Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความประทับใจในเอสแบคนนทบุรี

ความประทับใจในเอสแบคนนทบุรี

Published by thanjira74258, 2019-02-13 23:04:40

Description: ความประทับใจในเอสแบคนนทบุรี

Search

Read the Text Version

ความประทบั ใจเอสแบค นนทบรุ ี

เพลงมารชวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ SBAC ของเรางามหรูเพริศเพราะสะอาดตา สวยเดน สงา ไมพรรณนานาเชน พฤกษไ พร ธงเราสีนา้ํ เงนิ รุงเรอื งเจริญยง่ิ กวาใคร สวม เครือ่ งแบบงามหรูตองใจทงั้ หญิงชายชวนใหต่นื ตา SBAC นอมนําพรอมวชิ าการประมวลมา ทุกสง่ิ กาวหนาวิทยาการเดนเลิศนํา เราชาญเชีย่ วทกั ษะมานะเปนเลศิ เชิดคณุ ธรรม วชิ าการเรานน้ั เปน ยอดแลว กา วนําเทคโนโลยี ตนไทรเปนไมแ หงความรมเยน็ ไผเ หมอื นเชนพลัง รักสามัคคี เฟองฟางามสงาชว่ั นาตาป ดุจเรานั้นครองความดี ช่วั นริ นั ดร ขาวแดงเขียวเหลืองแสดชมพูสี คอื ผองเรานั้นมีคณะ สําคญั ชอื่ เสียงความดีเดน นน้ั เปน ประกนั SBAC นน้ั ศกั ดิศ์ รี ลือเลื่อง พวกเราชาว SBAC พรอมหนา ตงั้ สจั จาจกั ชว ยชาติ บา นเมือง มุง หวังพัฒนาใหร งุ เรอื ง ใหยงิ่ ประเทืองดวยความรู ของเรา จกั ขอพทิ กั ษช าตแิ ละศาสน มหาราชจกั รีไวเหนือ เกลา เชิดชูซ่งึ สถาบันแหง เรา ใหเดน เพริศเพราเกริก เกียรตนิ ิรนั ดรกาล

ประวัติ เอสแบค นนทบุรี วิทยาลยั เทคโนโลยสี ยามบรหิ ารธรุ กจิ นนทบรุ ี (SIAM BUSINESS ADMINISTRATION NONTHABURI TECHNOLOGICAL COLLEGE ) คือ สถาบันการศกึ ษาระดับ อาชีวศึกษาในเครือของสถาบันสยามคอมพิวเตอรและภาษา ซึง่ สถาบันสยามคอมพิวเตอรและภาษาเปนสถาบนั ท่ีบุกเบิกดาน การเรียนการสอน หลักสูตรคอมพวิ เตอรแ ละภาษาตางประเทศขนึ้ เปนแหง แรกในประเทศไทยเมอ่ื ปพ.ศ.2522 สถาบนั สยามคอมพิวเตอรแ ละภาษา ได นาํ เครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอรมาใชสอนเปน แหง แรก โดยทางสถาบนั ฯ ไดเ นน การสอน ทงั้ ภาคทฤษฎีและปฏิบัตคิ วบคูก ันไป และดวยความสมั ฤทธผิ์ ล ในการสอนทําใหสถาบันฯ มชี อ่ื เสียงเปนทย่ี อมรับอยางกวา งขวาง นับเปน เวลากวา 20 ป ท่ีสถาบนั ฯ ไดผ ลติ นักศกึ ษาผมู ีความรูความชํานาญดา น คอมพิวเตอรแ ละภาษาตางประเทศกวา 1,000,000 คน พรอมแตงตาํ ราเรียนเองมากกวา 100 รายวชิ า และไดข ยายสาขาเพื่อใหบรกิ ารการเรยี นการ สอน หลักสตู รคอมพิวเตอรแ ละ ภาษาตา งประเทศ ออกไปยงั เขตตาง ๆ ทัว่ กรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและภูมภิ าคกวา 20 สาขาท่วั ประเทศ จนไดรับ การยอมรับ จากประชาชนใหเ ปน สถาบันสอนคอมพวิ เตอรแ ละภาษาตา งประเทศที่ใหญ ทันสมยั และมมี าตรฐานท่สี ุดในประเทศไทย โดยมีรางวัล ดี เดน ดา นการศึกษาอนื่ ๆ อีกมากมายเปนประกัน และท่ีภาคภมู ใิ จมากท่สี ุด คือ สถาบนั ฯ ไดร บั รางวัลพระราชทานประจําป 2538 ป 2545 และป 2550 นอกเหนือจากน้ันยงั มสี ถาบันในเครือคือมหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ วิทยาเขตสะพานใหม และวิทยาเขตรังสิต ซึ่งดําเนิน การสอนระดับปริญญาตรี ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก เพือ่ ใหส อดคลอ งกบั การเปลย่ี นแปลงดา นเทคโนโลยแี ละการขยายตวั ทางธุรกิจอยางรวดเร็ว สถาบนั จงึ ไดก อตั้ง “โรงเรียน สยามบริหารธรุ กจิ ” “SIAM BUSINESS ADMINISTRATION COLLEGE (SBAC)” ขน้ึ ในป พ.ศ. 2539 ซึง่ เปน โรงเรียนอาชีวศึกษา สอนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) และระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ สงู (ปวส.) เปด สอนหลักสูตร ภาษาไทยและภาคภาษาอังกฤษ โดยมี วัตถุประสงคเ พอ่ื ผลติ บคุ ลากรใหส ามารถนําความรคู วามชาํ นาญดา นวชิ าชพี คอมพวิ เตอร และดา นภาษาตา งประเทศไปประกอบอาชพี ในธรุ กจิ ตา ง ๆ ไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพรวมทัง้ เพอื่ การศึกษาตอ ท้งั ในและตา งประเทศ ในป พ.ศ. 2550 ไดจ ดั ต้งั โรงเรียนสยามบรหิ ารธรุ กิจ นนทบรุ ี อกี 1 แหง ซง่ึ เปนการขยายโอกาสทางการศึกษาดานอาชวี ศึกษา เพื่อรองรับความตอ งการของตลาดแรงงานตามภาวะสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ โดยมี รางวลั ดเี ดน ดานการศึกษาทภี่ าคภมู ิใจ คอื การไดร บั รางวัล “โรงเรียนรางวลั พระราชทาน” ประจาํ ป 2546 ป 2550 และ ป 2554 และในป 2554 โรงเรียนสยามบรหิ ารธรุ กจิ ไดรับการอนุญาตใหใชช อ่ื เปน “วิทยาลยั เทคโนโลยีสยามบริหารธรุ กจิ ”

ปรัชญาของวิทยาลยั ทกั ษะเปน เลิศ เชิดชูคุณธรรม กาวนาํ วชิ าการ เชี่ยวชาญเทคโนโลยี” 1. ทกั ษะเปนเลศิ หมายถึง วทิ ยาลัยตระหนักในความสาํ คัญของการผลติ กาํ ลังคนระดบั กลางใหประสบความสาํ เรจ็ ในการงานอาชพี ดาน พาณิชยกรรมทีต่ องมที กั ษะกลา แกรง ชาํ นาญ ชาํ่ ชอง คลอ งแคลว และบากบน่ั อดทนอยางแทจ รงิ ทกั ษะดา นวิทยาการคอมพิวเตอร ทกั ษะดานภาษา ทักษะดานเทคนิคการทาํ งาน ทกั ษะดานมนุษยส มั พนั ธ รวมทงั้ ทักษะความรอบรูดา นวชิ าการเฉพาะอยาง เฉพาะสาขาท่ีนกั เรยี นนกั ศึกษาตัง้ ใจและมงุ มนั่ จะประกอบอาชีพ 2. เชดิ ชคู ณุ ธรรม ในยคุ ท่ีวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเจรญิ รดุ หนา อยางรวดเรว็ ทาํ ใหม นุษยขาดความสนใจในดา น จรยิ ธรรมสุนทรยี ศาสตรแ ละ ศีลธรรมที่เปนหลกั ของความเปน มนุษยท ี่ตางจากส่ิงมีชีวติ อ่นื ๆ วทิ ยาลัยจึงมงุ เนน ทจ่ี ะฝก ลกั ษณะนิสัยควบคุมดูแลความประพฤติ ความมีระเบยี บวนิ ยั ความสวยงาม และสุนทรียใหเหมาะสมกับคณุ ลกั ษณะของผจู ะประกอบอาชีพดานพณิชยกรรมอยางแทจ รงิ รวมทัง้ สามารถดาํ เนนิ ชีวติ อยูใ นสงั คมได อยางเปนสุขมงุ ความเสยี สละเพอื่ ประโยชนส ว นรวม และประเทศชาต 3. กาวนําวชิ าการ อาชีพพณิชยกรรมจําเปน ตองฝกทกั ษะดานภาษาใหเ กดิ ความชํานาญและใชส อ่ื สารไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ การเนน การเรียนการ สอนกบั ชาวตางประเทศผเู ปน เจา ของภาษากด็ ี การวางแผนแนวปฏบิ ตั ใิ หนกั เรียนนักศกึ ษาใชภ าษาอังกฤษในวทิ ยาลัยก็ดี ลวนเพื่อเสริมสรา งความเดน ใหผ ูเรียนมคี วามสามารถในการใชภ าษาประการหนง่ึ อกี ประการหนึ่งน้นั วทิ ยาลัยไดพ ฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอนเปน ภาษาอังกฤษ เพ่อื มงุ กาวนํา วิชาการโดยมอี าจารยตางชาตเิ ปน ผูสอน นกั ศกึ ษาตางชาติ นกั ศกึ ษาไทยทไี่ ดเขา ศกึ ษาจะรอบรวู ชิ าการในสาขาอาชีพตาง ๆ หลากหลายจากอาจารย และนักศึกษาตางชาติทําใหเ กิดวิสยั ทศั นกวางไกลในโลกวชิ าการดานธุรกจิ และการพาณชิ ยอยา งแนน อน 4. เชย่ี วชาญเทคโนโลยี ดานพาณิชยกรรมมกี ารเคลอื่ นไหวเปลยี่ นแปลงและกา วหนา ทางการปฏิบตั ิและทางเทคโนโลยีที่รวดเรว็ มาก วทิ ยาลัยมชี ่ือ เสียงทางดา นเปนสถาบนั สอนคอมพิวเตอรและภาษามาชา นาน ซงึ่ ขณะนี้มสี ถาบนั สอนท่ัวประเทศหลายสิบแหง จึงตระหนกั ในการแสวงหาเทคโนโลยี อุปกรณ เครือ่ งมอื และนวตั กรรมทนี่ าํ สมัยเขา มาใชในการเรียนการสอนวทิ ยาลัยจงึ ตระหนักดวี าจะตอ งกา วนําทง้ั ทางดานวชิ าการ พาณชิ ยกรรมและ เทคโนโลยเี พอ่ื ใหก ลุ บุตร-ธดิ าทกี่ าํ ลังใฝใจและปรารถนาจะไดรับบรกิ ารจากสถานศึกษา จะไดมีความสามารถรอบรใู นเทคโนโลยีใหม ๆ รจู ักใช รจู กั ปรบั ปรงุ และประยุกตใชเทคโนโลยีอยา งมีคณุ คาตอ การอาชพี อยา งแทจริง

วิสยั ทัสนข องวิทยาลัย วิทยาลยั เทคโนโลยีสยามบริหารธุรกจิ นนทบรุ ี กําหนดวิสัยทัศนใ นการผลติ นักเรยี นนกั ศึกษาใหมีค วามรคู วามสามารถมคี วามคิดสรา งสรรค เปนเลศิ ดา น วิชาชีพ โดยมุงเนนดา นภาษา ตา งประเทศ และ คอมพิวเตอรใ หส อดคลอ งกบั การเปลีย่ นแปลง และ ความตองการของสงั คม และมคี ุณธรรม จริยธรรม สามารถทํางานรวมกนั กับผอู ่นื ไดอ ยางมีความสขุ

พันทกจิ ของวทิ ยาลัย 1. จดั การศึกษาระดบั อาชีวศกึ ษาท่เี นนดาน เทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ ท่ตี รงกบั ความ ตอ งการของตลาดแรงงานและสรา งงานไดอ ยางมคี ณุ คา 2. สงเสริมการจดั ทํา สอื่ นวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐง าน สรา งสรรคและงานวจิ ยั นําไปใชประโยชนกับชุมชน สงั คม และประเทศชาติ 3. เปน แหลงองคค วามรูดานวชิ าการและวิชาชีพ สอดคลอ งกบั ความตองการของชมุ ชนและสังคม 4. สง เสริมคุณธรรม จริยธรรม อนรุ กั ษศ ิลปวัฒนธรรม ไทย ภูมิปญ ญาทองถนิ่ และสง่ิ แวดลอ ม 5. บริหารจัดการโดยใชห ลักธรรมาภิบาล และสราง คุณภาพชีวิตทด่ี ีใหกบั บคุ ลากรในองคก ร 6. บริหารจดั การสถานศึกษาใหม ีระดับคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานนานาชาติ

วตั ถปุ ระสงค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรีไดว างแนวปฏบิ ัติตามปรัชญาและความคิดความเชือ่ สงู สุดดังทไ่ี ดกลาวมาแลว จงึ กําหนดเปน วัตถุ ประสงคข องวิทยาลัยเพ่อื การจดั การบรหิ ารและการเรียนการสอน รวมท้งั ดาํ เนนิ การตาง ๆ ใหสัมฤทธผ์ิ ล ตามวตั ถุประสงค ของวิทยาลัยดังตอไปน้ี 1. เพื่อผลิตนักเรยี นนกั ศึกษาดานการพาณชิ ยกรรมทีจ่ ะเปน กําลงั คนในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศโดยใหม ที ักษะ ความ ชาํ นาญในการอาชพี สาขาตา ง ๆ จากสถานประกอบการ ใหม ีประสบการณข องสภาพเปน จรงิ ในวงการอาชพี ให มากทสี่ ุดเทา ทีจ่ ะทําได เพอ่ื ความมที ักษะเปน เลศิ ในการอาชพี แตล ะสาขาและมคี วามสามารถในดานการอบรมคนในการ ทาํ งานรวมกบั ผู อืน่ เปน ตน 2. เพื่อผลติ นักเรียนนักศกึ ษาใหเห็นความสาํ คัญของความเปนมนุษยท ี่มีคณุ คา มิใชเ พียงมุงประโยชนสวนตนแตเ ปนผู เสียสละ และอุทศิ ตนเพ่อื สวนรวม โดยมุงฝก และทํากจิ กรรมทางศาสนาสง เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมและรกั สวยรกั งาม มสี นุ ทรีย ในจิตใจ ไมโหดเหยี้ ม กาวราวและรุนแรง ฝก ความมรี ะเบยี บวนิ ยั สรา งและฝกคุณลักษณะท่ีสถานประกอบการและสงั คมตองการ 3. เพอ่ื ผลติ นักเรียนนกั ศึกษาท่ีมคี วามคดิ กา วหนา มีความคดิ ริเร่มิ ชอบการเปล่ยี นแปลง เพ่อื การพัฒนารจู ักแสวงและคนหา วชิ าการใหม ๆ แลวนาํ มาใชปฏบิ ตั ใิ หเ กดิ ประโยชนอยา งมีประสิทธภิ าพ ฝก ความมีนํ้าใจ และมวี สิ ัยทัศนท ีก่ วางไกลทั้งดา น การอาชพี และการดาํ เนินชีวติ 4. เพอ่ื ผลติ นกั เรียนนกั ศึกษาท่ีสนใจศกึ ษาคนควาและแสวงหาเทคโนโลยใี หม ๆ ฝกปฏิบัติการใชเทคโนโลยใี หเกดิ ประโยชน ตอการอาชีพและหนาท่ีของตน รจู กั คิดคน ใหเกดิ การพฒั นาและความเชยี่ วชาญทางเทคโนโลยีตา ง ๆ สามารถ ปรบั ตนเอง ให เขากับการใชเทคโนโลยี สง เสรมิ หาแนวทางสรางกิจกรรม เพื่อสงเสรมิ การใช และการหาประสบการณดาน เทคโนโลยี ให มาก 5. เพอื่ เตรียมความพรอ มของนกั เรียนนักศกึ ษาทจี่ ะสามารถศึกษาตอในระดบั อดุ มศึกษาของมหาวิทยาลัยนอรท กรงุ เทพ (North Bangkok University, NBU) ทัง้ ระดับปรญิ ญาตรแี ละมหาบัณฑติ ตอไป นอกเหนอื จากความสามารถในการ ประกอบ อาชีพได

อตั ลกั ษณของวิทยาลยั บุคลิกภาพดมี ีวินัย

สญั ลักษณ

สัญลักษณเ ปน รปู ตรีเอกานุภาพเปนรปู สามเหลี่ยมสามดา น หรอื สามมติ ิของการบริหารวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ยามบรหิ ารธุรกิจ นนทบุรี ที่มงุ เนน ในการบรหิ ารวิทยาลัยเพือ่ ความเปนเลศิ ในการผลิตกาํ ลงั คนระดบั กลางใหแ กส ังคมโดยเนน ดา นแรก คอื การบรหิ ารงาน บุคคลท้งั ทีเ่ ปน ครู นักเรยี น และบุคลากรของวทิ ยาลัยใหม ีคณุ ภาพและมีประสทิ ธภิ าพ ดา นท่สี องเนน ดาน หลกั สตู รการเรยี นการสอน ที่ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภวิ ฒั นใ นนวัตกรรมใหม ๆ ในการเรยี นการสอนดานการอาชพี ทางธุรกจิ ดานทส่ี าม เปน การเนน ดา นเทคโนโลยแี ละอุปกรณก ารเรยี นการสอนท่ที ันสมยั ใหผสู ําเรจ็ การศกึ ษาสามารถเรยี นรแู ละใชอปุ กรณเ ครือ่ งมอื คอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยใี หมๆ ไดคลองแคลวเปย มดวยทักษะทกุ ประการ สัญลักษณส ามเหล่ียมเลก็ 4 รูป ในสามเหลีย่ มใหญน ้ัน หมายถงึ ปรัชญาหลกั 4 ประการ ของวทิ ยาลัย คอื สามเหล่ียมสีแดง รูปแรกหมายถึง มุงฝกนกั เรยี นนักศึกษาใหมี “ทักษะเปนเลิศ” ในงานอาชพี ดานธุรกิจและพณิชยกรรม สามเหลย่ี มสีแดง รูปที่ 2 หมายถึง วทิ ยาลยั จะมุงเนน การเรียนการสอนท่กี า วหนา และ “กา วนาํ วชิ าการ” ในสงั คมการศึกษามคี วาม ทันสมัย ตลอดไป สามเหลยี่ มสีแดง รปู ที่ 3 หมายถงึ ความมงุ มน่ั ของวิทยาลยั ท่ีจะฝก นักเรียนนักศึกษาใหมีความรู ความเขา ใจ และรจู ักประยุกตใ ช เทคโนโลยใี หเ กิดประโยชนตองานอาชพี โดยมุง ทคี่ วาม “เช่ยี วชาญเทคโนโลยี” รูปท่ี 4 เปนสนี ้าํ เงนิ ลอมรอบดวยสามเหลย่ี มสีแดง 3 รปู นั้น หมายถงึ ความเปน หวั ใจของการเรียนการสอนทจ่ี ะมงุ พฒั นานกั เรยี น นกั ศกึ ษาของวิทยาลยั ใหม ี “คณุ ธรรม” พฒั นาใหม ีความเปนมนุษย เขา ใจมนษุ ยส ามารถอยูและทํางานดวยจติ วิญญาณของมนุษยท ่ี สมบรู ณอ ยา งแทจริงโดยยึดหลักคุณธรรมทพี่ ึงประสงคของสังคมไทย เพราะบุคคลทแี่ มมีความรูและเชย่ี วชาญในอาชีพเพยี งใด ถา ขาด “คณุ ธรรม” ก็ยอมจะมีความสขุ ความเจริญในชีวิตที่สมบูรณไ ดยาก ความสัมฤทธิผ์ ลตามแนวปรัชญาท้งั 4 น้ี ข้นึ อยูกบั 3 ดาน ของสามเหลี่ยมใหญค ือ บุคลากร หลกั สูตรและเทคโนโลยที ี่ใชในการเรยี นการสอนยิง่ กวานนั้ เสนลายตามแนวนอน หมายถึง ระดบั ทแ่ี สดงถึงความสมบรู ณทีน่ ักเรยี นนักศกึ ษาอาจยงั ไมม ีความสมบูรณ ซ่งึ วิทยาลัยจะเพยี รพยายามใหเ กิดความสมบรู ณและเตม็ เปย ม ทกุ ๆ ดา น ทกุ ๆ สามเหลีย่ ม และภาพรวมของวิทยาลยั ทเ่ี ปนกรอบสามเหลีย่ มใหญท ีส่ ุดนน้ั ดังนน้ั สัญลักษณของวิทยาลัยท่ปี รากฏอยู บนหนาอกเสอ้ื ของนักศึกษากด็ ี หนา วิทยาลยั หรือในสมดุ หนงั สือและอน่ื ๆ นั้นกค็ ือ ท่ีรวมของปรชั ญาของวิทยาลัยที่สมบรู ณท สี่ ดุ ที่ อยใู นสัญลักษณท ่เี ปนเอกลักษณห น่ึงเดยี วภายในสามเหลย่ี มที่เรียกวา “ตรเี อกานภุ าพ” โดยบรรจุความหมายตามปรัชญาของ วิทยาลยั ไวในสญั ลักษณดงั กลาวนี้

“ทกั ษะเปน เลศิ เชดิ ชคู ณุ ธรรม กา วนาํ วชิ าการ เชี่ยวชาญเทคโนโลยี”

สปี ระจําวทิ ยาลัยและสปี ระจาํ สาขา เนอ่ื งจากวทิ ยาลยั มุง ผลิตกาํ ลงั คนระดับกลางทางดานพณชิ ยกรรมสาขาวิชาตาง ๆ ทีว่ ิทยาลยั เปดสอนดวยลว นเปน สาขาท่ี ตองการฝก คนใหม ีความสะอาดประณตี ละเอียดถี่ถวน รกั สวยรักงาม มอี ารมณสนุ ทรยี ใ นงานอาชีพและอืน่ ๆ เหลา นยี้ อ ม แสดงถึงความบริสุทธท์ิ ้ังดานจิตใจรางกาย และส่ิงแวดลอมทง้ั ส้นิ จึงมเี หตผุ ลที่วทิ ยาลัยจะยึด “สีน้าํ เงนิ ” เปน สปี ระจําของ วทิ ยาลยั โดยมีสญั ลักษณท รี่ วมปรชั ญาของการบรหิ ารวทิ ยาลัยและการเรียนการสอนนักเรียนนกั ศึกษาไวต รงกลางของสี ประจาํ วทิ ยาลัย สวนสปี ระจาํ สาขาวิชาของนักเรียนนักศึกษาตา ง ๆ กําหนดไวดังตอ ไปนนี้ ี้
















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook