวดเร็ว หลักการทางานของพีเอชพี เน่ืองจากพีเอชพีจะทางานโดยมี การแปลและเอ็กซิคิวต์ที่ฝ่ังเซิร์ฟเวอร์ อาจจะเรียกการทางานว่าเป็นเซิร์ฟเวอร์ไซด์ (Server Side) สว่ นการทางานของบราวเซอรข์ องผู้ใช้เรียกว่า ไคล์เอ็นไซต์ (Client Side) การทางานจะเร่มิ ต้นที่ผู้ใช้ ส่งความต้องการผ่านเว็บบราวเซอร์ทาง HTTP (HTTP Request) ซึ่งอาจจะเป็นการกรอก แบบฟอรม์ หรือใส่ข้อมูลที่ตอ้ งการข้อมูลเหล่านั้นจะเป็นเอกสารพีเอชพี เม่ือเอกสารพีเอชพีเข้ามาถึง เซริ ์ฟเวอรก์ ็จะถกู ส่งไปให้ PHP เพอื่ ทาหน้าที่แปลคาสง่ั แล้วเอ็กซคิ วิ ตค์ าสั่งนน้ั หลงั จากน้นั พีเอชพี จะ สร้างผลลัพธใ์ นรูปแบบเอกสาร HTML ส่งกลับไปให้เว็บ เซิรฟ์ เวอร์เพ่ือส่งต่อไปใหบ้ ราวเซอร์แสดงผล ทางฝั่งผู้ใช่ต่อไป (HTTP Response) ซ่ึงลักษณะงานแบบนี้จะคล้ายกับการทางานของ CGI (Common Gateway Interface) หรืออาจจะกล่าวได้ว่าพีเอชพี ก็คือโปรแกรม CGI ประเภทหน่ึงก็ ได้ซ่งึ จะทางานคลา้ ยกับ ASP น่นั เอง 2.7.4 MySQL เ ป็ น ร ะ บ บ จั ด ก า ร ฐ า น ข้ อ มู ล เ ชิ ง สั ม พั น ธ์ ( Relational Database Management System : RDMS) หมายถึง ความสามารถการทางานของตารางข้อมูลหลายตาราง พร้อมๆ กันโดยสามารถแสดงความสัมพันธ์ของตารางเหล่านั้นด้วยฟิลด์ที่ใช้ร่วมกัน MySQL เป็น โปรแกรมฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบรองรับคาส่ัง SQL (Structured Query Language) เป็นเครื่องมือสาหรับเก็บข้อมูลที่ต้องใช้ร่วมกับเคร่ืองมืออ่ืนอย่าง สอดคล้องเพ่ือให้ได้ ระบบท่ีรองรับความตอ้ งการของผใู้ ช้ เช่น เครอ่ื งบริการเวบ็ (Web Server) และโปรแกรมประมวลผล ฝ่ังเครื่องบรกิ าร (Server-Side Script) 2.7.4.1 คุณสมบัติของ MySQL เป็นการทางานแบบ Multi-threaded คือการ ทางานโดยแบ่งการทางานเป็นส่วนย่อย แยกออกไปทาให้สามารถทางานได้อย่างรวดเร็ว และการ
64 ทางานเป็นอิสระต่อกัน ซ่งึ สามารถใชก้ ับคอมพวิ เตอร์ที่มีหลายๆ ซพี ียูสนับสนุนชนดิ ของข้อมูล (Data Type) หลากหลายรูปแบบไมว่ า่ จะเปน็ FLOAT, DOUBLE, CHAR, VARCHAR, TEXT, BLOB, DATE, TIME, DATETIME, TIMESTAMP, YEAR, SET และ ENUM เป็นต้น สามารถจดั การตารางข้อมลู จาก ฐานข้อมูลแบบอื่นๆ ได้หลายชุดโดยใชก้ าร Query ชุดเดยี วกัน การใช้กับภาษาโปรแกรมหรือสคริปต์ หลากหลายภาษา เช่น C, C++, Eiffel, Java, Perl, PHP, VB, Delphi และใช้ได้กับระบบปฏิบัติการ หลากหลายระบบ เช่น Linux, Solaris, Mac OS X Server, OS/2 Warp, Windows 7, Windows 8, Window 10 เป็นตน้ 2.7.5 JSON (Java Script Object Notation) เปน็ โครงสร้างในการเกบ็ ขอ้ มูลชนดิ หน่งึ ที่ นอกเหนือจาก XML (Extensible Markup Language) แต่มีความเร็วในการประมวลผลสูง และเข้าใจง่ายกว่า XML ส่วนใหญ่นามาใช้ ในการทา AJAX (Asynchronous Java Script and XML) เพอ่ื ทาใหส้ ามารถรับส่งค่าหรือสง่ั การเข้า Server พรอ้ มกับชุดขอ้ มูลขนาดใหญ่ไดร้ ่วมกับภาษา โปรแกรมปัจจุบัน เช่น Java และ PHP เป็นต้น ในภาษา Java มี GSON ที่เรียกใชร้ ูปแบบ JSON ใน สว่ นภาษาพเี อชพีมใี ช้ encode_json สามารถสร้างได้ 2 รูปแบบ 2.7.5.1 การจัดเก็บในชุดข้อมูลท่ีประกอบด้วยมีช่ือข้อมูลและข้อมูล ในภาษาต่างๆ ข้อมูล จะจัดอยู่ในรูปแบบของ Object, Record, Struct, Directory, Hash Table, Key List หรือ Associative Array การจัดเก็บในลาดับค่าของข้อมูล ซ่ึงในโปรแกรมส่วนใหญ่จะจัดข้อมูลอยู่ใน รปู แบบของ Array, Vector, List หรือ Sequence JSON 2.7.5.2 Object เปน็ ชุดขอ้ มลู ท่มี ชี อื่ ข้อมลู และค่าของข้อมลู ที่ใชค้ ่กู ัน ซ่งึ จะเริ่มตน้ ด้วย ตัวเคร่ืองหมาย “ { ” และจะปิดท้ายข้อมลู ด้วยเครื่องหมาย “ } ” ซ่งึ ข้อมูลแต่ละค่าจะมเี ครื่องหมาย “ : ” กากับระหว่างชื่อขอ้ มลู กับค่าของขอ้ มลู และแตล่ ะขอ้ มูลจะคน่ั ด้วยเคร่ืองหมาย “ , ” ปัจจุบันมีการพัฒนาแอนดรอยด์ออกมาหลายรุ่น ซ่ึงจะใช้รหัสชื่อเป็นชื่อขนมหวานโดยมี ตวั อกั ษรข้นึ ตน้ เรียงลาดบั กนั ดังตารางท่ี 2-3 ตารางท่ี 2-3 แสดงรายละเอียดรุน่ ต่าง ๆ ของระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยด์ (เว็บไซตว์ กิ ิพีเดยี , 2561) รนุ่ ชอ่ื เล่น API Linux เปิดตวั Distribution Level Kernel 1.0 1 23 กนั ยายน 2551 <0.1% 1.5 Cupcake 3 2.6.27 30 เมษายน 2552 <0.1% 1.6 Donut 4 2.6.29 15 สิงหาคม 2552 (SDK) <0.1% 2.0 Eclair 5 2.6.29 26 ตุลาคม 2552 <0.1% 2.0.1 Eclair 6 2.6.29 3 ธนั วาคม 2552 <0.1% 2.1 Eclair 7 2.6.29 12 มกราคม 2553 (SDK) <0.1%
65 2.2 Froyo 8 2.6.32 20 พฤษภาคม 2553 2.2% 2.3-2.3.2 Gingerbread 9 (SDK) 2.3.3- 2.3.7 Gingerbread 10 <0.1% 2.6.35 6 ธันวาคม 2553 (SDK) 28.5% 2.6.35 9 กมุ ภาพนั ธ์ 2554 (SDK) 3.0 Honeycomb 11 2.6.36 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2554 <0.1% (SDK) <0.1% 3.1 Honeycomb 12 2.6.36 10 พฤษภาคม 2554 (SDK) 0.1% 3.2 Honeycomb 13 2.6.36 15 กรกฎาคม 2554 <0.1% (SDK) 20.6% 36.5% 4.0 Ice Cream 14 3.0.1 19 ตุลาคม 2554 (SDK) 10.6% 4.0.3-4.0.4 Sandwich 15 1.5% 16 16 ธนั วาคม 2554 (SDK) 3.15% 4.1 Jelly Bean 17 3.15% 4.2 Jelly Bean 18 3.0.31 28 มิถนุ ายน 2555 7.58% 4.3 Jelly Bean 19 7.58% 4.4 KitKat 20 3.4.0 29 ตุลาคม 2555 14.54% 4.4W KitKat 21 16.32% 5.0 Lollipop 22 3.4.0 24 กรกฎาคม 2556 16.32% 5.1 Lollipop 23 9.65% 6.0 Marshmallow 24 3.10 31 ตุลาคม 2556 9.65% 7.0 Nougat 25 1.20% 7.1 Nougat 26 25 มถิ นุ ายน 2557 8.0 Oreo 27 8.1 Oreo 28 15 ตลุ าคม 2557 9.0 Pie 9 มีนาคม 2558 28 พฤษภาคม 2558 22 สิงหาคม 2559 4 ตุลาคม 2559 21 สงิ หาคม 2560 5 ธนั วาคม 2560 6 สิงหาคม 2561
66 2.7.6 สถาปัตยกรรมของแอนดรอยด์ (Android Architecture) น้ันถูกแบ่งออกเป็นลาดบั ชั้น (Layer) ออกเปน็ 4 ชัน้ หลกั (เว็บไซตว์ ิกพิ ีเดีย, 2560) ดังภาพท่ี 2-7 ภาพท่ี 2-7 แสดงชนั้ ทงั้ 4 ของสถาปัตยกรรมระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด์ 2.7.6.1 ชนั้ ของแอปพลิเคชัน (Application Layer) ก) ชั้นบนสุดของโครงสรา้ งสถาปตั ยกรรมแอนดรอยด์ ซง่ึ เปน็ ส่วนของการ จัดการแอปพลิเคชันท่ีพฒั นาขึ้นมาใช้งาน เช่น แอปพลเิ คชัน รับ/สง่ อีเมล์ SMS ปฏิทนิ แผน ท่ี เว็บเบราเซอร์ รายชื่อผู้ติดต่อ เป็นต้น ซึ่งแอปพลิเคชัน จะอยู่ในรูปแบบของไฟล์ .apk โดยทว่ั ไปแล้วจะอยูใ่ นไดเร็คทอรี data/app ดังภาพท่ี 2-8 ภาพท่ี 2-8 แสดงชนั้ แอปพลิเคชัน (Application) 2.7.6.2 ชน้ั แอปพลเิ คชนั เฟรมเวิร์ค (Application Framework) ในชั้นนจี้ ะอนญุ าต ให้นักพัฒนาสามารถเข้าเรียกใช้งาน โดยผ่าน API (Application Programming Interface) ซ่ึง
67 Android ได้ออกแบบไว้เพื่อลดความซ้าซ้อนในการใช้งาน application component โดยในช้ันน้ี ประกอบด้วยแอปพลิเคชนั เฟรมเวริ ค์ ดังภาพที่ 2-9 ภาพที่ 2-9 แสดงชัน้ แอปพลิเคชันเฟรมเวิรค์ (Application Framework) ก) View System เป็นส่วนท่ีใช้ในการควบคุมการทางานสาหรับการสร้าง แอปพลิเคชัน เช่น lists, grids, text boxes, buttons และ embeddable web browser ข) เปน็ สว่ นท่จี ดั การเกย่ี วกับคา่ ต่าแหน่งของเครอ่ื งอุปกรณ์พกพาเคลอื่ นที่ ค)Content Provider เป็น ส่ว น ท่ี ใช้คว บคุมก าร เข้าถึง ข้อ มูลที่ มี การใชง้ านรว่ มกัน (Share data) ระหว่างแอปพลเิ คชนั ทแี่ ตกตา่ งกัน เชน่ ข้อมลู ผตู้ ดิ ต่อ (Contact) ง) Resource Manager เป็นส่วนท่ีจัดการข้อมูลต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่ส่วนของ โคด้ โปรแกรม เช่น รูปภาพ, localized strings, layout ซึง่ จะอยู่ในไดเรค็ ทอรี res จ) Notification Manager เป็นส่วนที่ควบคุมอีเวนต์ (Event) ต่างๆ ที่ แสดงบนแถบสถานะ (Status bar) เชน่ ในกรณที ่ีได้รับข้อความหรือสายที่ไม่ได้รับและการแจ้งเตือน อน่ื ๆ เป็นต้น ฉ) Activity Manager เป็นส่วนควบคุม Life Cycle ของแอปพลิเคชัน ช) Telephony Manager เป็นกลุ่มของชุดข้อมูลคาส่ังที่ใช้ในการเข้าถึง โทรศพั ท์ เชน่ หมายเลขโทรศัพท์ เปน็ ต้น 2.7.6.3 ชั้นไลบรารี (Library) ระบบแอนดรอยด์ได้รวบรวมกลุ่มของไลบรารีต่างๆ ท่ีสาคัญและมีความจาเป็นเอาไว้มากมาย เพื่ออานวยความสะดวกให้กับนักพัฒนาและง่ายต่อการ พฒั นาโปรแกรมโดยตวั อยา่ งของไลบรารีทีส่ าคัญ เชน่ ก) System C library เป็นกลุ่มของไลบรารีมาตรฐานท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของ ภาษา C ไลบรารี (libc) สาหรบั embedded system ที่มพี นื้ ฐานมาจาก Linux ข) Media Libraries เป็นกลุ่มการทางานมัลติมีเดีย เช่น MPEG4, H.264, MP3, AAC, AMR, JPG, และ PNG ค) Surface Manager เป็นกล่มุ การจดั การรปู แบบหนา้ จอและการวาด หน้าจอ ง) การทางาน 2D/3D library เป็นกลุ่มของกราฟิกแบบ 2 มิติ หรือ SGL (Scalable Graphics Library) และแบบ 3 มติ ิ หรือ OpenGL จ) การทางาน Free Type เป็นกลุ่มของบิตแมป (Bitmap) และเวคเตอร์ (Vector) สาหรับการเรนเดอร์ (Render) ภาพ
68 ฉ) โปรแกรม SQLite เป็นกลุ่มของฐานข้อมูล โดยนักพัฒนาสามารถใช้ ฐานขอ้ มลู น้ีเกบ็ ขอ้ มลู แอปพลเิ คชนั ตา่ ง ๆ ได้ ช) Browser Engine เป็นกลุ่มของการแสดงผลบนเวบ็ เบราเซอรโ์ ดยอยู่บน พื้นฐานของ Webkit ซ่ึงจะมีลักษณะคล้ายกับ Google Chrome Android Runtime เป็นช้ันย่อยท่ี อยใู่ นช้ันไลบรารี ซ) Dalvik VM (Virtual Machine) ส่วนนี้ถูกเขียนด้วยภาษา Java เพื่อใช้ เฉพาะการใช้งานในอุปกรณ์เคลื่อนที่ Dalvik VM จะแตกต่างจาก Java VM (Virtual Machine) คือ Dalvik VM จะรันไฟล์ .dex ท่ีคอมไพล์มาจากไฟล์ .class และ .jar โดยมี tool ท่ีช่ือว่า dx ทา หน้าท่ีในการบบี อดั คลาส Java ทั้งน้ไี ฟล์ .dex จะมีขนาดกะทัดรัดและเหมาะสมกับอุปกรณ์เคลอ่ื นที่ มากกว่า .class เพื่อต้องการใชพ้ ลงั งานจากแบตเตอร่อี ย่างมีประสทิ ธิภาพสงู สุด ญ) Core Java Library สว่ นนี้เปน็ ไลบรารีมาตรฐาแตก่ ม็ ีความแตกต่างจาก ไลบรารีของ Java SE (Java Standard Edition) และ Java ME (Java Mobile Edition) ซ่ึงจะ ประกอบดว้ ย 2 สว่ นหลกั ดงั ภาพที่ 2-10 ภาพที่ 2-10 แสดงชน้ั ไลบรารี 2.7.7 ชั้นลีนุกซเ์ คอรเ์ นล (Linux Kernel) เป็นระบบ Android ที่ถกู สร้างขนึ้ บนพ้ืนฐานของ ระบบปฏิบัติการ Linux โดยในชั้นน้ีจะมีฟังก์ชนั การทางานหลายๆ สว่ น แต่โดยส่วนมากจะเกีย่ วข้อง กบั ฮาร์ดแวร์โดยตรง เช่น การจัดการหน่วยความจา (Memory Management) การจัดการโพรเซส (Process Management) การเชอ่ื มต่อเครอื ขา่ ย (Networking) เป็นต้น ดังภาพท่ี 2-11 ภาพท่ี 2-11 แสดงชนั้ ลนี กุ ซ์เคอร์เนล 2.7.8 ส่วนประกอบของแอปพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ประเภทดังนี้ 2.7.8.1 Activity (User Interface) คือ สิง่ ทใ่ี ชใ้ นการแสดงผลออกมาเพอ่ื ให้ผูใ้ ชง้ าน ไดเ้ ห็นและได้ใช้งานโดยแตล่ ะแอปพลเิ คชัน อาจจะมี Activity เดียวหรอื หลายๆ Activity และส่งที่อยู่
69 ใน Activity นน้ั จะเรียกว่า View ซง่ึ มีอยหู่ ลายรปู แบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอ่นื ๆ 2.7.8.2 Service (Service Provider) เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต่ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทา อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผา่ นเครือข่าย หรือคานวณค่าต่าง ๆ แลว้ ทาการส่งข้อมลู ไปแสดงยัง Activity กไ็ ด้หรือการเปิดเพลงในขณะท่เี รากาลังทางานบนแอปพลิเคชันอื่น 2.7.8.3 Broadcast receiver (Data Provider) คือ ตัวท่ีใช้สาหรับคอยรับและ ตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เมื่อแบตเตอร่ีต่า การเปลี่ยนภาษา มีการโทรออก มีข้อความเข้าและอ่ืน ๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถท่ีจะ เรียก Activity ข้ึนมาแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบได้ เรียกว่า Notification Manager ซึ่งจะเป็นตัวท่ีแจ้ง เตือนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การสั่นการแสดงไฟกระพริบที่หน้าจอ หรือการส่งเสียงออกมาโดยจะมี icon แสดงอยู่บน status bar เพอ่ื แจง้ เหตุการณ์ที่เกิดขึน้ 2.7.8.4 Content provider (System Event Listener) คือ กลุ่มของข้อมูลท่ีสร้าง เพื่อให้แอปพลิเคชันอื่นๆ ได้นาไปใช้โดยการจัดเก็บข้อมูลของ content provider น้ันจะอยู่ใน ลักษณะของไฟล์ฐานข้อมูล SQLite และอื่นๆ ตัวอย่างแอปพลิเคชันท่ีใช้งาน content provider ทเี่ ห็นชดั เจนทส่ี ุด คือ โปรแกรม Contacts ท่ีแสดงรายชื่อใน Contacts นนั้ เอง 2.9 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.9.1 ระบบ KOSEN จากประเทศญ่ีปุ่น (College of Technology) ในการผลิตบัณฑิตสู่ กาลังคนดิจิทัล จุดเด่นของบัณฑิตท่ีจบการศึกษาจาก KOSEN คือ การได้รบั การฝึกฝนให้เป็นวิศวกร หรอื นักวจิ ัยทเ่ี น้นการปฏิบัติ (practical) และมีความคิดสร้างสรรค์ เน่ืองจากสถาบัน KOSEN มีความ ร่วมมือกับ ภาคอุตสาหกรรมเพ่ือผลิตกาลังคนให้ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และ ภาคอตุ สาหกรรมทาหน้าที่ คล้ายพ่ีเล้ียงโดยการสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญในการใหค้ าแนะนาแก่นักเรียน ในระหว่างปีการศึกษาท่ี 4 นักเรียน ในสถาบัน KOSEN จะต้องออกไปฝึกงานที่บริษัทท้องถิ่นเพื่อ เรยี นรู้ ประสบการณจ์ รงิ (National Institute of Technology : KOSEN, 2018) 2.9.1.1 วชิ าทเี่ รยี นในสถาบัน KOSEN ประกอบด้วย 2 ประเภทหลัก ได้แก่ วชิ าด้าน ศิลปศาสตร์ (เช่น ภาษาและวรรณกรรมญีป่ ุ่น คณิตศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เคมี ฟิสิกส์ ปรัชญา เป็นต้น) และวิชาเอก (major subjects) (เช่น ความรู้และทักษะอาชีพ การ ทดลอง และการวิจัย เป็นต้น) โดยในช่วงปี 1-2 จะเน้นการเรียนด้านศิลปศาสตร์มากกว่า ขณะที่ ในชว่ งปีที่ 3 เป็นต้นไป การเรียนในสาขาวิชาเอกจะมี สัดส่วนมากกว่าครงึ่ หน่งึ หลักสูตรการเรียนการสอนของ KOSEN เน้นให้นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ที่เพิ่มมากขึ้น (Spiral curriculum) โดยผ่านทาง 3 ขั้นตอนหลักคือ การบรรยาย การทดลอง และการปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้และความชานาญ ดังภาพท่ี 2.12 โดยตัวอย่างของคอร์สวงจรดจิทัลหรือ อิเล็กทรอนิกส์ ดังภาพิที่ 2.13
70 ภาพที่ 2.12 หลักสตู รการเรียนการสอนแบบ Spiral curriculum ของ KOSEN ภาพท่ี 2.13 ตวั อยา่ งของระบบคอร์สวงจรดจิ ิทัลหรอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยสรุประบบ KOSEN ประสบผลสาเร็จในญี่ปุ่น เนื่องจากการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจาก ภาครัฐความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับภาคอุตสาหกรรม และระบบการเรียนการสอนที่มีคุณภาพโดย บคุ ลากรที่มี คุณภาพ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผูท้ ี่จบการศึกษาหลักสูตร KOSEN มีจานวนทั้งส้ินมากกว่า 300,000 คน และในแต่ละปี มีจานวนผู้จบการศึกษาประมาณ 10,000 คน อย่างไรก็ตามจานวน ดังกลา่ วยังคงไม่เพยี งพอต่อความ ต้องการของภาคอตุ สาหกรรม โดยนักศึกษาท่ีสาเร็จหลักสูตรปกติ (5 ปี) และหลักสูตรข้ันสูง (5 ปี +2 ปี) จะมีงานจากภาคอุตสาหกรรมเสนอให้เลือกประมาณ 20 ตาแหน่ง และ 30 ตาแหนง่ ตามลาดบั จงึ ทาให้สามารถผลติ แรงงานคุณภาพทต่ี รงความตอ้ งการของ ภาคอุตสาหกรรม และมีตาแหนง่ งานรองรบั
71 2.9.2 Predicting Student Success Using Data Generated in Traditional Educational Environments (Marian and Bogdan, 2018) ในงานวิจัยดังกล่าว ใช้เทคนิคการทาเหมืองข้อมูลเพ่ือการศึกษา (Educational Data Mining : EDM) เพื่อการทานายความสาเร็จของนักเรียนโดยใช้ขอ้ มูลท่ีสร้างข้ึนในสภาพแวดล้อมทาง การศึกษาแบบด้ังเดิม โดยใช้อัลกอริธึมท้ังหมด 5 ตัว และวิธีการข้ามสองวิธีเราพัฒนาและประเมิน แบบจาลองการจาแนกจานวน 5 แบบ ในการทดลองของเราเพ่ือระบุแบบที่มีประสิทธิภาพดีท่ีสุด วิธีการแบ่งส่วนเวลาและคณุ ลกั ษณะประสทิ ธิภาพของรายวิชาเฉพาะซ่ึงรวบรวมจากรายงานหลกั สตู ร ถูกใชเ้ พ่อื กาหนดประสทิ ธภิ าพของนกั เรยี น ภาพท่ี 2-12 ผลการจดั หมวดหมโู่ ดยใช้การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง (Marian and Bogdan, 2018) โดยจากงานวิจัยดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า โมเดลที่ใช้ตัวจาแนกฟอเรสต์แบบสุ่มมีค่าสูงสุด ทานายมากกว่า 85% ของนักเรียนท่ีผ่านการเรยี นรใู้ นแตล่ ะชุดข้อมูล เช่นเดียวกับในการทดลองก่อน หนา้ นีข้ ้ันตอนวิธที ี่ดีที่สดุ ในการทานายนกั เรียนทต่ี กคอื ลอจิสตกิ สก์ ารถดถอยลอจิสตกิ และการจาแนก เวกเตอร์ C-Support Logistic Regression Classifier น้ันให้ผลลัพธ์ท่ีดีที่สุดสาหรับการวัด AUC ในแต่ละเซ็กเมนต์เวลาโดยมีค่า 0.86 สาหรับเซกเมนต์ครั้งแรกค่า 0.95 ในเซกเมนต์ครั้งท่ีสองและ 0.94 ในเซก็ เมนตท์ ส่ี าม สามารถดาวนโ์ หลดเอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์ ออนไลน์ (E-Book) โดยทาการ Scan QR Code
Search