Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LibUnit5

LibUnit5

Published by dekdeedusit, 2019-11-17 21:44:48

Description: LibUnit5

Search

Read the Text Version

แผนการสอนประจาํ สปั ดาหท์ ่ี 5 วชิ า ห้องสมดุ กบั การรู้สารสนเทศ รหัสวิชา 3000 – 1601 จํานวน 1 หนว่ ยกิต การบรรยายครัง้ ท่ี 5 บทที่ 5 เรื่อง การสบื ค้นข้อมลู สารสนเทศในหอ้ งสมดุ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เมื่อนักศึกษาจบบทเรยี นนแ้ี ลว้ จะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. บอกแนวคดิ ในการจัดเกบ็ ทรพั ยากรสารสนเทศให้เปน็ ระบบได้ 2. อธิบายประโยชนใ์ นการจดั เกบ็ ทรพั ยากรสารสนเทศได้ 3. บอกช่อื ระบบการจดั เก็บหนังสอื เป็นหมวดหมูท่ น่ี ยิ มได้ 4. อธบิ ายหลักการจดั หมวดหม่หู นังสือในระบบทศนิยมดวิ อไี้ ด้ 5. อธบิ ายหลักการจดั หมวดหมูห่ นังสือในระบบหอสมุดรฐั สภาอเมรกิ นั ได้ 6. อธิบายความหมายของเลขหมูห่ นังสอื และเลขเรยี กหนงั สอื ได้ 7. บอกความหมายของสัญลักษณ์เพ่มิ เติมในการจดั หมวดหมู่หนงั สอื ได้ 8. อธบิ ายหลกั การจดั เรียงหนังสือขนึ้ ชนั้ ได้ 9. อธิบายหลักการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ใช่หนงั สอื ได้ สาระการเรียนรู้ 1. การจดั เกบ็ ทรพั ยากรสารสนเทศใหเ้ ปน็ ระบบ 2. ระบบการจดั เก็บหนังสือเป็นหมวดหมทู่ น่ี ิยม 3. เลขหมู่หนงั สอื และเลขเรยี กหนังสือ 4. หลกั การจัดเรยี งหนงั สอื ขน้ึ ชัน้ 5. หลกั การจดั หมวดหม่ทู รพั ยากรสารสนเทศทไ่ี มใ่ ช่หนังสือ กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. ครอู ธบิ ายและสาธติ การสบื ค้นข้อมลู สารสนเทศในหอ้ งสมุด 2. ครใู ห้นกั ศึกษาอภปิ รายและฝึกการสืบคน้ สารสนเทศในหอ้ งสมุด ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ าห้องสมดุ กับการรูส้ ารสนเทศ 2. งานนาํ เสนอเร่อื ง การสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศในหอ้ งสมดุ วธิ วี ัดและประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ การมีสว่ นรว่ มในการอภิปรายและการเข้าชน้ั เรียน 2. การซักถามเพอื่ ทดสอบความเขา้ ใจของนกั ศึกษา 3. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าห้องสมุดกับการร้สู ารสนเทศ บทที่ 5 การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 98 บทที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศในหอ้ งสมุด การสืบค้นข้อมูลสารสนสนเทศที่มีมากทั้งปริมาณและประเภทน้ัน ควรทําความเข้าใจถึง แนวคิดในการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ เพื่อให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้ตรงกับความต้องการ ครบถ้วนและรวดเร็ว เช่น หลักการจัดเก็บหนังสือน้ันจะทําการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่ตามประเภท ของเนื้อหาหรือลักษณะการประพันธ์ การจัดเก็บวารสารบนชั้น จัดเรียงตามลําดับตัวอักษรแรก ของชื่อวารสาร เป็นต้น 5.1 แนวคิดในการจดั ทรพั ยากรสารสนเทศใหเ้ ปน็ ระบบ การให้บริการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดหรือสถาบันบริการสารสนเทศรูปแบบอื่นซ่ึงมี ทรัพยากรสารสนเทศจํานวนมากและหลากหลายประเภทด้วยกัน จึงต้องจัดเก็บแยกประเภท เปน็ หมวดหมูเ่ พื่อความสะดวกในการคน้ หาและจดั เกบ็ สารสนเทศนัน้ ๆ แนวคิดในการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดมีหลักการเช่นเดียวกับการจัดระบบสินค้า ในซูเปอร์มาเก็ตที่มีการจําแนกสินค้าออกเป็นหมวดหมู่ เช่น หมวดเคร่ืองเขียน หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หมวดผัก ผลไม้สด เป็นต้น ซึ่งสินค้าทุกชนิดจะมีป้ายแจ้งให้ลูกค้าทราบว่า อยู่ตําแหน่งใด พร้อมปา้ ยราคาทีเ่ ปน็ ตัวเลขหรือรหสั สินค้ากาํ กบั จัดเก็บไวใ้ นชั้นเปดิ เพ่ือให้ลูกค้าเลือก หยบิ สนิ ค้าไดด้ ว้ ยตนเองอยา่ งสะดวก 5.2 ประโยชน์ของการจดั เกบ็ ทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระบบ การจดั เก็บสารสนเทศให้เป็นระบบเพ่อื ประโยชนส์ ําหรับผใู้ ช้และเจ้าหนา้ ทีห่ ้องสมดุ ดงั ตอ่ ไปนี้ 5.2.1 ผู้ใช้และเจ้าหน้าท่ีห้องสมุดสามารถค้นหาทรัพยากรสารสนเทศท่ีต้องการได้อย่างสะดวก รวดเรว็ เนอ่ื งจากการกาํ หนดเลขเรียกหนงั สือหรอื สญั ลักษณท์ ่สี นั หนังสือเพื่อบอกเน้ือหาและตําแหน่ง ที่เก็บหนังสือบนช้ัน ผู้ใช้สามารถค้นได้จากบัตรรายการหรือค้นจากระบบสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ เพ่ือตรงไปยังเลขเรียกหนังสือท่ีต้องการได้ทันที และในส่วนของเจ้าหน้าท่ีห้องสมุดสามารถเก็บ ทรัพยากรสารสนเทศขน้ึ ชั้นไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง 5.2.2 ผู้ใช้มีโอกาสเห็นหนังสือที่มีเนื้อหาหรือลักษณะการประพันธ์ใกล้เคียงกันพร้อมกันหลายๆ เลม่ เพอ่ื พิจารณาเปรียบเทยี บและเลือกใชไ้ ด้ตรงตามความต้องการ

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าหอ้ งสมดุ กับการรู้สารสนเทศ บทที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศในห้องสมดุ 99 5.2.3 ทําให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดทราบถึงประเภทของหนังสือท่ีมีอยู่ในห้องสมุดว่ามีหนังสือ ในหมวดใดมากน้อยเพียงใดเพ่อื พจิ ารณาจัดซือ้ เพ่ิมเตมิ 5.2.4 กรณที ่เี ปน็ หนังสอื ท่ีจดั ซ้ือมาใหม่ สามารถจัดหมวดหมู่หนังสือเพ่ือนํามาวางรวมกับหนังสือ ท่ีอยูก่ ่อนสําหรับใหบ้ รกิ ารไดท้ นั ที 5.3 ความหมายของการจดั หมหู่ นงั สือ การจัดหมู่หนังสือ หมายถึง การจัดแบ่งหรือแยกประเภทของหนังสือท่ีมีเน้ือหาหรือลักษณะ การประพันธ์อย่างเดียวกันเข้าไว้ด้วยกัน โดยมีการกําหนดสัญลักษณ์ซึ่งเป็นตัวเลข ตัวอักษรหรือ ทั้งตัวเลขและตัวอักษรร่วมกัน เพ่ือแทนเน้ือเร่ืองของหนังสือนั้นๆ เพ่ือความสะดวกในการค้นหาและ จดั เก็บ ระบบการจัดหมู่หนังสือที่สําคัญและได้รับความนิยมใช้กันแพร่หลายทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ มี 2 ระบบ ได้แก่ ระบบทศนยิ มดิวอี้ และระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน 5.4 การจดั หม่หู นังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) การจัดหมู่หนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้หรือเรียกสั้นๆ ว่า ระบบดิวอ้ี หรือระบบดีซี (D.C.) หรือ ระบบดีดีซี (D.D.C) น้ี เป็นการจัดหนังสือที่คิดค้นขึ้นเม่ือปี ค.ศ. 1876 โดยบรรณารักษณ์ชาวอเมริกัน ชื่อเมลวิล ด้ิวอี้ (Melvil Dewey) นิยมใช้กันมากทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เหมาะกับการจัด หนังสือในห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมดุ วิทยาลยั ห้องสมุดประชาชนและห้องสมดุ ขนาดเลก็ รปู ที่ 5.1 เมลวลิ ดิว้ อี้ (Melvil Dewey) (พ.ศ. 2394 -2474)

เอกสารประกอบการเรียนวิชาห้องสมุดกบั การรสู้ ารสนเทศ บทที่ 5 การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 100 การแบ่งหมู่หนังสือโดยใช้สัญลักษณ์ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์แทนเน้ือหาของหนังสือ แบ่งออกเป็น 10 หมู่ใหญ่ โดยใช้เลขหลักร้อย ต้ังแต่ 000 – 900 แล้วใช้จุดทศนิยมในการแบ่งเน้ือหาย่อยลงไปอีก การกําหนดเลขแทนเนื้อหาต่างๆ นั้น ดิวอ้ีได้ยึดหลักการวิวัฒนาการของมนุษย์ดังน้ี (พวา พันธ์ุเมฆา, 2528 : 10-16) หมวด หลักวิวัฒนาการของมนษุ ย์ 000 เบ็ดเตลด็ หรือความรทู้ ว่ั ไป ดิวอีเ้ พ่มิ ข้นึ สําหรับหนงั สอื ที่ไมอ่ าจจดั ไว้หมวดใดได้ 100 ปรัชญา วิชาที่มนุษย์อยากทราบวา่ ตนเองคอื ใคร เกดิ มาจากไหน เกดิ มาทําไม 200 ศาสนา วิชาที่มนษุ ยต์ ้องการเครอื่ งยึดเหนีย่ วและท่ีพึง่ ทางใจ ต้องการหลุด พน้ จากความทกุ ข์ 300 สังคมศาสตร์ วชิ าทีก่ ลา่ วถงึ ความสมั พันธข์ องมนุษย์ เม่อื มนุษย์มาอยรู่ วมกันเป็น สังคมก็ต้องมกี ารปกครอง กฎหมาย การศึกษา การพาณิชย์ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เปน็ ตน้ 400 ภาษาศาสตร์ วชิ าที่ชว่ ยในการส่ือสารของมนษุ ยใ์ หเ้ ขา้ ใจกนั 500 วิทยาศาสตร์ วิชาที่มนุษย์ต้องการทราบความจริงของธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมท่อี ยู่ รอบๆ ตัว 600 วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ วิชาที่มนุษย์เอาความรู้จากธรรมชาตมิ าประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ตอ่ ชวี ติ ประจาํ วนั 700 ศลิ ปะและนนั ทนาการ วิชาทม่ี นษุ ย์สรา้ งสรรค์ขึน้ เพือ่ ความจรรโลงใจ พักผอ่ นหยอ่ นใจ 800 วรรณคดี วชิ าที่มนุษยต์ อ้ งการแสดงความคิด ความประทับใจไวด้ ้วยสญั ลักษณ์ ท่เี ปน็ ตัวอกั ษร 900 ประวัตศิ าสตร์ วชิ าทม่ี นุษยไ์ ดบ้ ันทึกเหตุการณท์ ่ีเกดิ ขนึ้ ในยคุ สมยั ต่างๆ เพอื่ ใหค้ น รุ่นหลงั ไดท้ ราบ

เอกสารประกอบการเรียนวิชาหอ้ งสมุดกบั การรู้สารสนเทศ บทที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในห้องสมดุ 101 ในแตล่ ะหมวดใหญจ่ ะแบง่ เป็นหมวดยอ่ ยครง้ั ท่ี 2 เปน็ 9 หมู่ ดงั นี้ หมวด 000 เบ็ดเตล็ดและความรทู้ วั่ ไป หมวด 100 ปรชั ญา 010 บรรณานกุ รม แคตตาลอ็ ก 110 อภิปรัชญา 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตผุ ล 030 หนังสอื รวบรวมความรทู้ ว่ั ไป ความเปน็ มนษุ ย์ สารานกุ รม 130 จติ วทิ ยานามธรรม 040 ยังไม่กําหนดใช้ 140 แนวความคิดปรชั ญาเฉพาะกล่มุ 050 สิง่ พิมพต์ ่อเนอื่ ง วารสาร และดรรชนี 150 จติ วทิ ยา 060 องค์การและพพิ ิธภณั ฑวทิ ยา 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา 070 ส่อื ใหม่ วารสารศาสตร์ การพมิ พ์ 170 จรยิ ศาสตร์ ศีลธรรม 080 ชุมนมุ นิพนธ์ 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมยั กลาง ตะวนั ออก 090 ต้นฉบับตวั เขยี น หนงั สอื หายาก 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ หมวด 200 ศาสนา หมวด 300 สงั คมศาสตร์ 210 ศาสนาธรรมชาติ 310 สถิติศาสตร์ 220 คมั ภรี ไ์ บเบิล 320 รฐั ศาสตร์ การเมือง การปกครอง 230 เทววทิ ยาตามแนวครสิ ตศ์ าสนา 330 เศรษฐศาสตร์ 240 ศลี ธรรมชาวครสิ ต์ การอุทิศเพอ่ื ศาสนา 340 กฎหมาย 250 คริสตศ์ าสนาในทอ้ งถ่นิ และระเบยี บแบบแผนปฏบิ ัติ 350 รัฐประศาสนศาสตรแ์ ละวิทยาการทหาร 260 สังคมชาวครสิ ต์ เทววิทยาทางศาสนา 360 การบริการสังคม และสมาคม 270 ประวตั คิ ริสตศ์ าสนา 370 การศกึ ษา 280 นกิ ายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา 380 การพาณชิ ย์ การสือ่ สาร การขนสง่ 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอ่ืนๆ 390 ประเพณี ขนบธรรมเนยี ม คตชิ นวทิ ยา หมวด 400 ภาษาศาสตร์ หมวด 500 วทิ ยาศาสตร์ 410 ภาษาศาสตร์ 510 คณติ ศาสตร์ 420 ภาษาอังกฤษ 520 ดาราศาสตร์ 430 ภาษาเยอรมัน 530 ฟิสกิ ส์ 440 ภาษาฝรัง่ เศส ภาษาโรมานซ์ 540 เคมี 450 ภาษาอติ าลี ภาษาโรมัน 550 วิทยาศาสตร์โลก 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตเุ กส 560 บรรพชีวนิ วิทยา 470 ภาษาละติน 570 ชีววทิ ยา 480 ภาษากรกี 580 พฤกษศาสตร์ 490 ภาษาอ่นื ๆ 590 สัตววิทยา

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาหอ้ งสมุดกับการรู้สารสนเทศ บทที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 102 หมวด 600 วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี หมวด 700 ศลิ ปกรรม การบันเทงิ 610 แพทยศาสตร์ 710 ภูมิสถาปตั ย์ 620 วศิ วกรรมศาสตร์ 720 สถาปัตยกรรม 630 เกษตรศาสตร์ 730 ประติมากรรม 640 คหกรรมศาสตร์ ชวี ิตครอบครวั 740 การวาดเขียน มณั ฑนศลิ ป์ 650 การจดั การธรุ กจิ 750 จิตรกรรม ภาพเขยี น 660 วิศวกรรมเคมี 760 ศิลปะการพิมพ์ ศลิ ปะกราฟิก 670 โรงงานอตุ สาหกรรม 770 การถา่ ยรปู ภาพถ่าย 680 สินคา้ ทผี่ ลิตจากเคร่ืองจักร 780 ดนตรี 690 การกอ่ สร้าง 790 การบันเทงิ นันทนาการ กฬี า หมวด 800 วรรณกรรม วรรณคดี หมวด 900 ประวตั ิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 810 วรรณคดอี เมรกิ นั ในภาษาองั กฤษ 910 ภมู ิศาสตร์ การทอ่ งเทีย่ ว 820 วรรณคดภี าษาอังกฤษ 920 ชีวประวัติ เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ 930 ประวัตศิ าสตร์ยคุ โบราณ ภาษาอังกฤษโบราณ 940 ประวตั ิศาสตร์ยโุ รป โลกตะวันตก 830 วรรณคดภี าษาเยอรมนั 950 ประวัตศิ าสตร์เอเชีย 840 วรรณคดภี าษาฝร่งั เศส โลกตะวันออก ภาษาโรมานซ์ 960 ประวตั ิศาสตรแ์ อฟริกา 850 วรรณคดภี าษาอติ าลี ภาษาโรมนั 970 ประวตั ศิ าสตรอ์ เมริกาเหนือ 860 วรรณคดภี าษาสเปน ภาษาโปรตุเกส 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ 870 วรรณคดภี าษาละติน 990 ประวตั ิศาสตรส์ ่วนอนื่ ๆ ของโลก 880 วรรณคดภี าษากรกี 890 วรรณคดภี าษาอ่นื ๆ แตล่ ะหมยู่ ่อยยังแบง่ ออกเป็น 9 หมู่ยอ่ ย เช่น ตวั อยา่ งหมวดย่อย 330 แบง่ ออกเป็นหมูย่ อ่ ยดังน้ี 330เศรษฐศาสตร์ 331 เศรษฐศาสตรแ์ รงงาน 332 เศรษฐศาสตรก์ ารเงนิ 333 เศรษฐศาสตรท์ ี่ดิน 334 สหกรณ์ 335 ระบบสังคมนิยมและระบบท่เี กี่ยวขอ้ ง 336 การคลงั ของรัฐ 337 เศรษฐศาสตรร์ ะหว่างประเทศ

เอกสารประกอบการเรียนวิชาหอ้ งสมุดกบั การรู้สารสนเทศ บทที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศในห้องสมดุ 103 338 ผลผลติ ทางการเกษตร 339 เศรษฐศาสตรม์ หภาค แต่ละหมู่ย่อย ยงั แบง่ ละเอียดออกไปอีก โดยใชจ้ ุดทศนิยม ตวั อยา่ งเช่น 332 เศรษฐศาสตร์การเงนิ 332.1 ธนาคารและการธนาคาร 332.11 ธนาคารกลางของประเทศ ธนาคารแหง่ ชาติ 332.12 ธนาคารพาณิชย์ 332.178 บริการพเิ ศษ เช่น บัตรเครดติ 332.21 สถาบนั การให้เครดิตทางการเงนิ และการกู้เงิน 332.4 เงินตรา 332.6 การลงทนุ 332.673 การลงทุนระหวา่ งประเทศ 332.75 การลม้ ละลาย 332.9 การปลอมแปลงเงินตรา 5.5 การจัดหมหู่ นงั สอื ในระบบหอสมดุ รฐั สภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) การจัดหมู่หนังสือในระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเรียกย่อๆ ว่า ระบบแอลซี (L.C.) คิดค้น ขึ้นในปี ค.ศ. 1899 โดยดร.เฮอร์เบิร์ต พุทนัม (Dr.Herbert Putnum) ขณะทําหน้าท่ีบรรณารักษ์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ซ่ึงเป็นห้องสมุดท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดในโลก ตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตัน ประเทศ สหรัฐอเมริกา การจัดแบ่งหมวดหมู่หนังสือจัดตามสาขาต่างๆ ที่มีอยู่ในห้องสมุด โดยใช้ตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่และตัวเลข จําแนกหมวดวิชาต่างๆ ออกเป็น 20 หมวดใหญ่ ใช้ตัวอักษรโรมัน A – Z ยกเวน้ I O W X Y ผสมกับตวั เลขอารบิคตั้งแต่ 1 – 9999 รูปท่ี 5.2 ดร.เฮอรเ์ บริ ์ต พทุ นมั (Dr.Herbert Putnum) (พ.ศ. 2404 - 2498)

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าหอ้ งสมดุ กบั การรสู้ ารสนเทศ บทท่ี 5 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในหอ้ งสมุด 104 ระบบแอลซนี ีน้ ยิ มใช้ในหอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั หรือห้องสมดุ ทม่ี ขี นาดใหญ่ ดงั มหี มวดหลกั ต่อไปน้ี A ความรู้ทั่วไป (General Works) K กฎหมาย (Law) B ปรัชญา จิตวทิ ยา ศาสนา (Philosophy L การศกึ ษา (Education) M ดนตรี (Music and Books on Music) Psychology, Religion) N ศิลปกรรม (Fine Arts) C ศาสตร์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับประวตั ิศาสตร์ P ภาษาและวรรณคดี (Philology and (Auxiliary Sciences of History) Literatures) D ประวตั ศิ าสตร์ทัว่ ไปและประวัติศาสตร์ Q วทิ ยาศาสตร์ (Science) R แพทยศาสตร์ (Medicine) โลกเก่า (History : General and Old S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) World) T เทคโนโลยี (Technology) E-F ประวตั ิศาสตร์ : อเมรกิ า (History : U ยทุ ธศาสตร์ (Military Science) America) V นาวกิ ศาสตร์ (Naval Science) G ภมู ิศาสตร์ โบราณคดี นันทนาการ Z บรรณานุกรม และบรรณารักษศาสตร์ (Geography, Antropology, Recreation) (Bibliography, Library Science) H สงั คมศาสตร์ (Social Sciences) J รัฐศาสตร์ (Political Science) แต่ละหมวดใหญ่ แบง่ ออกเปน็ หมู่ยอ่ ยโดยใช้อกั ษรโรมนั พมิ พ์ใหญ่ 2 ตัว ยกเว้นหมวด E-F และ Z ซ่งึ ใชต้ วั อกั ษรตัวเดยี วกับตัวเลข ตวั อยา่ งหมวด B แบง่ ออกเป็น 14 หมวดยอ่ ยดงั น้ี B ปรชั ญา BP ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ BC ตรรกวทิ ยา BQ พทุ ธศาสนา BD ปรชั ญาพยากรณ์ อภปิ รชั ญา BR ศาสนาคริสต์ BF จติ วิทยา BS คมั ภรี ไ์ บเบิล BH สุนทรียศาสตร์ BT เทววทิ ยาเชิงคริสต์ศาสตร์ BJ จรยิ ศาสตร์ BV เทววทิ ยาภาคปฏิบตั ิ BL ศาสนาต่าง ๆ เทพปกรณัม BX ครสิ ตศาสนานกิ ายต่าง ๆ BM ศาสนายวิ

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาห้องสมุดกบั การร้สู ารสนเทศ บทท่ี 5 การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 105 5.6 เลขเรยี กหนังสอื หนังสือทุกเล่มเมื่อจะนํามาจัดไว้ในชั้นของห้องสมุด จะมีการกําหนดสัญลักษณ์สําหรับแทน ตําแหน่งหนังสือแต่ละเล่มเพ่ือใช้ในการจัดวางและเลือกใช้ของผู้อ่านได้โดยสะดวก ดังรายละเอียด ตอ่ ไปนี้ 5.6.1 ความหมายของเลขเรยี กหนงั สือ เลขเรียกหนังสือ หมายถึง สัญลักษณ์ท่ีประกอบด้วยตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อ่ืนๆ ที่ห้องสมุดกําหนดข้ึนเพ่ือใช้แทนเน้ือหาของหนังสือแต่ละเล่ม เพ่ือบอกตําแหน่งที่อยู่ของหนังสือ บนชน้ั เลขเรยี กหนงั สอื จะปรากฏอยใู่ นตําแหนง่ ตา่ งๆ ของหนงั สือดงั น้ี 1) มุมซ้ายบนของบัตรรายการ 2) ที่สันหนังสือ 3) ท่ีซองบัตรหนังสือ 4) ท่ีบัตรหนังสือ สําหรับใช้ในการค้นหาและยืมคืนได้สะดวก รวดเรว็ Call Numbers รปู ท่ี 5.1 แสดงเลขเรียกหนังสอื 5.6.2 ส่วนประกอบของเลขเรียกหนังสือ ส่วนประกอบหลักของเลขเรียกหนังสือได้แก่ เลขหมู่หนังสือและเลขหนังสือ ดังรายละเอียด ตอ่ ไปนี้ 5.6.2.1 เลขหมู่หนังสือ หมายถึง ตัวเลขท่ีใช้เป็นสัญลักษณ์แทนเน้ือหาหรือประเภทของ หนังสือ 5.6.2.2 เลขหนังสือ หมายถึง ตัวอักษรแรกของชื่อผู้แต่งชาวไทย หรือตัวอักษรแรกของ นามสกุลชาวตะวนั ตก เลขผ้แู ตง่ และตวั อักษรตัวแรกของชอื่ หนงั สือ ดงั ตัวอยา่ งในรูป

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ บทที่ 5 การสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 106 ตวั อกั ษรแรกของช่ือผูแ้ ต่ง 558.2 เลขหมู่หนังสือ จ452ป เลขหนงั สอื เลขผู้แตง่ ตัวอักษรแรกของชื่อหนงั สอื รปู ท่ี 5.3 แสดงตวั อย่างเลขเรียกหนงั สือ เลขผู้แต่ง เป็นตัวเลขที่ห้องสมุดกําหนดขึ้นเพ่ือให้เกิดความแตกต่างกรณีที่ผู้แต่ง มีชอื่ ขน้ึ ตน้ ดว้ ยตวั อักษรแรกตวั เดียวกันและเขยี นหนงั สอื ในหมวดเดียวกนั ตวั อักษรแรกของชอื่ หนงั สือ หากมีหนงั สอื ไม่มากนกั อาจไม่ใช้ก็ได้ นอกจากนี้ยงั มีอกั ษรประกอบเลขหมอู่ นื่ ๆ อกี ได้แก่ 5.6.2.3 ตัวอักษรบอกเล่มที่ซ้ํากันของหนังสือ เช่น ฉ. 1 หมายถึง ฉบับท่ี 1, ฉ. 2 หมายถึง ฉบับท่ี 2, ฉ. 3 หมายถงึ ฉบับที่ 3 เป็นตน้ 5.6.2.4 ตัวอักษรบอกแผนกของหนังสือ เช่น ย หมายถึง หนังสือเด็กและเยาวชน เป็นต้น 5.6.2.5 เลขปีท่ีพิมพ์ กรณที ี่ไมใ่ ชห่ นังสือท่พี มิ พ์ข้ึนเปน็ ครั้งแรก 5.6.3 ตวั อยา่ งเลขเรียกหนงั สอื ระบบทศนยิ มดวิ อ้ี หนังสือช่อื วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ แต่งโดย โอภาส เอี่ยมสริ ิวงค์ กําหนดเป็นเลขเรยี กหนงั สอื ได้ดงั ตอ่ ไปน้ี ตวั อักษรแรกของชื่อผแู้ ต่ง 004 เลขหมู่หนงั สอื ตวั อกั ษรแรกของชอื่ ผูแ้ ตง่ อ421ว เลขหนงั สอื เลขผูแ้ ต่ง ตัวอกั ษรแรกของชอ่ื หนังสือ อ อกั ษรบอกแผนกของหนังสอื อ้างอิง 722.4 เลขหมู่หนังสือ น149บ ตวั อักษรแรกของช่อื หนังสอื เลขผู้แต่ง

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าห้องสมุดกับการรูส้ ารสนเทศ บทท่ี 5 การสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศในห้องสมุด 107 ว อักษรบอกแผนกของหนังสอื วิทยานิพนธ์ 371.33 เลขหมู่หนงั สอื ช112พ ตวั อกั ษรแรกของช่อื ผแู้ ต่ง ตัวอกั ษรแรกของชือ่ หนังสือ เลขผ้แู ตง่ รูปที่ 5.4 แสดงตวั อย่างเลขเรียกหนงั สอื ระบบทศนยิ มดวิ อี้ 5.6.4 ตวั อยา่ งเลขเรยี กหนังสือระบบหอสมุดรฐั สภาอเมรกิ นั หนงั สอื ดา้ นคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ชอ่ื คอมพวิ เตอร์ในแวดวงธุรกจิ แตง่ โดย กฤษณพนั ธ์ สุพรรณโรจน์ QA อกั ษรบอกแผนกของหนังสอื วทิ ยานิพนธ์ 76.5 เลขหมู่หนงั สือ ก4ค ตวั อกั ษรแรกของชื่อผู้แต่ง ตวั อักษรแรกของชือ่ หนังสือ เลขผแู้ ตง่ หนังสือ ทฤษฎเี ศรษฐศาสตร์ แต่งโดย วันชาติ พุทธคุณ HB อักษรบอกแผนกของหนงั สอื วิทยานิพนธ์ 31 เลขหมู่หนังสอื ว115ท ตวั อกั ษรแรกของชอื่ ผแู้ ต่ง ตัวอกั ษรแรกของช่อื หนังสือ เลขผู้แตง่ รูปที่ 5.5 แสดงตัวอย่างเลขเรียกหนงั สือระบบหอสมดุ รัฐสภาอเมริกัน

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าห้องสมดุ กบั การรสู้ ารสนเทศ บทท่ี 5 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 108 5.7 การจัดหมหู่ นงั สอื ดว้ ยสญั ลกั ษณ์ สําหรับหนังสือบางประเภท จําเป็นต้องใช้สัญลักษณ์เพ่ิมเติมจากเลขเรียกหนังสือเดิมที่มีอยู่ เพ่ือแสดงประเภทของเล่ม จํานวนฉบับของหนังสือ หรือเพ่ือระบุประเภทหนังสือท่ีผู้อ่าน ใหค้ วามสาํ คัญในด้านการใชภ้ าษาหรอื การดําเนนิ เรื่องมากกว่าสาระทางวิชาการ ตวั อยา่ งดงั ตอ่ ไปน้ี 5.7.1 สัญลักษณ์แทนเลขหมู่ มักใช้กับหนังสือประเภทบันเทิงคดีเพื่อระบุประเภทของหนังสือ นนั้ ๆ ได้แก่ ประเภทของหนงั สือ ตวั อกั ษรภาษาไทย ตวั อกั ษรภาษาภาษาอังกฤษ นวนิยาย น หรอื นว F หรือ Fic (Fiction) แบบเรียน บ C หรือ C.L. (Curriculum Laboratory) เร่อื งส้ัน ร.ส. SS (Short Story) หรอื SC (Short Story Collection) หนงั สือเดก็ และเยาวชน ย E (Easy Book) หรอื J (Juvenile Literature) หนังสือฉบับกระเป๋า, พ P (Pocket Book) หนังสือพ็อกเก็ตบ๊คุ หนังสือชีวประวตั ิ ช B (Biography) วทิ ยานพิ นธ์ ว หรือ วจ (วิจยั ) หรือ Thesis ปพ (ปรญิ ญานิพนธ)์ หนงั สืออา้ งองิ อ R หรอื Ref (Reference) หนังสือคมู่ อื ครู ค - หนังสืออนุสรณง์ านศพ อน - 5.7.2 สญั ลักษณท์ รี่ ะบุปที พ่ี มิ พ์ของหนังสือ ใช้ในกรณีท่ีห้องสมุดมีหนังสือชื่อเร่ืองเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน แต่มีการพิมพ์หลายคร้ัง จึงตอ้ งระบุปีทพ่ี มิ พ์เพือ่ ใหท้ ราบว่าฉบบั ใดทันสมยั กว่า ตวั อย่างเช่น 282.50 282.50 บ325ก บ325ก 2548 2552 ปที ่ีพิมพ์หนงั สือ

เอกสารประกอบการเรียนวิชาหอ้ งสมุดกับการรู้สารสนเทศ บทที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในหอ้ งสมุด 109 5.7.3 สญั ลักษณท์ บ่ี อกฉบบั ทซี่ ้ํา ใช้ในกรณีที่ในห้องสมุดมีหนังสือชื่อเร่ืองเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียวกันมากกว่า 1 ฉบับ ใช้สัญลักษณ์ ฉ แทนฉบับที่ซ้ําของหนังสือภาษาไทย และตัวอักษร C (Copy) สําหรับหนังสือต่างประเทศ ตัวอย่างเชน่ 059.7 432.7 ป456ร Ap432B ฉ. 2 C. 2 ฉบับที่ซ้ํา 5.7.4 สัญลกั ษณบ์ อกลําดบั เล่มหรอื หนังสอื ชดุ ทมี่ ีหลายเล่มจบ ใช้สญั ลกั ษณ์ ล หรือ V (Volume) ตัวอย่างเช่น 295.3 295.3 295.3 295.3 พ892ธ พ892ธ พ892ธ พ892ธ ล. 1 ล. 2 ล. 3 ล. 4 ลาํ ดบั ของเลม่ 5.8 หลักการเรียงหนงั สือขนึ้ ช้ัน การจัดเรียงหนังสือข้ึนบนช้ัน จะจัดเรียงตามเลขเรียกหนังสือท่ีปรากฏอยู่บนสันหนังสือ โดยมีหลกั การจัดเรียงดงั ต่อไปน้ี 5.8.1 หนังสือวิชาการหรือหนังสือสารคดีท่ัวไป กรณีที่จัดหมู่ตามระบบทศนิยมดิวอี้ จะจัดเรียงจากเลขหมู่น้อยไปหาเลขหมู่มาก กรณีจัดหมู่ตามระบบแอลซี จะจัดเรียงตามตัวอักษร A – Z โดยอาจเรียงแยกกันระหว่างหนังสือภาษาไทยกับหนังสือภาษาต่างประเทศ หรืออาจเรียง รวมกันก็ได้ ตัวอย่างเชน่ 700 710 800.10 800.79 บ467ก ป329ง ง495ป ป447จ

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าหอ้ งสมุดกับการรสู้ ารสนเทศ บทท่ี 5 การสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศในหอ้ งสมุด 110 5.8.2 การจดั วางเรียงหนังสือบนชั้น เรยี งจากซา้ ยไปขวา จากบนลงล่าง ดังแสดงตัวอย่างในรปู 14 25 36 5.8.3 หนงั สอื ท่ีใชส้ ญั ลักษณ์อืน่ แทนเลขหมู่ เชน่ หนงั สือนวนยิ าย เรือ่ งสน้ั จะจัดเรยี งลาํ ดับ ตามเลขผ้แู ตง่ เชน่ นว นว นว นว ก495จ จ467ง ป447ฉ ห446ป 5.8.4 หนงั สือท่ีเลขหม่ซู ้ํากนั จัดเรยี งตามลาํ ดบั อกั ษรชื่อผ้แู ต่ง หากอักษรชอื่ ผู้แต่งซํา้ กนั ให้เรยี ง จากเลขผแู้ ต่งน้อยไปหามาก เชน่ 870 870 870 870 น112ก น321ป น741ฉ น943จ 5.8.5 หนงั สือท่ีมีเลขหมซู่ ํ้ากัน หรอื อกั ษรแทนเลขหม่เู หมือนกัน อักษรตัวแรกของช่ือผู้แตง่ และ เลขผแู้ ตง่ ซํ้ากนั (ผแู้ ต่งคนเดยี วกัน) ให้จัดเรยี งจากตวั อกั ษรแรกของชือ่ หนงั สอื เชน่ 781 781 781 781 781 ก828น ก828ป ก828ม ก828ย ก828ห

เอกสารประกอบการเรียนวิชาหอ้ งสมดุ กบั การรู้สารสนเทศ บทที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 111 5.8.6 หนังสอื ชุด มีหลายเลม่ จบ ใหจ้ ัดเรียงตามลาํ ดับเลขเล่ม (ล.) จากน้อยไปหามาก เช่น 494.3 494.3 494.3 494.3 พ829ธ พ829ธ พ829ธ พ829ธ ล.1 ล.2 ล.3 ล.4 5.8.7 หนงั สอื เรื่องเดียวกัน แตม่ ีหลายฉบับ ให้จัดเรียงตามลาํ ดับเลขฉบบั (ฉ.) จากนอ้ ยไปหามาก เชน่ 625.10 625.10 625.10 625.10 ส265ค ส265ค ส265ค ส265ค ฉ. 2 ฉ.3 ฉ.4 5.9 การจดั หมทู่ รพั ยากรสารสนเทศท่ีไมใ่ ช่หนงั สือ นอกจากหนังสือแล้ว ห้องสมุดยังมีทรัพยากรสารสนเทศอื่นท่ีมิใช่หนังสืออีกหลายประเภท ที่มี ลักษณะและรูปลกั ษณ์เฉพาะจําเปน็ ต้องให้สญั ลักษณเ์ พ่อื บง่ บอกรปู แบบของสื่อดว้ ย ได้แก่ 5.9.1 การเรยี งวารสารข้นึ ช้นั เนื่องจากเน้ือหาในวารสารมีหลากหลาย แตกต่างกันไป จึงไม่นิยมจัดตามหมวดหมู่ แต่จะ จัดเรียงตามลําดับชื่ออักษรของวารสารจากตัวอักษร ก – ฮ จากซ้ายไปขวา จากบนลงล่างเช่นเดียวกับ หนงั สอื ตวั อยา่ งเชน่ ขวญั เรอื น คอมพวิ เตอร์ทเู ดย์ บา้ นและสวน มติชนสดุ สปั ดาห์ วารสารฉบบั ปัจจบุ ันจะวางอยู่บนช้นั เอียง ส่วนฉบบั ล่วงเวลาจะวางอยู่บนช้นั ตรงใต้วารสาร พร้อมกบั ปา้ ยช่อื กํากับเพอื่ ใหส้ งั เกตได้งา่ ยดว้ ย ป้ายชื่อวารสาร เรียงตามอกั ษรแรก ของชื่อวารสาร ชั้นวางวารสารฉบบั ปัจจุบัน ชัน้ วางวารสารฉบบั ล่วงเวลา รูปที่ 5.6 แสดงการวางวารสารบนช้ันวางวารสาร

เอกสารประกอบการเรียนวิชาหอ้ งสมดุ กับการรู้สารสนเทศ บทท่ี 5 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในหอ้ งสมุด 112 5.9.2 การเรียงหนังสือพิมพ์ โดยปกติห้องสมุดจะนําหนังสือพิมพ์ใส่ไม้หนีบ แล้ววางไว้บนท่ีวางหนังสือพิมพ์โดยเฉพาะ และเปล่ียนฉบบั ใหมท่ ุกวัน สําหรับฉบับล่วงเวลาจะจัดวางไว้ท่โี ต๊ะอ่านหนังสือทม่ี ีที่เก็บต่างหาก รูปที่ 5.7 แสดงทวี่ างหนังสอื พมิ พ์ 5.9.3 การเรยี งจลุ สารและกฤตภาค วารสารและกฤตภาคจะจัดเรียงเข้าแฟ้มตามหมวดเรื่อง การจัดเก็บจะเรียงลําดับตามตัวอักษร ของหมวดเร่ือง เรียงใส่ตู้แขวนขนาด 4 ล้ินชัก ตามลําดับตัวอักษร ที่หน้าลิ้นชักจะมีตัวอักษรกํากับ ให้ทราบว่าอย่ใู นลิ้นชักใด รูปท่ี 5.8 แสดงลน้ิ ชกั เก็บจลุ สารและกฤตภาค 5.9.4 การจัดเรียงวัสดไุ ม่ตพี มิ พ์ การจัดเก็บวัสดุไม่ตีพิมพ์โดยทั่วไปจะมีการแยกเป็นประเภทๆ แล้วกําหนดสัญลักษณ์ แทนประเภทของวัสดุนั้น การจัดเก็บเรียงตามลําดับเลขทะเบียนของประเภทน้ันๆ ไว้ในตู้ ชั้น ล้ินชัก หรือกล่องที่มีขนาดเหมาะสมกบั รปู รา่ งลักษณะวสั ดุไม่ตีพมิ พ์เหลา่ น้นั เพอื่ ให้สะดวกตอ่ การคน้ หา สําหรับสัญลักษณ์ที่ได้กําหนดขึ้นใช้สําหรับวัสดุไม่ตีพิมพ์ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา มีดงั ตอ่ ไปน้ี

เอกสารประกอบการเรียนวิชาห้องสมุดกบั การร้สู ารสนเทศ บทที่ 5 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในห้องสมดุ 113 ตารางที่ 5.1 แสดงสญั ลักษณ์ทีไ่ ดก้ าํ หนดขึน้ ใช้สาํ หรับวัสดุไมต่ ีพมิ พ์ สัญลักษณ์ ประเภทวสั ดุไมพ่ ิมพ์ CD คอมแพก็ ดสิ ก์ (Compact Disc) CH แผนภูมิ (Chart) CT แถบบนั ทกึ เสยี งแบบตลับ (Cassette Tape) FS ภาพเลอื่ น (Filmstrip) KT ชดุ การสอน (Kit) MAP แผนที่ (Map) MIC ไมโครฟลิ ์ม (Microfilm) MP หรอื F ภาพยนตร์ (Motion Picture หรอื Film) PD แผน่ เสยี ง (Phonodisc) PT ภาพโปสเตอร์ (Poster) S หรือ SL ภาพนิง่ (Slide) SP ของตวั อยา่ ง (Specimen) TR แผ่นโปร่งใส (Transparency) V หรือ VR วิดที ัศน์ (Video Cassette Tape หรือ Video reel)

เอกสารประกอบการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ บทท่ี 5 การสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศในหอ้ งสมดุ 114 ใบงานบทท่ี 5 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศในหอ้ งสมุด ตอนท่ี 1 ตอบคาํ ถามต่อไปน้ี 1. การจัดหมูห่ นงั สอื มีหลกั การอย่างไร จงอธิบาย 2. บอกประโยชน์ของการจดั หมู่หนังสอื มาอย่างน้อย 4 ขอ้ 3. ระบบการจดั เกบ็ หนังสือทแี่ พรห่ ลาย มกี รี่ ะบบ อะไรบ้าง ใครเปน็ ผคู้ ิดคน้ วธิ ีการเหลา่ นน้ั 4. เลขเรยี กหนงั สอื หมายถงึ อะไร มปี ระโยชน์อย่างไร จงอธิบาย 5. อธบิ ายหลักการจัดเรียงหนังสือขึ้นชัน้ มาให้เข้าใจ 6. บอกวธิ กี ารจดั เรยี งวารสารข้นึ ชน้ั ที่ถกู ตอ้ ง 7. อธิบายถงึ ส่วนประกอบของเลขเรียกหนังสือตอ่ ไปน้ี หนังสอื ชอ่ื ภาษาศาสตร์เบื้องต้น ผแู้ ตง่ อดุ ม วโรฒมส์ ขิ ดติ ถ์ 410 7.1 เลขเรียกหนงั สือได้แกส่ ิ่งใด อ756ภ 7.2 เลขหมหู่ นงั สอื ไดแ้ ก่สิง่ ใด ฉ. 2 7.3 อกั ษรย่อผแู้ ตง่ ไดแ้ กส่ ง่ิ ใด 7.4 เลขผแู้ ตง่ คือได้แก่สง่ิ ใด 7.5 อักษรย่อชอ่ื เรื่องได้แก่ส่งิ ใด 7.6 ฉ. 2 หมายถงึ อะไร 8. อธบิ ายถงึ ส่วนประกอบของเลขเรียกหนงั สือตอ่ ไปนี้ หนังสอื ชอ่ื โสมสอ่ งแสง ผ้แู ต่ง โรสราเรน 8.1 น หมายถงึ อะไร น 8.2 ร943 หมายถึงอะไร ร943ส 8.3 ส หมายถงึ อะไร 8.4 เลขผแู้ ตง่ คือได้แกส่ ิ่งใด 9. เรยี งลําดับเลขเรยี กหนงั สอื บนช้ันตอ่ ไปน้ใี ห้ถูกตอ้ ง จ ฉ ก ข คง 372.7 030 ว232ม ก450ร 156.4 031 540 298 ผ121ม ม850ว อ450ค ส517ป

เอกสารประกอบการเรียนวิชาห้องสมดุ กับการรูส้ ารสนเทศ บทที่ 5 การสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศในหอ้ งสมดุ 115 10. เรยี งลําดับเลขเรยี กหนังสอื บนชัน้ ต่อไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ ง จ ฉ ก ข คง 920 919 920 921 921 920 ส420บ ม201ม ส420บ ป171ซ ก121ม ข311ม ฉ.2 ฉ.1 ฉ.2 ฉ.4 ฉ จ 11. เรยี งลาํ ดบั เลขเรียกหนงั สอื บนช้นั ตอ่ ไปนีใ้ หถ้ กู ตอ้ ง น ก ข คง น จ614บ ก495บ น นน น ก495ข ม495ข ม495ข ส213น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook