Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter11

chapter11

Published by kengkung4514, 2019-02-13 10:32:02

Description: chapter11

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) และกรอบทิศทางของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ความจาเป็นในการจัดทาแผนการ ศึกษาแห่งชาติ ความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21 ทั้งในส่วนท่ีเป็นแรงกดดันภายนอก ได้แก่ การเปล่ียนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเน่ืองมาจากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) การเปล่ียนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 (The Fourth Industrial Revolution) การดาเนนิ งานเพอื่ บรรลุเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ่ังยนื ขององค์การสหประชาชาติ 2573 (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ที่ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน รวมท้ังผลกระทบของการเป็น ประชาคมอาเซียน และความต้องการกาลังคนท่ีมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ประกอบกับแรงกดดันจาก ภายในประเทศจากการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรที่ส่งผลให้ ประเทศเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่าง สมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้ แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและ พัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ วา่ ต้องมกี ารสรา้ งกาลังคนมีทักษะท่ีสาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงาน และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มีตัวช้ีวัดท่ีสาคัญ เช่น มีฐานข้อมูล ความต้องการ กาลงั คน (Demand) จาแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรมอย่างครบถ้วน สัดส่วนผู้เรียน อาชีวศึกษาสูงข้ึน เม่อื เทยี บกับผูเ้ รียนสามัญศึกษา และสัดส่วนผูเ้ รียนวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สูงขึ้นเมื่อเทียบกับผู้เรียนสังคมศาสตร์ กาลังแรงงานในสาขาอาชีพต่างๆ ที่ได้รับการยกระดับคณุ วฒุ ิ วิชาชีพเพม่ิ ขน้ึ การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาคนในสังคมให้มีความสามารถ ระบบการศึกษาถือเป็น ปัจจัยหน่ึงท่ีสาคัญต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาประเทศ โดยที่ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมี การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาข้ึนมาก โลกกาลังก้าวเข้าสู่ยุคของการสร้างกาลังคนดิจิทัล สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะมหาวิทยาลัยมีส่วนสาคัญในการผลิตบัณฑิตท่ีตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ให้ทันสมัย ส่ิงที่มหาวิทยาลัยจาเป็นต้องปรับตัวยังคงประกอบไปด้วย 1. การพัฒนาหลักสูตรท่ีทันยุค ทันสมัยและท่ีสาคัญทันต่อเทคโนโลยีที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคนในสังคม 2. เทคโนโลยี เครื่องมือประกอบการเรียนการสอน การสอนในภาคปฏิบัติเพื่อให้นักศึกษาได้ลงมือทางานจริง ได้เรียนรกู้ ารทางานเป็นทีม และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ 3. บุคลากรทางการศึกษาต้องทาหนา้ ที่ เป็นโคช้ ใหแ้ นวทางให้คาแนะนาเพือ่ ให้นักศึกษาเป็นศูนยก์ ลางของการเรยี นรู้ 4. มหาวิทยาลัยไม่ควรมี เครือข่ายเฉพาะสถาบันการศึกษาเท่าน้ัน แต่ต้องสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคธุรกิจเอกชน เพื่อสรา้ งโอกาสให้กับนักศึกษา ช่วยใหเ้ ข้าใจความต้องการของตลาดแรงงาน และนาไปสู่การปรับปรุง หลักสูตรให้ตรงกับความตอ้ งการของตลาดมากที่สุด ความเจริญก้าวหน้าของวทิ ยาการต่าง ๆ ส่งผล

2 ให้การเรียนการสอนต้องมีการปรับตัวให้ก้าวทันกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึน การเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร จึงมีบทบาทอย่างมากในการ ดารงชีวิตของมนุษย์มากข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศกลายเป็น แหล่งเรียนรู้ท่ีมีความสาคัญ อาจารย์ต้องรู้ทันข่าวสารสาคัญใหม่ๆ และทันสมัยอยู่เสมอ ด้วยการ แสวงหาข้อมูลความรู้ด้วยตนเองผ่านข้อมูล ข่าวสารและสารสนเทศสมัยใหม่อยู่ตลอดเวลา เพราะอาจารย์ต้องเป็นฝ่ายอานวยการเรียนร้ใู ห้นักศึกษา พัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ มีทักษะ ในการแสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และสามารถนาวิธีการเรียนรู้ไปใช้ใน ชีวติ ประจาวัน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเข้ามาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการจดั การเรียนรู้ ซงึ่ ชว่ ย อานวยความสะดวกในการเข้าถงึ แหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ ทาให้การเช่ือมต่อระหวา่ งอาจารย์และนักศึกษาดี ขนึ้ (สถาบนั คณุ วฒุ วิ ิชาชีพ องค์การมหาชน, 2561) สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) และสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ได้มีการประชุมสัมมนาทางวิชาการ ในหัวข้อเรื่อง “แนวทางการสร้างกาลังคนด้านดิจิทัล ของไทย : จากปริมาณสู่คุณภาพ” ว่า ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 กลไกหนึ่งที่สาคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (new engine of growth) คือ การพัฒนา 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย ซึ่งประกอบด้วยการต่อยอด 5 อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-Curve) ประกอบด้วย อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ อุตสาหกรรม ท่อง เที่ยว ก ลุ่มร ายไ ด้ดีและก ารท่อง เ ที่ยว เชิงสุขภาพ อุตสาหก ร ร มก าร เก ษตรและ เทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร และการเติม 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) ประกอบด้วย อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรอัตโนมัติ อุตสาหกรรมการ บินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจิทัล และ อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร รัฐบาลมุง่ เน้นทีจ่ ะพฒั นาเขตระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก (ออี ีซ)ี มีแผนยุทธศาสตร์ ภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการพัฒนาเชิงพื้นท่ีที่จะต่อยอดความสาเร็จมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคตะวนั ออกหรอื Eastern Seaboard ซึ่งดาเนินมาตลอดกวา่ 30 ปีทีผ่ า่ นมา โดยในครงั้ นสี้ านักงาน เพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (สกรศ) มีเป้าหมายในการส่งเสริมการพัฒนา บุคลากร การศึกษา การวิจัย และเทคโนโลยีในพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ในอุตสาหกรรมใหม่ (New S-Curve) ซ่ึงประกอบไปด้วย อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมการบิน และโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ และกาลังคนดิจิทัล การลงทุนซ่ึงจะเป็นการยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศเพ่ิมความสามารถใน การแข่งขัน และทาให้เศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะยาว โดยในระยะแรกจะเป็นการยกระดับ พ้ืนที่ในเขต 3 จังหวัด คือ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ให้เป็นพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออกเพื่อรองรับการขับเคล่ือน เศรษฐกิจอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ (โครงการพัฒนา ระเบยี งเศรษฐกิจ พเิ ศษภาคตะวนั ออก, 2561) ความท้าทายที่สาคัญของประเทศไทย คือ กาลังคนด้านดิจิทัลชองไทยมีปริมาณมาก แต่กาลังคนที่มีคุณภาพสูงที่สามารถทางานได้จริงมีปริมาณน้อย ทาให้ดูเหมือนประเทศไทยขาด กาลังคนด้านดิจิทัล โดยในปี 2560 มีผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เฉพาะสาขาคอมพิวเตอร์

3 เกือบ 20,000 คน (ไม่รวมผู้จบการศึกษาในสาขาอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น วิศวกรรมโทรคมนาคม) และมีผู้ว่างงานที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์เกือบ 7,000 คน ขณะที่ความ ต้องการกาลังคนด้านดิจิทัลในภาคธุรกิจเพิ่มขึ้นประมาณ 14,000 คน และภาคธุรกิจมักสะท้อน ปัญ ห า ก า ร ข า ด แ ค ล น ก า ลัง ค น ด้า น ดิจิทัล ที่มีคุณ ภ า พ แ ล ะ ส า ม า ร ถ ทา ง า น ไ ด้จ ริง สาเหตุหนึ่งของสถานการณ์ดังกล่าว คือ หลักสูตรสาขาคอมพิวเตอร์ท่ีสอนอยู่ในปัจจุบัน ส่วนหน่ึง ยังไม่ได้ปรับให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งบางหลักสูตรไม่ได้ บรรจุวิชาหลักที่จาเป็นต่อการเป็นนักวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นหากประเทศไทย ต้องการเพิ่มกาลังคนด้านดิจิทัลเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของอุตสาหกรรมเป้าหมายใน พื้นที่ EEC ได้จริง ประเทศไทยจาเป็นต้องปรับคุณภาพของกาลังคนด้านดิจิทัลอย่างเร่งด่วน อย่างไรก็ดีมาตรการสาคัญในการการยกระดับคุณภาพกาลังคนด้านดิจิทัลเพื่อตอบสนองต่อ อุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่ EEC คือ ภาครัฐควรดาเนินการเป็นโครงการนาร่อง (pilot project) โดยมีแนวทางดาเนินการในระยะสั้นคือ ภาครัฐควรร่วมมือกับภาคเอกชนและภาค การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่ EEC ในการจัดโปรแกรมหรือหลักสูตร ฝึกอบรมระยะสั้นด้านเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเกิดขึ้นใหม่ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และอินเทอร์เน็ต ข อ ง ส ร ร พ สิ่ง ( Internet of Things) แ ล ะ ภ า ค ร ัฐ ค ว ร ส่ง เ ส ร ิม ก า ร เ ชื่อ ม โ ย ง ร ะ ห ว่า ง สถาบันการศึกษาและภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่ EEC เพื่อให้ สามารถผลิตบุคลากรด้านดิจิทัลที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้จริง และ สุดท้าย ภาครัฐควรอานวยความสะดวกและสร้างแรงจูงใจในการเข้ามาทางานของนักวิชาชีพ ดิจิทัลท่ีมีทักษะสูงให้มากข้ึน (สานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล, 2561) จากปัญหาดังกล่าวท่ีได้อธิบายไปข้างต้น ผู้วิจัยจงึ มีความสนใจท่ีจะพัฒนาระบบทานายอาชีพ โดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่กาลังคนดิจิทัล เพื่อใช้ในการทานายอาชีพ ของนักศึกษาที่กาลังจะสาเร็จการศึกษาที่มีความสนใจในการประกอบอาชีพทางด้านดิจิทัล ให้ วางแผนและเตรียมการในการประกอบอาชีพดังกล่าว โดยยังส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีการพัฒนา หลักสูตรให้มีความทันสมยั เพื่อรองรับกับกาลังคนดิจิทัลในเขตระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก โดยมีวัตถุประสงค์การเรียนรู้และได้มาตรฐาน เช่ือถือได้ มีความยืดหยุ่น โดยเฉพาะระบบทานาย อาชีพ ที่สามารถวิเคราะหอ์ าชพี ทางด้านกาลังคนดจิ ิทัลและยังสามารถวิเคราะห์ว่านักศกึ ษาในอาชีพ ดิจิทัลดังกล่าวต้องมีความสามารถทางด้านใดเพื่อรองรับกับกาลังคนดิจิทัลในเขตระเบียงเศรษฐกิจ พเิ ศษภาคตะวันออกทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ตอ่ ไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยในระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรยี นรู้เพ่ือจาแนกคุณลักษณะ บัณฑิตสู่กาลังคนดิจทิ ัล 1.2.2 เพื่อพัฒนาแบบจาลองในระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนก คณุ ลักษณะบณั ฑติ ส่กู าลงั คนดจิ ิทลั 1.2.3 เพ่ือออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนก คุณลกั ษณะบณั ฑิตสู่กาลงั คนดจิ ิทลั

4 1.2.4 เพ่ือพัฒนาระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่ กาลังคนดิจทิ ลั 1.2.5 เพื่อศกึ ษาผลการระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนกคุณลักษณะบัณฑิต สู่กาลังคนดจิ ทิ ัล 1.3 สมมติฐำนงำนวิจยั 1.3.1 ผลของระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่ กาลังคนดิจทิ ลั มีความแม่นยาในการทานายร้อยละ 80 1.3.2 ประสิทธิภาพของระบบทานายอาชพี โดยใช้จกั รกลการเรียนรู้เพอื่ จาแนกคุณลักษณะบัณฑิต สู่กาลังคนดิจิทัล อยู่ในระดับมาก มีความสะดวกในการตัดสินใจเลือกแรงงานท่ีทางานได้ตรงตาม คุณสมบัติ ลดการใชแ้ รงคน เวลา ทรพั ยากร และช่วยในการบริหารจดั การขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 1.4 ขอบเขตของกำรวิจัย 1.4.1 กรอบแนวคดิ (Conceptual Framework) 1.4.1.1 ตัวแปรต้น คือ คุณลักษณะข้อมูลรายบุคคลของบัณฑิตท่ีใช้ในการระบบทานาย อาชีพ ซ่ึงประกอบไปด้วย 1.4.1.2 ตวั แปรกลาง คือ ข้ันตอนระบบทานายอาชีพโดยใช้จกั รกลการเรยี นรู้เพ่ือจาแนก คณุ ลักษณะบัณฑิตสกู่ าลงั คนดิจิทลั 1.4.1.3 ตัวแปรตาม คือ ผลของระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนก คุณลกั ษณะบัณฑิตสู่กาลังคนดจิ ทิ ัล ซึง่ ประกอบด้วย 2 ดา้ น ดังน้ี ก) ผลระบบทานายอาชีพโดยใช้จกั รกลการเรียนร้เู พ่ือจาแนกคุณลักษณะบัณฑิต สู่กาลงั คนดจิ ทิ ลั ข) ผลคุณลักษณะของบัณฑิตที่ผ่านระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้ เพอ่ื จาแนกคณุ ลักษณะบัณฑติ สกู่ าลงั คนดจิ ทิ ัล 1.4.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่างในการวจิ ัย 1.4.2.1 ประชากร คือ นกั ศึกษาสาขาวิชาทางด้านคอมพิวเตอร์ ของสถาบันอดุ มศึกษาของ รัฐและมหาวิทยาลัยในกากบั ของรัฐ มหาวิทยาลัยเอกชน ท่ีอยู่ในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ประกอบไปด้วย 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (วิทยาเขตระยอง) จังหวัด ระยอง 2. มหาวิทยาลัยบรู พา จังหวดั ชลบุรี 3. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (วทิ ยาเขตศรีราชา) จังหวัด ชลบุรี 4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวั นออก (บางพระ) จังหวัดชลบุรี 5. มหาวิทยาลัยศรีปทุม (วิทยาเขตชลบุรี) จังหวัดชลบุรี 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จงั หวัดฉะเชิงเทรา 1.4.2.2 กลุ่มตวั อย่าง คอื นกั ศึกษาสาขาวิชาทางด้านคอมพิวเตอร์ ของสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐและมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มหาวิทยาลัยเอกชน ท่ีอยู่ในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (EEC) โดยใชว้ ธิ ีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 1,200 คน

5 โดยสามารถกาหนดแอททริบิวตอ์ ินพุตและแอททรบิ วิ ตเ์ อาต์พุตเป้าหมายในการสร้างแบบ จาลองการทานายอาชพี ฯ ไว้ดงั ภาพท่ี 1-1 ตัวแปรต้น ตัวแปรตำม Intelligent Career Prediction System (I-CPS) Intelligent Career Prediction System (I-CPS)1. ขอ้ มลู พืน้ ฐำนทัว่ ไปของบณั ฑติ ผลของระบบทำนำยอำชีพโดยใช้ 2. ตั ว แ ป ร ท่ี ใ ช้ ใ น ก ำ ร ท ำ น ำ ย จักรกลกำรเรยี นรู้เพอ่ื จำแนก คุณลักษณะบัณฑิตสู่กำลังคนดิจิทัล แบง่ ออกเปน็ 3 ทักษะ คุณลกั ษณะบณั ฑติ สู่กำลงั คนดิจทิ ลั 1.1 ทกั ษะหลักทางวชิ าชีพ ผ้ใู ช้บณั ฑติ (สถำนประกอบกำร) (Hard Skills) - บัณฑิตที่ผ่านการคัดเลือกจาก ร ะ บบท าน ายอ าชีพ ที่ต ร ง ตา ม 1.2 ทักษะส่งเสริมการทางาน คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ต า แ ห น่ ง ง า น (Soft Skills) ทางดา้ นดจิ ทิ ัล ผผู้ ลิตบณั ฑติ (สถำนศกึ ษำ) 1.3 ทกั ษะส่วนบุคคล - นาข้อมูลไปพัฒนารายวิชาใน (Personal Skills) ห ลั ก สู ต ร ใ น ส า ข า ท า ง ด้ า น 3. อำชพี ทำงดำ้ นดจิ ิทลั คอมพิวเตอร์และดิจิทัลให้มีความ ทั น ส มั ย เ พ่ื อ ต อ บ โ จ ท ย์ ส ถ า น ประกอบการ - การแนะแนวอาชีพใหก้ บั บัณฑติ ภำพท่ี 1-1 ปัจจัยท่ีใช้ในการสร้างแบบจาลองการทานาย จากภาพที่ 1-1 สามารถอธิบายรายละเอียดของตัวแปรต้นท่ีจะใช้ในการสร้างแบบจาลอง ระบบทานายอาชพี โดยใชจ้ ักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนกคุณลกั ษณะบัณฑิตสูก่ าลังคนดิจทิ ัล ซ่ึงสามารถ อธบิ ายจากตารางท่ี 1-1 ตอ่ ไปน้ี

6 1.5 วธิ กี ำรวิจยั การวิจัยเร่ือง “ระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่ กาลังคนดิจิทัล” เป็นการวิจัยและพัฒนา (Quantitative and Development) ทั้งน้ีผู้วิจัยได้ศึกษา ขอ้ มลู จากเอกสาร ตารา ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง โดยการดาเนินการวิจัยแบ่งออกเปน็ 5 ระยะ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย ดังนี้ ระยะท่ี 1 วิเคราะห์และสังเคราะห์กระบวนการของระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้ เพอื่ จาแนกคุณลกั ษณะบณั ฑติ สูก่ าลังคนดิจทิ ัล 1. ศกึ ษาค้นคว้าขอ้ มลู รวบรวมเอกสาร ทบทวนทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2. สังเคราะห์ แนวคิด กระบวนการ จากเอกสาร ทบทวนทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง เพ่ือสร้างกรอบแนวความคิดระบบทานายอาชีพฯ 3. ประเมนิ ผลจากผู้เชี่ยวชาญ ระยะท่ี 2 พัฒนาแบบจาลองในระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนก คณุ ลักษณะบณั ฑิตสู่กาลังคนดิจทิ ัล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยและการสร้างตัวแบบ โดยการใช้เทคนิคท่ีสังเคราะห์จาก งานวจิ ัย ทฤษฎี การศึกษามาทาการทดสอบความแมน่ ยาของระบบทานายอาชีพฯ 2. การแปลผลและการประเมินความแม่นยา โดยทาการประเมินผลความแม่นยาตัวแบบ จากแต่ละเทคนิค 3. การนาตัวแบบไปประยุกต์ใช้ในการสร้างระบบ ระยะที่ 3 ออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนก คุณลักษณะบัณฑิตสกู่ าลงั คนดิจิทัล 1. สังเคราะห์สถาปัตยกรรมระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนก คณุ ลักษณะบณั ฑิตสู่กาลงั คนดจิ ทิ ลั 2. ประเมินสถาปตั ยกรรมของระบบฯ โดยผู้เชยี่ วชาญ และผวู้ ิจยั สรปุ ผลการประเมินและ ทาการปรับปรงุ ตามคาแนะนาของผูเ้ ช่ยี วชาญ ระยะที่ 4 พัฒนาระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่ กาลงั คนดจิ ทิ ัล 1. การวิเคราะห์ วางแผน ลงมือพัฒนา ประเมิน เรียนรู้ และผลตอบกลับไปในข้ันตอน ของการวเิ คราะห์ 2. ประเมินระบบฯ โดยผู้เชี่ยวชาญ และผู้วิจัยสรุปผลการประเมินและทาการปรับปรุง ตามคาแนะนาของผเู้ ชย่ี วชาญ ระยะท่ี 5 ศึกษาผลการทดลองใช้งานระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนก คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ สู่กาลังคนดิจทิ ลั 1. เพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อ จาแนกคณุ ลกั ษณะบัณฑิตสู่กาลังคนดิจทิ ัล

7 ผ้เู ชย่ี วชำญทท่ี ำกำรประเมินระบบ คือ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร จานวน 10 คน โดยแบ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคนิค 5 คน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการ พัฒนาระบบ 5 คน ทาการทดสอบระบบระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนก คุณลักษณะบัณฑิตสู่กาลังคนดิจิทัล จากนั้นนาผลที่ได้จากการทาแบบประเมินมาทาการวิเคราะห์ผล ทางสถิตแิ ล้วสรปุ ผลเพอื่ ประเมนิ ว่าระบบท่ไี ดท้ าการพัฒนาขน้ึ มปี ระสิทธิภาพดา้ นต่างๆ อยใู่ นระดบั ใด 2. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบทานายอาชพี โดยใช้จกั รกลการเรียนรเู้ พ่ือจาแนก คุณลักษณะบัณฑิตสู่กาลังคนดิจิทัล จุดประสงค์การดาเนินการวิจัยเพื่อศึกษาผลการทดลองในการใช้ ระบบระบบระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่กาลังคน ดจิ ทิ ลั แบง่ ออกเปน็ 2 ขน้ั ตอน ดังต่อไปน้ี ข้ันตอนท่ี 1 เก็บรวบรวมข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายจากการนาระบบทานายอาชีพโดยใช้ จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่กาลังคนดิจิทัลท่ีพัฒนาข้ึนไปทาการทดลองใชง้ าน ระบบ โดยทาการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง จานวน 30 คน ขน้ั ตอนท่ี 2 วิเคราะห์ และสรุปผลการทดลองใช้ระบบ และนาระบบระบบทานายอาชพี ฯ

8 1.6 กรอบแนวคิดกำรวจิ ัย ในการทาวจิ ัยครง้ั น้ีผูว้ ิจัยไดก้ าหนดกรอบแนวคิดการทาวิจัยไว้ดังภาพท่ี 1-2 (Concept and Theory about . . 2552 (Digital Career (Digital Manpower Career Choice) Path Model) Development) (DEPA, 2018) ( , 2561) (ACS Foundation, 2018) Factors Analysis in Career 1. ( ) Prediction Modeling) 2. - 1. 3. 2. 4. 3 - (Hard Skills) - (Soft Skills) - (Personal Skills) 3. (Prediction System) 5. () 1. (User 6. - management) - 2. 7. (Prediction Data Management) (Machine Learning) 3. (Prediction Management system) 4. (Prediction display system) (Population and Sample) - 4 - (EEC) - - - - ภำพที่ 1-2 กรอบแนวคดิ การวิจยั

9 1.7 นยิ ำมคำศัพท์ 1.7.1 ระบบทานายอาชีพ หมายถึง ระบบเว็บที่ใช้สาหรับการทานายอาชีพดิจิทัลท่ีกาลังจะ เกิดขึ้น โดยมีปัจจัยขอ้ มูลในการวิเคราะห์ขอ้ มูลคณุ ลกั ษณะสว่ นบุคคลของบัณฑติ จดุ เน้นของผลลัพธ์ ในการวิจัย สามารถคน้ หาข้อมูลไดอ้ ยา่ งอตั โนมตั ดิ ้วยเทคนคิ จักรกลการเรยี นรู้ผา่ นระบบทานายอาชีพ ดิจิทัล โดยลดข้ันตอนของการสัมภาษณ์งาน โดยให้สถานประกอบการได้บัณฑิตที่มีคุณลักษณะตรง ตามสายงานดิจิทัล โดยสามารถคัดเลือกบัณฑิตได้ตามสาขาอาชีพดิจิทัลท่ีมีในระบบทานาย เป็นสารสนเทศสนับสนุนการบริหารจดั การข้อมูลภาวะการมีงานทาของบัณฑิตได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การเข้าถึง สืบค้นและออกรายงานได้อย่างรวดเร็ว ลดการใช้แรงคน ทรัพยากรและเวลาในการ ประมวลผล 1.7.1.1 ผใู้ ชง้ านระบบทานายอาชพี ดิจทิ ัล ของผูใ้ ชง้ านออกเปน็ 4 กลมุ่ ดงั ต่อไปนี้ ผู้ใชร้ ะบบ สิทธ์กิ ำรใชง้ ำน 1. นกั ศกึ ษา (Students) - จัดการขอ้ มูลประวัตสิ ว่ นตวั ผลการเรียน ข้อมูล ประสบการณ์ การศกึ ษา แฟ้มสะสมผลงาน ขอ้ มลู อน่ื ๆ ท่ีสร้างขนึ้ จากระบบทานายอาชพี โดยใช้ จกั รกลการเรียนร้ดู ว้ ยการวิเคราะหข์ อ้ มูลรายบคุ คลเพอื่ จาแนกคุณลักษณะบัณฑติ สกู่ าลังคนดจิ ิทัล - ตรวจสอบคาแนะนาจากผู้ประกอบการ 2. อาจารย์ (Teacher) - ตรวจสอบขอ้ มูลนาเข้าภาพรวมของนักศกึ ษาทผ่ี ่านการ คัดเลอื กจากระบบทานายอาชพี โดยใช้จกั รกลการเรียนรู้ ดว้ ยการวิเคราะหข์ อ้ มูลรายบุคคลเพือ่ จาแนกคุณลกั ษณะ บัณฑิตส่กู าลังคนดิจิทัล - ตรวจสอบผลการคัดเลือกเขา้ ทางาน 3. ฝา่ ยบุคคลของสถานประกอบการ - จัดทาขอ้ มูลความสามารถของอาชีพดจิ ทิ ัล (Human Resource Corporation) - จัดทาข้อมูลตาแหน่งงาน - ตรวจสอบข้อมูลของผู้สมัครงาน 4. ผดู้ ูแลระบบ (Administrators) - จัดการบญั ชีผใู้ ชง้ าน - กาหนดสิทธกิ์ ารใชง้ าน - จดั การงานอ่ืนๆ 1.7.2 การวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคล หมายถึง แนวปฏิบัติในการสร้างแบบจาลองปัจจัยที่ใช้ใน การสรา้ งแบบจาลองการระบบทานายอาชพี ซ่ึงประกอบไปดว้ ย 1.7.2.1 ข้อมูลคุณลักษณะรายบุคคลพ้ืนฐาน สาหรับใช้ในการสร้างแบบจาลองในการ ทานาย ได้แก่ ข้อมูลเพศ สาขาวิชาท่ีเรียน ผลการเรียนเฉลี่ยรวม ผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ความสามารถในตัวเอง

10 1.7.2.2 ข้อมูลคุณลักษณะของบัณฑิตท่พี งึ ประสงค์ทงั้ 3 ด้าน ประกอบด้วย 1. ทักษะหลักทาง วชิ าชีพ (Hard Skills) 2. ทักษะสง่ เสริมการทางาน (Soft Skills) 3. ทักษะสว่ นบคุ คล (Personal Skills) โดยมีคารายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี คุณลักษณะของบณั ฑติ คำอธิบำย 1. ทกั ษะหลกั ทางวิชาชพี (Hard Skills) มมี ุมมองท่ดี ีในการทางาน ร่วมกนั กับผอู้ ่ืนเพอื่ การพัฒนา 1.1 การทางานเป็นทมี ความคดิ การแบ่งปัน ความรูร้ ว่ มกับผู้อน่ื (Teamwork) 1.2 การใช้เคร่ืองมอื ทางดา้ นฮาร์ดแวร์ ทางด้านฮาร์ดแวร์ มพี นื้ ฐานการใชอ้ ปุ กรณ์ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ บนั ทกึ ขอ้ มูล อปุ กรณ์ตอ่ พ่วงประเภท ต่าง ๆ การดแู ล รักษาเคร่อื ง เปน็ ตน้ ทางด้านซอฟตแ์ วร์ มีพื้นฐาน Programming skills มีทักษะ การใช้ Software และ Tool เป็นตน้ 1.3 การทดสอบและนาเสนอ มที กั ษะการติดต่อสอ่ื สารกับลูกค้าเพ่ือการรวบรวม Requirement ของลูกค้า ทักษะการทางานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ได้เปน็ ทมี งาน และทกั ษะในการแกไ้ ขปญั หาเชิงธรุ กิจ 2. ทกั ษะสง่ เสริมการทางาน (Soft Skills) มีทักษะความสามารถเฉพาะบคุ คลในการแกป้ ญั หา ควร 2.1 ลักษณะสว่ นบุคคลท่สี ่งผลต่อ ศึกษาหา ความรทู้ างเทคโนโลยเี พ่มิ เตมิ อย่างสม่าเสมอ ความสาเรจ็ ของงาน 2.2 การสอ่ื สารทางดา้ นภาษา มีความรูความสามารถในการใชภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี 2.3 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ มีความซ่ือสตั ยสุจรติ การตรงเวลา ความมรี ะเบยี บ จรรยาบรรณวชิ าชพี วนิ ัย ความขยนั หม่นั เพียร ความรบั ผดิ ชอบตอหนาท่ี และมีจรรยาบรรณในวิชาชพี 2.4 การมีเจตคติที่ดีต่อองคก์ รและ มีความสามารถในการทางานรวมกับผูอื่น/การทางาน เพ่อื นรว่ มงาน เปน็ ทีม ความมนี ้าใจ เสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผตอผูอน่ื ความสุภาพ ออนนอมถอมตนและมีสมั มาคารวะ 3. ทักษะสว่ นบุคคล (Personal Skills) มคี วามร้พู น้ื ฐานในการใช้คอมพิวเตอร์ ได้แก่ การมี 3.1 ความรู้ ความสามารถพืน้ ฐาน ความรู้ ความเขา้ ใจ ในการใช้เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์, เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจทิ ลั คอมพิวเตอร์ งานมลั ติมเี ดยี กราฟิก เปน็ ต้น 3.2 ทกั ษะทางดา้ นปญั ญา มีความรูความสามารถทางวิชาการทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและดิจิทัลหรอื ท่ีเก่ียวของ 3.3 ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข มีความสามารถในการส่อื สารและการประสานงาน การส่อื สารและการใชเ้ ทคโนโลยี ความสามารถในการวิเคราะหเชิงตัวเลขและ วิเคราะหปัญหาทเี่ กดิ ข้นึ ในงาน

11 1.7.2.3 ข้อมูลอาชีพดิจิทัล สาหรับอาชีพท่ีใช้ในการสร้างแบบทานาย ประกอบด้วย 4 กลุ่ม ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ก ลุ่ ม ท่ี 1 Multimedia /Digital Content ก ลุ่ ม ที่ 2 Web & Mobile Design กลุ่มที่ 3 Computer Science กลุ่มท่ี 4 Network & Communication (ACS Foundation, 2018) ดังรายละเอียดตารางที่ 1-1 ตำรำงที่ 1-1 รายละเอียดของสาขาอาชีพดิจิทัล รำยละเอยี ดของสำขำอำชีพดจิ ทิ ัล กลุ่มอำชีพ 1.1 Digital Media Manager กลุ่มท่ี 1 Multimedia /Digital Content 1.2 Animator / Illustrator 1.3 Graphics Designer กลมุ่ ที่ 2 Web & Mobile Design 2.1 Webmaster/Web Designer กลุ่มที่ 3 Computer Science 2.2 Mobile Application Developer 2.3 Digital Marketer กลุ่มท่ี 4 Network & Communication 3.1 Data Scientist 3.2 System Analyst 3.3 Programmer 4.1 Network / Systems Administrator 4.2 Robotics Process Analyst 4.3 System Designer 1.7.3 จักรกลการเรียนรู้ หมายถึง การทาให้เครื่องเรียนรู้ได้จากข้อมูลตัวอย่าง หรือจาก สภาพแวดล้อม จุดมุ่งหมายคือการพัฒนาหรือปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของระบบให้ดีข้ึน เม่ือเรียนรู้แล้วความรู้ท่ีเรยี นได้จะเก็บไว้ในฐานความรู้ด้วยรปู แบบการแทนความรู้อย่างใดอย่างหน่ึง คือ กฎ ฟงั กช์ นั เข้าใจและปรบั ปรุง การเรียนรขู้ องมนุษยอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เช่น ใช้ปรับปรงุ วิธีการ ตา่ งๆ เกณฑ์ทไี่ มส่ มบูรณ์เก่ยี วกบั ขอบเขตที่กว้าง จักรกลการเรียนรู้เปน็ หน่งึ ในระบบปญั ญาประดิษฐ์ ท่ีมีความซับซ้อนไม่สามารถถูกทาให้สมบูรณ์ได้ โดยใช้มือและต้องการการปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา ในการสร้างระบบทานายอาชีพใช้การเรียนรู้แบบมีผู้สอน (Supervised Learning) เป็นอัลกอริธึม สร้างฟังก์ชนั ที่เชื่อมระหวา่ งขอ้ มลู เข้ากบั ผลทีต่ ้องการ ซึง่ มรี ายละเอียดดงั น้ี 1.7.3.1 เป็นเทคนิคหนึ่งของการเรียนรู้ของเคร่ืองซ่ึงสร้างฟังก์ชันจากข้อมูลสอน (Training data) ขอ้ มูลปัจจัยของระบบการทานายอาชพี ฯ ประกอบดว้ ยวัตถุเข้าและผลที่ต้องการ 1.7.3.2 การเรียนรู้แบบมีผูส้ อนน้นั คือการทาให้คอมพวิ เตอรส์ ามารถหาคาตอบของปัญหา ได้ด้วยตัวเอง หลงั จากเรียนรู้จากชดุ ข้อมูลตวั อย่างไปแลว้ ระยะหน่ึง 1.7.3.3 ผลจากการเรียนรู้จะเป็นฟังก์ชันที่อาจจะให้ค่าต่อเน่ือง ใช้ทานายประเภทของ ข้อมูลในระบบการทานายอาชีพฯ ทาให้เกิดการแบ่งประเภทจากการจัดหมวดหมู่ของข้อมูล (Data Classification)

12 1.7.4 กาลังคนดิจิทลั หมายถงึ การสง่ เสริมให้บัณฑิตทางานตรงตามสาขาวิชาชีพ มุ่งเน้นไปท่ี การพัฒนาบัณฑิตสู่อุตสาหกรรมดิจิทัล ส่งเสริมให้กับสถานประกอบการได้แรงงานที่เป็นบัณฑิต จบใหม่ที่ตรงตามคุณลักษณะและส่งเสริมให้บัณฑิตมีงานทา โดยระบบ ทาหน้าที่การคัดเลือก บัณฑิตที่มีคุณลักษณะตรงตามความต้องการของสถานประกอบการดิจิทัล เพื่อให้ตอบสนองต่อ ความต้องการของกาลังคนดิจิทัลในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกที่จะเกิดขึ้น โดยในการ พัฒนาระบบทานายอาชีพนี้ยังช่วยส่งเสริมให้บัณฑิตทางานได้ตรงตามสาขาอาชีพทางด้าน เทคโนโลยีดิจิทัล 1.8 ประโยชน์ของกำรวจิ ัย 1.8.1 ได้ระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพื่อจาแนกคุณลักษณะบัณฑิตสู่กาลังคน ดจิ ทิ ลั 1.8.2 ได้บัณฑติ ท่ีตรงตามคุณลักษณะท่ีผ่านระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรยี นรู้ดว้ ยการ วิเคราะห์ขอ้ มลู รายบุคคลเพอ่ื ตอบโจทยส์ ถานประกอบการดิจทิ ัลทกี่ าลงั จะเกดิ ขน้ึ 1.8.3 เปน็ เครือ่ งมอื ที่ช่วยให้สถานประกอบการลดข้ันตอนในสัมภาษณง์ านโดยสามารถคัดเลือก บัณฑิตได้ตรงตามการปฏิบัติงานจริง 1.8.4 เป็นเครื่องมือท่ีช่วยในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัยเพ่ือตอบโจทย์ กาลงั คนดิจิทัลในอนาคตตอ่ ไป สามารถดาวน์โหลดเอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ออนไลน์ (E-Book) โดยทาการ Scan QR Code


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook