Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา

คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา

Published by Yotanut Bonnyo, 2021-11-03 15:35:23

Description: โรงเรียนบุณยศรีสวัสดิ์

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการปฏิบตั ิสาหรบั สถานศึกษา ในการป้ องกนั การแพรร่ ะบาดของโควิด 19 โรงเรยี นบณุ ยศรสี วสั ด์ิ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2

ก คำนำ แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)เล่มนี้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร จัดทำขึ้นเพื่อให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และหน่วยงานทางการศึกษาใน สังกัด ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปว่าสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐานมีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และ ระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวง สาธารณสุขและ กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี น ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) เล่มนี้จะช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในสถานศึกษาและใน หน่วยงานทางการศึกษาสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานไดเ้ ป็นอยา่ งดีขอบคุณคณะทำงานทุก ทา่ นท่ไี ด้ร่วมกันจดั ทำจนสำเรจ็ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ (นายอมั พร พนิ ะสา) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ตลุ าคม ๒๕๖๔

ข สารบั ญ หนา้ คำนำ สารับญ ส่วนท่ี ๑ ความรู้เบือ้ งตน้ ท่คี วรรู้ วคั ซีน Pfizer......................................................................................................................... ๒ วคั ซีน Sinopharm............................................................................................................... ๓ โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School.................................................................. ๔ สว่ นท่ี ๒ แนวปฏบิ ัตกิ ารเตรียมการก่อนเปิดภาคเรยี น การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ เรียน.................................................................................. ๖ การเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรียน.......................................................................................... ๑๐ ส่วนท่ี ๓ แนวปฏบิ ัตริ ะหว่างเปิดภาคเรียน กรณเี ปดิ เรยี นได้ตามปกติ (Onsite)....................................................................................... ๑๕ กรณีโรงเรียนไมส่ ามารถเปดิ เรียนได้ตามปกต.ิ ....................................................................... ๑๙ สว่ นท่ี ๔ แนวทางการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) รปู แบบการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดช้อื ฯ................. ๒๒ คลงั ความรู้(Knowledge Bank) ที่สนับสนนุ การเรยี นการสอนด้วยระบบ เทคโนโลยีดิจิทลั (DigitalLearningPlatform).................................................................... ๒๗ แอปพลิเคช่ัน (Applications) สนบั สนนุ การเรยี นการสอนทางไกล.................................... ๓๑

๑ ความรูเ้ บอื้ งต้นทีค่ วรรู้

๒ ส่วนท่ี ๑ ความรเู้ บ้อื งตน้ ท่ีควรรู้ การเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ เรง่ ดำเนินการสร้างความร้คู วามเขา้ ใจใหกับบประชาชน ๒ เรือ่ งทส่ี ำคัญและนำสู่การปฏบิ ัติ ไดแ้ ก่ การรณรงค์ให้ นกั เรยี นอายุ ๑๒ -๑๘ ปเี ข้ารับการฉีดวัคซนี Pfizer และใหส้ ถานศกึ ษาปฏิบตั ิตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School อย่างเคร่งครัด จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และ บุคคลท่ี เกี่ยวข้อง จะต้องรับรู้และสามารถเข้ารับการฉีดวัคซีน Pfizer และปฏิบัติตามมาตรการได้อย่างเคร่งครัด สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากวัคซีน Pfizer ที่รัฐนำมาให้กับนักเรียนอายุ ๑๒-๑๘ ปีเข้ารับการฉีดแล้ว ยังมีวัคซีนทางเลือก อีกหนึ่งยี่ห้อ ได้แก่ Sinopharm ที่ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ดำเนินการฉีดวัคซีน ให้กับเด็กและเยาวชนอายุ ระหว่าง ๑๐-๑๘ ปี ในโครงการ VACC ๒ School ดังนั้น เพื่อให้ความรู้เบื้องต้น สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานจึงขอนำเสนอข้อมูลทค่ี วรรู้ของวัคซนี Pfizer วัคซนี Sinopharm และมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School พอสังเขป ดงั น้ี ๑. วัคซนี Pfizer ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ช่วงปีที่ผ่านมาและปัจจุบัน มีการกล่าวถึง เกี่ยวกับการฉีดวัคซีน (COVID-๑๙ Vaccines) กันมากมาย โดยเฉพาะการเร่งสร้าง “ภมู ิคมุ้ กันหมู่” ซ่งึ จำเป็นตอ้ งอาศัยวัคซีนที่มปี ระสิทธภิ าพเข้าช่วย มีวัคซีนทผี่ า่ นการรองรบั จากองค์การอนามัย โลก (WHO) และทุกประเทศได้เลือกและนำมาให้ประชาชนรับการฉีด วัคซีน (COVID-๑๙ Vaccines) มีหน้าท่ี สำคัญ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าไปเพิ่มจำนวน และเสริมความแข็งแรงของภูมิคุ้มกันให้พร้อมเข้า ทำลายสงิ่ แปลกปลอมหรอื ไวรัสชนิดตา่ ง ๆ ที่แฝงเข้ามาในรา่ งกายได้ในทันที ซึ่งเป็นถอื เปน็ อาวธุ ชิ้นสำคัญที่ช่วย ยับยัง้ ความรนุ แรง หมายรวมถงึ ช่วยลดอัตราการติดเช้ือและการเสียชวี ติ ของประชาชน ปัจจุบันวัคซีนที่ผ่านการ รองรับจากองค์การอนามัยโลก (WHO) มีหลายยี่ห้อมีประสิทธิภาพในการทำหน้าที่แตกต่างกัน(โรงพยาบาล วิชัยเวชอนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล. ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔) ได้แก่ ๑. Pfizer ผลิตโดยประเทศสหรฐั อเมริกา มปี ระสทิ ธภิ าพ ๙๕% ๒. Moderna ผลิตโดยประเทศสหรฐั อเมรกิ า มีประสิทธภิ าพ ๙๔.๕% ๓. Johnson and Johnson ผลติ โดยประเทศสหรัฐอเมริกา มปี ระสิทธภิ าพ ๖๖% ๔. AstraZeneca ผลติ โดยประเทศอังกฤษ มีประสิทธิภาพ ๖๕% ๕. Covishield ผลติ โดยประเทศอินเดยี มปี ระสทิ ธิภาพ ๗๒% ๖. Sinovac ผลติ โดยประเทศจีน มปี ระสทิ ธภิ าพ >๕๐% ๗. Sinopharm ผลิตโดยประเทศจีน มปี ระสิทธิภาพ ๗๙-๘๖%

๓ สำหรับวัคซีนท่ีรัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุขอนุมัติให้ฉีดกับนักเรียนอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี น้ัน ได้แก่ Pfizer ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับรองการใช้วัคซีน เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ และ ประเทศไทยโดยองคก์ ารอาหารและยา (อย.) ขึน้ ทะเบยี นเม่ือวนั ท่ี ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ กำหนดให้สามารถ ฉดี วคั ซีน Pfizer ใหก้ ับนักเรียน นักศึกษา อายรุ ะหวา่ ง ๑๒ - ๑๘ ปี ดงั นน้ั รฐั บาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด Kick Off การฉีดวัคซีน Pfizer ให้กับนักเรียนนักศึกษาอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปีใน วันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๖๔ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กบั สถานศึกษามีความปลอดภัย และนักเรียนได้รับวัคซีนอย่าง ครบถ้วน เพื่อรองรับการเปิดภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในรูปแบบ Onsiteวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ซึ่งสอดคล้องกับราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย (๒๒ กันยายน๒๕๖๔) ได้ติดตามข้อมูลด้าน ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของวัคซีนโควิด ๑๙ ในเด็กและวัยรุ่น โดยคำนึงถึงความปลอดภัยและ ประโยชน์ทางด้านสุขภาพของเด็กเป็นสำคัญ และได้แนะนำให้ฉีดวัคซีนที่ได้รับการรับรองโดยสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา(อย.) ให้ใช้กับเด็กและวัยรุ่นตั้งแต่อายุ ๑๒ ปีขึ้นไป ซึ่งขณะนี้มีชนิดเดี ยวที่มีใน ประเทศไทยคือ วคั ซีน Pfizer วัคซีน Pfizer เป็นวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA Vaccine) กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี (Antigen) ให้ร่างกายรู้จักกับเชื้อโรคโควิด๑๙ หลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์เข็มที่ ๒ แล้ว จะมีประสิทธิภาพในการ ป้องกันโรคโควิด๑๙ สูงถึง ๙๑.๓% ในช่วง ๗ วันถึง ๖ เดือนหลังฉีดป้องกันความรุนแรงของโรคได้ ๑๐๐% ป้องกันการติดเชื้อมีอาการที่ ๙๔% ป้องกันการติดโรค ๙๖.๕% ป้องกันการเสียชีวิต ๙๘-๑๐๐% นอกจากนี้ยงั มีประสิทธิภาพในการป้องกันโควิด๑๙ สายพันธ์ุอังกฤษ หรืออัลฟ่า ได้ถึง ๘๙.๕% ป้องกันโควิด ๑๙ สายพันธุ์ แอฟรกิ าใต้ หรอื เบต้า ได้ถึง ๗๕% งานวิจยั ของหนว่ ยงานสาธารณสขุ องั กฤษ พบวา่ วคั ซนี Pfizer มปี ระสทิ ธิภาพ ๘๘% ในการป้องกันการปว่ ยแบบมีอาการจากไวรัสเดลต้าหรอื อนิ เดยี การรับวัคซีน Pfizer รับการฉีดทั้งหมด ๒ เข็ม โดยเข็มที่ ๒ ห่างจากเข็มแรก ๒๑-๒๘ วัน ใช้วิธีการฉีด เข้ากล้ามเนื้อแขนด้านบน ภูมิคุ้มกันจะเริ่มเกิดหลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์ไปแล้ว ๑๒ วัน แต่ภูมิคุ้มกันจะทำงาน เต็มที่หลังจากฉีดครบ ๒ เข็มหลังการฉดี วัคซีนเข็ม ๑ หรือเข็ม ๒ ผู้รับการฉีดอาจมีผลข้างเคยี งบ้างแตไ่ ม่รุนแรง (โรงพยาบาลวชิ ยั เวชอินเตอร์เนช่ันแนล. ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔) ๒. วคั ซีน Sinopharm วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีนชนิดเชื้อตาย ผลิตโดยสถาบันชีววัตถุแห่งปักกิ่ง (Beijing Institute of Biological Products: BIBP) นำเข้าโดย บริษัท ไบโอจีนีเทค จำกัด ได้รับการอนุมัติขึ้นทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่๒๘พฤษภาคม๒๕๖๔มีข้อบ่งใช้สำหรับฉีดเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภมู ิคุ้มกันในผู้ที่มีอายุตัง้ แต่๑๘ ปี ขึ้นไป ฉีดครั้งละ ๑ โดส จำนวน ๒ ครั้ง ห่างกัน ๒๑ - ๒๘ วัน ในประเทศไทย วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีน ทางเลือกที่กระจายให้กับองค์กร นิติบุคคล รวมถึงบุคคลธรรมดาผ่านราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ตั้งแต่ วันที่ ๒๐ มิถุนายน จนถึงปัจจุบัน เป็นจำนวนทั้งสิ้น ๑๕ ล้านโดส โดยที่ผ่านมาเป็นการฉีดให้กับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปี ขึน้ ไป

๔ วัคซนี Sinopharm อยใู่ นระหวา่ งการพิจารณาข้อมลู เรื่องการกระตุ้น ภูมคิ ุม้ กนั ประสทิ ธิภาพและความ ปลอดภัยในเด็ก และขณะนี้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.)ยังไม่ได้รับรองให้ใช้ในเด็กและวัยรุ่น (ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แหง่ประเทศไทย.๒๒กันยายน๒๕๖๔) ซึ่งสอดคล้องกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (ชนาธ ปิไชยเหล็ก.๒๑ กันยายน ๒๕๖๔) กล่าวว่า การฉีดวัคซีน Sinopharm ในกลุ่มอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี จะต้องได้รับ การอนุมัติขึ้นทะเบียนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ก่อน ถึงแม้จะเป็นชนิดเชื้อตาย แต่ก็ จำเป็นต้องมีข้อมูลการวิจัยในระยะที่ ๓ ซึ่งเป็นระยะที่มีการศึกษาทั้งความปลอดภัยและประสิทธิผลของวัคซีน รองรับ และในเมื่อ อย. ยังไม่อนุมัติการฉีดวัคซีน Sinopharm ให้กับนักเรียนอายุ ๑๐-๑๘ ปี เป็นเพียง โครงการวิจัยของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์เท่านั้น โดยวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ นิธิ มหานนท์ เลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ฯ ได้เปิดโครงการ ‘VACC ๒ School’ ณ ศูนย์ฉีดวัคซีนตัวเลือกซิโน ฟาร์ม บมจ.โทรคมนาคมแห่งชาติ ถ.แจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ฉีดวัคซีนให้กับนักเรียนกว่า ๒,๐๐๐ คน และจะดำเนินการฉีดจนถึงกลางเดือนตุลาคม โดยมีสถานศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล สมัครเข้าร่วม โครงการรวม ๑๓๒ โรง คิดเป็นจำนวนนักเรยี นทง้ั หมด ๑๐๘,๐๐๐ คน ๒. โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย (นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย) มีการนำร่องเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ตามมาตรการ Sandbox Safety Zone in School ในโรงเรยี นประเภทพกั นอน มีการดำเนนิ การระหวา่ งวนั ท่ี ๑ เมษายน - ๑๑ กันยายน ๒๕๖๔ ซึ่งมกี ารแบง่ โซนคดั กรอง โซนกกั กนั ผู้สมั ผสั เส่ียง และโซนปลอดภัยสีเขยี ว รว่ มกับมาตรการต่าง ๆ มีการ ติดตามและประเมินผล พบวา่ ไดผ้ ลดี แม้พบผตู้ ดิ เชื้อ ก็เป็นการสมั ผัสกับผู้ติดเชอ้ื ภายนอกและตรวจจับได้ นับได้ ว่าเป็นระยะที่ ๑ ที่ประสบผลสำเร็จ จึงเตรียมขยายผลในโรงเรียนแบบไป-กลับ และโรงเรียนพักนอน-ไป กลับ ในภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เปน็ ระยะท่ี ๒ โดยมาตรการจะเข้มข้นกวา่ ระยะท่ี ๑ เน้น ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ สถานศึกษา (ไทยรัฐออนไลน์.๑๕ กนั ยายน ๒๕๖๔) ดังนั้นภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ สถานศึกษาของรัฐและสถานศึกษาของเอกชนทกุ แหง่ ท้งั แบบ พักนอน แบบไป-กลับ แบบพักนอน-ไปกลับ และลักษณะอื่น ๆ จะเปิดให้มีการเรียนการสอนตามปกติแบบ Onsite ได้จะต้องดำเนินการมาตรการที่เข้มข้น โดยเน้น ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการ เข้มสถานศกึ ษา อยา่ งเครง่ ครัด



๖ สว่ นท่ี ๒ แนวปฏิบตั กิ ารเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตน ของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพื่อป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อโรคโควิด ๑๙ (Covid-๑๙) ตดั ความเส่ียง สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั และสร้างความปลอดภัยแกท่ ุกคน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน จึงกำหนดให้มีแนวปฏบิ ัติการเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน ให้กับสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และ สถานศึกษาในสงั กดั ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ ดังน้ี ๑. การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ เรยี น กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้สร้างเครื่องมือสำหรับสถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพื่อให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา๒๕๖๔ ลิงก์ระบบhttps://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมินตนเอง ดังกล่าว ประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินทั้ง ๔๔ ข้อ ตามขั้นตอนการ ประเมิน ตนเอง ดงั ภาพ

๗ กรอบการประเมนิ Thai Stop Covid Plus มติ ิที่ ๑ ความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ช้อื โรค ๑. มีมาตรการคัดกรองวัดไข้ ให้กับนักเรยี น ครู และผเู้ ขา้ มาติดต่อทกุ คน กอ่ นเขา้ สถานศกึ ษา หรือไม่ ๒. มีมาตรการสังเกตอาการเส่ียงโควิด ๑๙ เช่น ไอ มีน้ำามูก เจ็บคอ เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก จมูก ไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รู้รส พร้อมบันทึกผล สำหรับนักเรียน ครู และผู้เข้ามาติดต่อ ทุกคน ก่อนเข้า สถานศกึ ษา หรือไม่ ๓. มนี โยบายกำหนดใหน้ ักเรยี น ครู และผเู้ ข้ามาในสถานศึกษาทกุ คน ต้องสวมหนา้ กากผ้าหรือ หนา้ กากอนามยั หรือไม่ ๔. มีการจัดเตรียมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย สำรองไว้ให้กับนักเรียน ร้องขอ หรือผู้ที่ไม่มี หนา้ กากเขา้ มาในสถานศกึ ษา หรอื ไม่ ๕. มจี ุดล้างมือด้วยสบู่ อยา่ งเพียงพอ หรือไม่ ๖. มีการจัดวางเจลแอลกอฮอล์สำหรับใช้ทำความสะอาดมือ บริเวณทางเข้าอาคารเรียน หน้าประตู หอ้ งเรยี น ทางเขา้ โรงอาหาร อยา่ งเพยี งพอ หรือไม่ ๗. มีการจัดโต๊ะเรียน เก้าอี้นั่งเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ที่นั่งพัก โดยจัดเว้นระยะห่างระหว่างกัน อย่าง น้อย ๑-๒ เมตร (ยดึ หลกั Social Distancing) หรอื ไม่ ๘.มกี ารทำสญั ลักษณแ์ สดงจดุ ตำแหนง่ ชัดเจนในการจดั เว้นระยะห่างระหว่างกนั หรือไม่ ๙. กรณีหอ้ งเรยี นไมส่ ามารถจัด เว้นระยะหา่ งตามที่กำหนดได้มกี ารสลับวันเรียนของแต่ละช้ันเรียนหรือ การแบง่ จำนวนนกั เรยี น หรอื ไม่ ๑๐. มีการทำความสะอาดห้องเรียน ห้องต่าง ๆ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ก่อนและหลังใช้ งานทุกคร้ัง เชน่ ห้องคอมพวิ เตอร์ หอ้ งดนตรี อปุ กรณ์กีฬา หรอื ไม่ ๑๑. มีการทำความสะอาดบริเวณจุดสมั ผสั เสี่ยงร่วมทุกวนั เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ราวบันได ลิฟต์ กลอนประตู มือจบั ประตู - หนา้ ตา่ ง หรอื ไม่ ๑๒. มถี ังขยะแบบมฝี าปดิ ในหอ้ งเรียน หรือไม่ ๑๓. มีการปรับปรุงซ่อมแซมประตูหน้าต่างและพัดลมของห้องเรียนให้มีสภาพการใช้งานได้ดีสำหรับใช้ ปิด - เปดิ ใหอ้ ากาศถา่ ยเทสะดวก หรอื ไม่ ๑๔. มกี ารแบ่งกล่มุ ยอ่ ยนักเรยี นในห้องเรยี นในการทำกิจกรรม หรอื ไม่ ๑๕. มกี ารปรับลดเวลาในการทำกจิ กรรมประชาสมั พันธ์ ภายหลังการเข้าแถวเคารพธงชาติ หรือไม่ ๑๖. มกี ารจัดเหลือ่ มเวลาทำกิจกรรมนกั เรียน เหลอ่ื มเวลากินอาหารกลางวนั หรือไม่ ๑๗. มมี าตรการใหเ้ ว้นระยะหา่ งการเข้าแถวทำกิจกรรม หรือไม่ ๑๘. มีการกำหนดให้ใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น แก้วน้ำช้อน ส้อม แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหน้า หรอื ไม่ ๑๙. มีหอ้ งพยาบาลหรือพื้นทสี่ ำหรับแยกผู้มีอาการเส่ยี งทางระบบทางเดินหายใจ หรอื ไม่

๘ ๒๐. มีนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ จิตอาสา เป็นอาสาสมัคร ในการช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียน ดว้ ยกันหรือดูแลรนุ่ น้อง หรอื ไม่ มิติที่ ๒ การเรียนรู้ ๒๑. มีการติดป้ายประชาสัมพันธ์แนะนำการปฏิบัติเพื่อสุขอนามัยท่ีดี เช่น วิธีล้างมือที่ถกู ต้อง การสวม หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เป็นต้น หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับโรคโควิด ๑๙ หรือไม่ ๒๒. มกี ารเตรยี มความพร้อมการจัดการเรยี นการสอนโดยคำนึงถึงการเรยี นรู้ตามวัยและสอดคล้องกบั พัฒนาการด้านสงั คม อารมณ์ และสติปัญญา หรือไม่ ๒๓. มมี าตรการกำหนดระยะเวลาในการใช้ส่ือออนไลน์ในสถานศึกษา ในเด็กเล็ก(ประถมศกึ ษา) ไม่เกิน ๑ ชัว่ โมงตอ่ วนั และ ในเดก็ โต (มธั ยมศึกษา) ไมเ่ กนิ ๒ ชั่วโมงตอ่ วัน หรอื ไม่ ๒๔. มกี ารใชส้ ื่อรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพผา่ นช่องทาง Social media เช่น Website, Facebook, Line, QR Code, E-mail หรือไม่ มิติท่ี ๓ การครอบคลุมถงึ เด็กด้อยโอกาส ๒๕. มีการเตรียมหน้ากากผ้าสำรองสำหรบั เด็กเล็ก หรือไม่ ๒๖. มกี ารปรบั รูปแบบการเรยี นการสอนใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทการเข้าถึงการเรยี นรู้ในสถานการณ์ การ ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ หรือไม่ ๒๗. มมี าตรการส่งเสรมิ ให้นักเรียนได้รบั บรกิ ารสขุ ภาพขน้ั พื้นฐานอย่างทัว่ ถงึ หรอื ไม่ ๒๘. มีมาตรการการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมของที่พักและเรือนนอนให้ถูกสุขลักษณะ พร้อมมีตารางเวรทกุ วนั หรอื ไม(่ กรณีมีทีพ่ ักและเรือนนอน) ๒๙. มีมาตรการการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติการปฏิบัติด้าน ศาสนกจิ พรอ้ มมตี ารางเวรทกุ วัน หรอื ไม่ (กรณีมสี ถานทปี่ ฏบิ ตั ิศาสนากจิ ) ๓๐. มีมาตรการดูแลนักเรียนที่มีความบกพร่องด้านพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรมอารมณ์ รวมถงึ ภาวะสมาธสิ ัน้ และเด็กออทสิ ติก ที่สามารถเรียนรว่ มกบั เดก็ ปกติ หรือไม่ มติ ิที่ ๔ สวัสดิภาพและการคมุ้ ครอง ๓๑. มีการจัดเตรียมแผนรองรับการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนป่วย กักตัว หรือกรณีปิด โรงเรยี น หรือไม่ ๓๒.มีการจัดเตรียมแนวปฏิบตั ิการสื่อสารเพื่อลดการรงัเกียจและการตีตราทางสังคม (Social Stigma) หรือไม่ ๓๓. มกี ารจัดเตรยี มแนวปฏบิ ัติด้านการจดั การความเครยี ดของครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา หรือไม่ ๓๔. มกี ารตรวจสอบประวัติเสี่ยงของนักเรียนและบุคลากร รวมท้ังตรวจสอบเรื่องการกักตวั ให้ครบ ๑๔ วนั ก่อนมาทำการเรียนการสอนตามปกติ และทุกวนั เปดิ เรียน หรอื ไม่ ๓๕. มกี ารกำหนดแนวทางปฏิบัตติ ามระเบียบ สำหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากรที่สงสัยตดิ เช้ือหรือป่วย ด้วยโรคโควิด ๑๙ โดยไมถ่ ือเปน็ วันลาหรอื วนั หยุดเรียน หรือไม่

๙ มิติที่ ๕ นโยบาย ๓๖. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความรู้การป้องกันโรคโควิด ๑๙ แก่นักเรียน ครู บุคลากร และ ผู้ปกครอง โดยการประชมุ ชแ้ี จงหรือผ่านช่องทางตา่ ง ๆ อยา่ งนอ้ ย ๑ ครั้ง ก่อนหรอื วันแรกของการเปิด เรยี น หรือไม่ ๓๗. มีนโยบายและแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด ๑๙ ของสถานศึกษา อย่างเป็น ลายลักษณ์ หรือมหี ลกั ฐานชดั เจน หรือไม่ ๓๘. มกี ารประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา หรอื ไม่ ๓๙. มีการแต่งตั้งคณะทำงานป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด ๑๙ และกำหนดบทบาทหน้าที่อย่าง ชดั เจน หรือไม่ ๔๐. มีมาตรการบริหารจัดการความสะอาดบนรถรับ-ส่งนักเรียน เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดที่นั่ง บนรถหรอื มสี ัญลักษณจ์ ดุ ตำแหน่งชัดเจน หรือไม่ (กรณรี ถรับ - ส่งนกั เรยี น) มติ ทิ ่ี ๖ การบรหิ ารการเงนิ ๔๑. มีแผนการใช้งบประมาณในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ตามความจำเป็นและ เหมาะสม หรอื ไม่ ๔๒. มีการจัดหาซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันโรคโควิด ๑๙ สำหรับนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา เช่น หนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ หรอื ไม่ ๔๓. มีการประสานแสวงหาแหล่งทุนสนับสนุนจากหน่วยงาน องค์กร หรือเอกชน เช่น ท้องถิ่น บริษัท ห้างร้าน NGO เป็นต้น หรือมีการบริหารจัดการด้านการเงินเพื่อดำเนินกิจกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคโควดิ ๑๙ หรอื ไม่ ๔๔. มีการจัดหาบคุ ลากรในการดูแลนกั เรยี นและการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษา หรอื ไม่ เมื่อสถานศึกษาประเมินตนเอง ผ่านการประเมินทั้ง ๔๔ ข้อ จะได้รับใบประกาศรับรองมาตรฐานจาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ดังภาพตวั อย่าง

๑๐ ๒.การเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตามข้อกำหนด ตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพื่อให้สถานศึกษา นำไปใช้ในการการปฏิบัติ โดยจำแนกประเภทของสถานศึกษาดงั นี้ ๒.๑ มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป-กลบั มีหลกั เกณฑ์ทต่ี ้องปฏบิ ตั อิ ยา่ งเคร่งครดั ๔ องค์ประกอบดังนี้ ๑. องคป์ ระกอบดา้ นกายภาพ ลักษณะอาคารและพ้ืนทีโ่ ดยรอบอาคารของโรงเรยี นหรอื สถาบันการศึกษา ประเภทไป-กลบั ที่มีความพร้อมและผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ๑.๑ พืน้ ท่ี/อาคารสนบั สนนุ การบริการ ๑.๒ พื้นที/่ อาคารเพื่อจัดการเรียนการสอน โดยจัดอาคารและพนื้ ทโี่ ดยรอบให้เป็นพื้นทีป่ ฏิบัตงิ านที่ ปลอดภยั และมีพ้นื ท่เี ปน็ Covid free Zone ๒.องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่ายโดยโรงเรียนหรือ สถานศึกษาท่ี ประสงค์จะดำเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้มีการประชุม หารือร่วมกัน ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ครู ผ้ปู กครอง ผู้นำชุมชน และมมี ติให้ความเห็นชอบ รว่ มกันในการจัด พื้นที่การเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนำเสนอ โครงการผ่านต้นสังกัดในพื้นท่ี แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรือ คณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวดั ๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้องเตรียมการประเมิน ความพรอ้ ม ดงั นี้ ๓.๑ โรงเรียน หรือสถานศกึ ษา ตอ้ งดำเนินการ

๑๑ ๑) ต้องผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน MOE Covid ๒) ต้องจัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สำหรับรองรับการดูแลรักษา เบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติด เชื้อโควิด ๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็น บวก รวมถงึ มแี ผนเผชิญเหตแุ ละมคี วามรว่ มมือกับสถานพยาบาลเครือขา่ ยในพน้ื ท่ี ทด่ี แู ลอย่างใกลช้ ิด ๓) ตอ้ งควบคุมดูแลการเดินทางระหวา่ งบา้ นกบั โรงเรียนอยา่ งเข้มข้น โดยหลีกเลยี่ งการเข้าไป สัมผัส ในพืน้ ทตี่ า่ ง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง ๔) ต้องจัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ที่เหมาะสม จัดจุดรับส่งสิ่งของ จุดรับส่งอาหาร หรือจุดเสี่ยงอื่น เป็นการจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผู้มาติดต่อที่เข้า มาในโรงเรียน ๕) ต้องมีระบบและแผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการบูรณาการร่วมกัน ระหวา่ งกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขทงั้ ชว่ งกอ่ นและระหว่างดำเนนิ การ ๓.๒ นักเรียน ครู และบุคลากร ตอ้ งปฏิบตั ิ ๑) ครู และบุคลากร ต้องได้รับการฉีดวคั ซีนครบโดส ตั้งแต่ร้อยละ ๘๕ เป็นต้นไป ส่วนนักเรยี น และ ผปู้ กครองควรได้รับวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะ สถานศกึ ษาที่อย่ใู นพื้นทีค่ วบคุมสงู สดุ (พื้นทีส่ ีแดง)และพ้ืนท่ีควบคุมสงู สุดและเขม้ งวด (พนื้ ทส่ี แี ดงเขม้ ) ๒) นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษาที่อยู่ในพื้นทีค่ วบคุมสงู สุด (พื้นท่ีสแี ดง) และพ้ืนท่ีควบคุม สูงสุดและเข้มงวด (พื้นที่สีแดงเข้ม) ทุกคนต้องตรวจคัดกรอง ATK ในวันแรกของการเปิดเรียนของ สถานศึกษา ๓) นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา มกี ารทำกิจกรรมรว่ มกันในรูปแบบ Small Bubble และ หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมข้ามกลุ่มกัน โดยเฉพาะพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นที่ ควบคุม สูงสดุ และเขม้ งวด (พ้ืนที่สแี ดงเข้ม) ๔. องคป์ ระกอบดา้ นการดำเนนิ การของโรงเรียนหรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศกึ ษาต้องดำเนินการ ดังน้ี ๔.๑ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ทง้ั รปู แบบ Onsite หรอื ONLINE หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) ๔.๒ นักเรียน ครู และบุคลากรที่อยู่ในพื้นท่ี Safety Zone ต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) อย่าง ต่อเนื่องตามเกณฑจ์ ำแนกตามเขตพื้นท่กี ารแพร่ระบาด ๔.๓ ให้มีการสุ่มตรวจ ATK นักเรียน ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เพื่อเฝ้าระวังตาม เกณฑจ์ ำแนกตามเขตพ้นื ท่ีการแพรร่ ะบาด ๔.๔ ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) ๔.๕ นักเรียน ครู และบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เขียนบันทึก Timeline กิจกรรม ประจำวัน และการเดินทางเขา้ ไปในสถานท่ีตา่ ง ๆ แตล่ ะวนั อย่างสม่ำเสมอ

๑๒ ๔.๖ ปฏิบัติตามแนวทาง๗มาตรการเข้มสำหรับสถานศึกษาประเภทไป-กลับอย่างเคร่งครัด ๑) สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรยี นผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน MOE Covid โดยถอื ปฏิบัตอิ ยา่ งเขม้ ข้น ตอ่ เน่ือง ๒) ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมข้ามกลุ่มกัน และจัด นักเรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เวน้ ระยะห่างระหวา่ งนักเรยี น ใน หอ้ งเรียนไม่น้อยกวา่ ๑.๕ เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั ๓) จดั ระบบการให้บริการอาหารสำหรับนกั เรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ตามหลัก มาตรฐาน สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุง ประกอบอาหาร หรือการสั่งซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและต้องมี ระบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนำมาบริโภค เป็นต้น ๔) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการป้องกัน โรคโควิด๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำ สำหรบั อุปโภคบริโภค และการจดั การขยะ ๕) จัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) แผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการ ดูแล รักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด ๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็น บวก โดยมกี ารซกั ซอ้ มอย่างเคร่งครดั ๖) ควบคุมดูแลการเดินทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย หลีกเลี่ยง การเข้าไปสัมผัสในพื้นที่ต่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดินทางจากบ้านไป-กลับโรงเรียน ทั้งกรณีรถรับ-ส่ง นักเรียน รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ ๗) ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยข้อมลู ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗-๑๔ วัน และประวัติการรับวัคซีนตามมาตรการของ กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการ โรคติดตอ่ จังหวดั เพ่อื ให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเข้า-ออกโรงเรียน โดยเฉพาะพ้นื ทค่ี วบคมุ สูงสุด (พ้ืนท่ีสี แดง) และพ้นื ทีค่ วบคมุ สงู สุดและเขม้ งวด (พนื้ ที่สีแดงเขม้ ) ๔.๗ กรณีสถานศึกษาตั้งอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พื้นท่ีสีแดงเขม้ ) กำหนดให้สถานประกอบกิจการ กิจกรรม ที่อยู่รอบรั้วสถานศึกษาให้ผ่านการประเมนิ Thai Stop Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting ๒.๒ มาตรการ Sandbox: Safety Zone in School สำหรบั โรงเรียนหรอื สถานศึกษาอืน่ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตาม ข้อกำหนดตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพื่อให้ สถานศึกษานำไปใช้ในการการปฏิบัติ โดยจำแนกประเภทของสถานศึกษา ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทพักนอน

๑๓ และประเภทไป-กลับ เท่านั้นเนื่องจากโรงเรียนหรือสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน มีประเภทโรงเรียน หรอื สถานศกึ ษาท่ีมลี ักษณะท่แี ตกตา่ ง เช่น ๑. ประเภทพกั นอนและไป-กลับ ๒. ขนาดโรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ๓. ระดบั การจดั การเรยี นการสอน ระดับประถมศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษา ๔. สถานศึกษาท่ีนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการฉีดวัคซีน หรือยังไม่ได้รับการฉีด วคั ซีน หรือได้รับการฉีดวัคซนี บางสว่ น ๕. โรงเรียนหรือสถานศึกษา ลักษณะอ่ืน ๆ ต้องดำเนนิ การ ดังนี้ ๑) ต้องปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ที่กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดอยา่ งเครง่ ครดั ทัง้ ๔ องคป์ ระกอบ ๒) กรณีโรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นประเภทพักนอนและไป-กลับ ต้องนำมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School มาบูรณาการในการปฏิบัติระหว่างประเภทพักนอน และประเภทไป- กลับ อย่าง เครง่ ครดั ทั้งนี้ โรงเรียน หรือ สถานศึกษาทุกประเภท ทุกลักษณะ ที่ประสงค์จะขอเปิดการเรียนการสอนโดย ดำเนินการตามรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดทำเอกสารข้อเสนอโครงการเสนอต่อ ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขในพื้นท่ี (ศึกษาธิการจังหวัดและสาธารณสุขจังหวัด) พิจารณาและเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด โดยต้อง จัดทำแผนงานและแสดงความพร้อมการดำเนินการด้านกายภาพ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการประเมินความ พรอ้ มสู่การปฏิบตั แิ ละดา้ นการดำเนินการของโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษาให้ครบถ้วน

๑๔

๑๕ ส่วนที่ ๓ แนวปฏิบัตริ ะหว่างเปิดภาคเรยี น สถานศึกษาต้องปฏิบัติตามมาตรการระหว่างเปิ ดเรียนตามที่กระทรวงสาธารณสุขและ กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอยา่ งเคร่งครัด เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสูงสุด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ดำเนินการจัดทำและรวบรวมแนวปฏิบัติระหว่างเปิดเรียน เป็น ๒ กรณี ดงั นี้ ๑.กรณีเปดิ เรียนไดต้ามปกต(ิ Onsite)สถานศกึ ษาตอ้ งปฏิบตั ิดงั นี้ มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ ๑) สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผา่ น MOE Covid ๒) ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำ กิจกรรมข้ามกลุ่มและจัดนักเรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่ น้อยกวา่ ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการ โรคติดต่อจงั หวัด ๓) จัดระบบการใหบริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร ๗ มาตรการเข้มงวด ใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลัก โภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบ จากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบอาหารหรือ การส่ังซื้ออาหารตามระบบนำส่ง อาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและ ต้องมีระบบตรวจสอบทาง โภชนาการก่อนนำมาบริโภค ตามหลักสุขาภิบาล อาหารและหลัก โภชนาการ ๔) จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษาได้แก่ การระบายอากาศภายใน อาคารการทำความสะอาดคุณภาพน้ำด่ืม และการจัดการขยะ ๕) ให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผนเผชิญเหตุรองรับการดูแลรักษา เบื้องต้น กรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการ ตรวจพบเชื้อโรคโควิด ๑๙ หรือผล ATK เป็นบวกโดยมีการซักซ้อม อย่างเคร่งครดั

มาตรการ ๑๖ อนามยั ส่ิงแวดล้อม แนวทางการปฏบิ ัติ ๖) ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสในพื้นที่ ต่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง ๗) ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรใน สถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั และประวัติการรบั วัคซนี ตามมาตรการ ๑) การระบายอากาศภายในอาคาร - เปิดประตหู น้าต่างระบายอากาศก่อนและหลังการใช้งาน อย่างน้อย ๑๕ นาทีหน้าต่างหรือ ช่องลมอย่างน้อย ๒ ด้าน ของห้องให้อากาศภายนอกถา่ ยเทเข้าสูภ่ ายในอาคาร - กรณีใช้เครื่องปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคาร ก่อนและหลังการใช้อย่างน้อย ๒ ชั่วโมง หรือเปิดประตู หน้าต่างระบายอากาศช่วงพัก เที่ยงหรือชว่ งที่ไมม่ ีการเรียน การสอน กำหนดเวลาเปิด-ปดิ เครื่องปรับอากาศ และทำ ความสะอาดสม่ำสมอ ๒) การทำความสะอาด - ทำความสะอาดวัสดุสิ่งของด้วยผงชักฟอกหรือน้ำยาทำ ความสะอาด และลา้ งมอื ดว้ ยสบ่แู ละน้ำ - ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคบนพ้ืนผิวทั่วไป อุปกรณ์ สัมผัสร่วม เช่น ห้องน้ำห้องส้วม ลูกบิด ประตู รีโมท คอนโทรล ราวบันได สวติ ชไ์ ฟ (กดลิฟท์ จุดนำ้ ด่มื เปน็ ต้น ด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆ่าเชื้อโรคบน พื้นผิววัสดุแข็ง เช่น กระเบื้อง เซรามิก สแตนเลส ด้วย น้ำยาฟอกขาวหรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ๐.๑% นาน ๕- ๑๐นาที อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง และอาจเพิ่มความถี่ตาม ความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาทม่ี ีผูใ้ ชง้ านจำนวนมาก ๓) คุณภาพนำ้ เพอ่ื การอปุ โภคบริโภค - ตรวจดูคุณลักษณะทางกายภาพ สี กลิ่น และไม่มี สิ่งเจือปน

มาตรการ ๑๗ การใช้อาคาร แนวทางการปฏิบตั ิ สถานทขี่ องสถานศกึ ษา - ดูแลความสะอาดจุดบริการน้ำดื่ม และภาชนะบรรจุน้ำ ดม่ื ทกุ วนั (ไมใ่ ชแ้ ก้วน้ำดื่มร่วมกันเด็ดขาด) - ตรวจคณุ ภาพน้ำเพื่อหาเชือ้ แบคทีเรียดว้ ยชุดตรวจ ภาคสนาม ทกุ ๖ เดือน ๔) การจัดการขยะ - มีการคดั แยกลดปรมิ าณขยะ ตามหลกั ๓R (Reduce Reuse Recycle) - กรณขี ยะเกิดจากผู้สมั ผัสเสี่ยงสูง/ กักกนั ตวั หรือหน้ากาก อนามยั ทใี่ ชแ้ ล้วนำใสใ่ นถงั ขยะปดิ ให้มดิ ชดิ การฝึกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมจำนวนมาก สถานศึกษา หรือผู้ขออนุญาต ต้องจัดทำมาตรการเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานครหรือ คณะกรรมการ โรคติดต่อจังหวัดจะพิจารณาร่วมกับ ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ เม่ือไดร้ บั อนุญาตแล้วจงึ จะดำเนนิ การได้ โดยมีแนวปฏบิ ัติ ดงั นี้ ๑. แนวปฏิบตั ิดา้ นสาธารณสขุ ๑) กำหนดจุดคัดกรองช่องทางเข้าออก หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มี น้ำมูกหรือ เหนื่อยหอบ หรือมีอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ขึ้นไป แจ้งงดให้เข้าร่วมกิจกรรม และแนะนำ ไปพบแพทย์ และอาจมหี ้องแยก ผู้ทีม่ อี าการออกจากพ้นื ที่ ๒) ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และผู้มาติดต่อ ต้องสวมหน้ากากผ้า หรือ หนา้ กาก อนามัย ตลอดเวลาท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม ๓) จัดให้มีเจลแอลกฮอล์ หรือ จุดล้างมือ สำหรับทำความสะอาด มือไว้ บริการ บริเวณต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เช่น บริเวณหน้าห้อง ประชุม ทางเข้าออก หน้าลิฟต์ จุดประชาสัมพันธ์ และพื้นที่ที่มี กิจกรรมอ่ืน ๆ เปน็ ตน้ ๔) จดั บริการอาหารในลกั ษณะที่ลดการสมั ผสั อปุ กรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น จัด อาหารว่างแบบกล่อง (Box Set) อาหารกลางวันในรูปแบบ อาหารชุดเดยี่ ว (Course Menu) ๕)กรณีที่มีการจัดให้มีรถรับ ส่งผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมให้เวน้ ระยะหา่ ง ๑ท่ีนงั่ ทำ ความสะอาดรถรับสง่ ทกุ รอบหลังให้บริการ

มาตรการ ๑๘ แนวทางการปฏบิ ตั ิ ๖) กำกับให้นักเรียนนั่งโดยมีการเว้นระยะห่างระหว่างที่นั่งและ ทางเดิน อยา่ งนอ้ ย ๑.๕ เมตร ๗) จัดใหม้ ถี งั ขยะท่ีมฝี าปิด เก็บรวบรวมขยะ เพอ่ื ส่งไปกำจัดอยา่ ง ถกู ต้องและการจดั การขยะท่ีดี ๘) จัดใหม้ กี ารระบายอากาศภายในอาคารท่ีดี มีการหมุนเวยี น ของอากาศ อยา่ งเพียงพอ ท้ังในอาคารและห้องส้วม และทำความ สะอาด เครอ่ื งปรับอากาศสม่ำเสมอ ๙) ให้ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อทั่วทั้งบริเวณและเน้นบริเวณที่ มักมีการสัมผัส หรือใช้งานร่วมกันบ่อย ๆ ด้วยน้ำยาฟอกขาวท่ี เตรียมไว้ หรือแอลกฮอล์ ๗๐% หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ๐.๕% เช็ดทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้งทำความ สะอาดห้องส้วมทุก ๒ ชั่วโมงและอาจเพิ่มความถี่ตามความ เหมาะสม โดยเฉพาะเวลาที่มผี ้ใู ช้งานจำนวนมาก ๑๐) มีมาตรการติดตามข้อมูลของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น การใช้ แอปพลิเคชั่น หรือใช้มาตรการควบคุมการเข้าออกด้วยการับนทึก ขอ้ มูล ๑๑) มีการจัดการคุณภาพเพื่อการน้ำอุปโภคบริโภคที่เหมาะสม - จดั ใหม้ ีจดุ บริการนำ้ ด่ืม ๑ จุด หรือหัวกอ๊ กต่อผูบ้ รโิ ภค ๗๕ คน - ตรวจสอบคุณภาพน้ำดม่ื นำ้ ใช้ - ดูแลความสะอาดจุดบริการน้ำดื่มภาชนะบรรจุน้ำดื่มและใช้ แกว้ นำ้ ส่วนตวั ๒.แนวทางปฏบิ ัติสำหรบั ผ้จู ดั กจิกรรม ๑) ควบคุมจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ให้แออัด โดยคิด หลักเกณฑ์จำนวนคนต่อพื้นที่จัดงาน ไม่น้อยกว่า ๔ ตารางเมตรต่อ คน พจิ ารณาเพมิ่ พน้ื ท่ที างเดินให้มสี ดั สว่ นมากขึ้น ๒) จำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบียนให้ เพียงพอสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อลดความแออัด โดยอาจใช้ ระบบการประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ใช้การสแกน QR Code ใน การลงทะเบยี นหรือตอบแบบสอบถาม ๓) ประชาสัมพันธ์มาตรการคำแนะนำในการป้องกันการแพร่ ระบาดให้แก่ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมทราบ

๑๙ มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ ๓. แนวทางปฏิบัติสำหรับผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ๑) สงั เกตอาการตนเองสม่ำเสมอ หากมีไข้ ไอ จาม มีนำ้ มกู หรอื เหน่ือยหอบ ใหง้ ดการเขา้ ร่วมกิจกรรมและพบแพทย์ทันที ๒) สวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามยั เวน้ ระยะหา่ งระหว่าง บคุ คลอย่างนอ้ ย ๑ - ๒ เมตร งดการรวมกลุ่ม และลดการพูดคยุ เสียงดัง ๓) ลา้ งมือดว้ ยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ กอ่ นและหลังใช้ บริการหรือหลังจากสมั ผสั จุดสัมผสั รว่ มหรอื สงิ่ ของ เคร่ืองใช้ เมือ่ กลับถึงบ้านควรเปลีย่ นเส้ือผา้ และอาบน้ำทนั ที ๔) ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของสถานที่อย่างเคร่งครัด และปฏบิ ัติตาม มาตรการสขุ อนามัยสว่ นบุคคลอยา่ งเข้มขน้ ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) ๒. กรณีโรงเรยี นไม่สามารถเปิดเรยี นไดต้ ามปกติ การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ซึ่งสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาจึงควร เลือกรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) โดยพิจารณารูปแบบให้มีความเหมาะสมและ ความพร้อมของสถานศึกษาดังนี้ ๑) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือการเรียนรู้ที่ใช้สื่อวิดิทัศน์การเรียนการสอนของมูลนิธิ การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มในพระบรมราชูปถัมภ์ต้ังแต่ช้ันอนุบาลปที ่ี ๑ ถงึ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และใช้ส่ือ วิดิทัศน์การเรียนการสอนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ๒) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (ONLINE) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ แอปพลิเคชั่น การจัดการเรียนการสอนแบบนี้สำหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แทบ็ เล็ต โทรศัพท์ และมกี ารเชอ่ื มตอ่ สญั ญาณอินเทอร์เนต็ ๓) การเรยี นผ่านหนังสอื เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจดั การเรยี นการสอนในกรณีที่ นักเรยี น มีทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยสถานศึกษาจัดทำแบบฝึกหัด หรือให้ การบา้ นไปทำทบี่ า้ น อาจใชร้ ่วมกับรูปแบบอ่ืน ๆ ตามบริบทของท้องถิน่ ๔) การจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) คือการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube (DLTV Channel ๑-๑๕) และแอปพลิเคชั่น DLTV บนสมาร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ต

๒๐

๒๑

๒๒ ส่วนท่ี ๔ แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ที่กำหนดไว้นี้ สถานศึกษาควรพิจารณาเลือกจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณารูปแบบให้มีความ เหมาะสม ตามความต้องการของสถานศึกษา และให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถที่จะกำหนดแนวทางการการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างจากท่ีกำหนดไว้นี้ หรือจัดการ เรียนการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคลากร เป็นสำคญั รปู แบบการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID- ๑๙) รูปแบบทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) มี ๒ รปู แบบ ดังน้ี ๑. รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบชัน้ เรียน (Onsite) วิธีการนี้สำหรับสถานศึกษาที่มีผลการประเมินตนเองผ่าน ตามแบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษา ในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน และปฏิบัติตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรอื สถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดตามความ ในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒) ลงวนั ท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ซง่ึ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพือ่ ให้สถานศึกษา นำไปใช้ในการ ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ซึ่งสถานศึกษาจะต้องนำเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานและไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวัด (กศจ.) และศูนย์ปฏิบัติการ ควบคุมโรคจังหวัด (ศปก.จ.) เมื่อได้รับอนุญาตแล้วสถานศึกษาจึงจะสามารถเปิดการเรียนการสอนได้ เมื่อ สถานศึกษาเปิดให้มีการเรียนการสอนตามปกติ ที่เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นโรงเรียนหรอื ในชั้นเรียนเปน็ หลัก ครูผู้สอนสามารถนำรูปแบบการเรียนการสอนอื่น ๆ มาผสมผสาน (Hybrid) ใช้กับการเรียนการสอน เพิ่มเติมในชั้นเรียนได้ เช่น การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) หรือการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่าน แอปพลิเคชั่น (ONLINE) หรอื รปู แบบอน่ื ๆ ตามความพร้อมและความตอ้ งการของสถานศกึ ษาหรอื ครูผสู้ อน ดงั นี้

๒๓ การจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ในแบบชั้นเรยี น (Onsite) รูปแบบเป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีมีความหลากหลาย ยดื หยนุ่ ไมว่ ่าจะเปน็ การเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนใน ห้องเรียน ผสมผสานกับการเรียนรูน้ อกห้องเรียนที่ครูและนักเรียนไม่ได้เผชิญหนา้ กัน หรือใช้แหล่งเรียนรู้ที่มอี ยู่ ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่การเรียนรู้ของนักเรียนเป็นสำคัญ โดยสถานศึกษาสามารถเลือกรูปแบบการจัดการเรียนการ สอนได้ตามตวั อยา่ ง ดงั นี้ รูปแบบที่ ๑ การสลบั ชน้ั มาเรยี นของนกั เรยี น แบบสลบั ชัน้ มาเรียน รูปแบบนี้สถานศึกษาท่ีเปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถจัด ให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) มาเรียนในวันอังคารและวันพฤหัสบดี และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๔ – ป.๖) และ ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในวันจันทร์ วันพุธ วันศุกร์สลับกันไปทกุ สปั ดาห์ ในวันที่นักเรยี นอยู่ท่ี บา้ นสามารถใหน้ ักเรยี นเรียนรูโ้ ดยการเรยี นการสอนทางไกลได้ทั้ง ON Air และ ONLINE ตามบรบิ ทความพร้อม ของนักเรียน รูปแบบที่ ๒ การสลับชน้ั มาเรียนของนกั เรยี นแบบสลบั วันคู่ วันคี่ รูปแบบนี้ สถานศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถจัดให้ นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) มาเรียนในวันคู่ และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔ – ป.๖) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

๒๔ (ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในวันค่ี สลับกันไป ในวันที่นักเรียนอยู่ที่บ้านสามารถให้นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการ สอนทางไกลได้ ทั้ง ON Air และ ONLINE ตามบรบิ ทความพร้อมของนกั เรยี น รปู แบบที่ ๓ การสลับชน้ั มาเรียนของนกั เรียนแบบสลบั วันมาเรียน ๕ วัน หยดุ ๙ วัน รูปแบบน้ี เหมาะสมกับโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ที่มีจำนวนนักเรียนต่อห้องมาก มีพื้นท่ี ห้องเรียนจำกัดหรือโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนโครงการห้องเรียนพิเศษต่าง ๆ โรงเรียนต้องสำรวจข้อมูล เพอื่ วางแผนแบง่ กลมุ่ นกั เรยี นในห้องเรยี นเป็นสองกล่มุ กล่มุ A และกลมุ่ B ให้สลบั กันมาเรยี น สัปดาหแ์ รก และ สัปดาห์ที่สาม กลุ่ม A มาเรียนที่โรงเรียน กลุ่ม B เรียนอยู่ที่บ้านด้วยการเรียนการสอนทางไกล สัปดาห์ที่สอง และสัปดาห์ที่สี่ กลุ่ม A เรียนอยู่ที่บ้านด้วยการเรียนการสอนทางไกล กลุ่ม B มาเรียนที่โรงเรียนสลับกันไป นักเรียนสามารถเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง On Air และ ONLINE ตามบริบทความพร้อม ของ นกั เรียน

๒๕ รปู แบบที่ ๔ การสลับช่วงเวลามาเรียนของนักเรยี นแบบเรียนทกุ วัน รูปแบบนี้ สถานศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถจัดให้ นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) มา เรียนในช่วงเวลา ๘.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔ – ป.๖) และระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในมาเรียนในช่วงเวลา ๑๒.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. ในวันที่นักเรียนอยู่ท่ี บ้านสามารถให้นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง On Air และ ONLINE ตามความเหมาะสม และความพร้อมของนักเรียน รูปแบบท่ี ๕ การสลับกลุ่มนกั เรียนแบบแบ่งนักเรียนในห้องเรยี นเปน็ ๒ กลุ่ม รูปแบบนี้ เหมาะสมกับสถานศึกษาที่มีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ที่มีจำนวนนักเรียนต่อห้องมาก มพี นื้ ทห่ี ้องเรียนจำกัดหรอื โรงเรยี นทจ่ี ดั การเรียนการสอนโครงการห้องเรียนพิเศษต่าง ๆ สถานศกึ ษาต้องสำรวจ ข้อมลู เพ่อื วางแผนแบง่ กลุ่มนักเรียนในห้องเรียนเป็นสองกลมุ่ กล่มุ A และกลุ่ม B ให้ สลบั กันมาเรียน วันจันทร์ กลุ่ม A มาเรียนที่โรงเรียน กลุ่ม B เรียนอยู่ที่บ้านด้วยการเรียนการสอนทางไกล วัน อังคาร กลุ่ม A เรียนอยู่ท่ี บ้านด้วยการเรียนการสอนทางไกล กลุ่ม B มาเรียนที่โรงเรียนสลับกันไป นักเรียน เรียนรู้โดยการเรียนการสอน ทางไกลไดท้ งั้ ON Air และ ONLINE ตามความเหมาะสมและความพร้อมของนกั เรยี น

๒๖ รปู แบบท่ี ๖ รูปแบบอ่นื ๆ นอกจากรูปแบบที่ ๑ รูปแบบที่ ๕ ดังกล่าวแล้ว สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการจัดการเรียนการ สอนได้ตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของสถานศึกษาโดยจำเป็นต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนใน การป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ซึ่งรูปแบบการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว ต้องผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ นเิ ทศการศึกษา (กตปน.) รวมถึงตอ้ งได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวัด (กศจ.) และศูนย์ ปฏิบัตกิ ารควบคมุ โรคจังหวดั (ศปก.จ.) ตามลาํ ดบั ๒. รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) รปู แบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) มี ๔ รปู แบบ ดงั นี้ ๒.๑ รปู แบบการเรยี นผ่านโทรทศั น์ (On Air) วิธีการนี้ เป็นกรณีที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนได้ หรือไม่สามารถจัดการเรียนการสอน ให้นักเรียนมาเรียนที่โรงเรียนพร้อมกันได้ทุกคน เป็นการเรียนรู้ผ่านสื่อวิดิทัศน์การจัดการเรียนการสอนของ มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ตั้งแต่ชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๑ ถงึ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ โดย ดำเนนิ การออกอากาศมที ัง้ หมด ๔ ระบบไดแ้ ก่ ๑. ระบบดาวเทียม (Satellite) ๑.๑ KU-Band (จานทึบ) ชอ่ ง ๑๘๖ – ๒๐๐ ๑.๒ C-Band (จานโปรง่ ) ชอ่ ง ๓๓๗ – ๓๔๘ ๒. ระบบดจิ ทิ ลั ทวี ี (Digital TV) ช่อง๓๗–๔๘ ๓. ระบบเคเบล้ิ ทวี ี ๔. ระบบ IPTV. ๒.๒ รปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (ONLINE) เป็นรูปแบบการเรยี นการสอนผา่ นอินเทอร์เน็ตและแอปพลเิ คชนั่ การจดั การเรียนการสอนแบบนี้สำหรับ ครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และมีการเชื่อมต่อ สญั ญาณ อนิ เทอร์เนต็ มที ั้งหมด ๔ ช่องทาง ได้แก่ ๑. เว็บไซต์ OBEC Content Center - https://contentcenter.obec.go.th/ ๒. เวบ็ ไซต์ DEEP - https://deep.moe.go.th/

๒๗ ๓. เว็บไซต์ DLTV - https://www.dltv.ac.th/ ๔. ช่องยทู ูบ(YouTube)DLTV๑ Channel ถงึ DLTV ๑๕ Channel ระดบั ปฐมวยั ระดบั ประถมศึกษา DLTV ๑๐ Channel (อ.๑) DLTV ๑ Channel (ป.๑) DLTV ๑๑ Channel (อ.๒) DLTV ๒ Channel (ป.๒) DLTV ๑๒ Channel (อ.๓) DLTV ๓ Channel (ป.๓) DLTV ๔ Channel (ป.๔) DLTV ๕ Channel (ป.๕) DLTV ๖ Channel (ป.๖) ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย DLTV ๗ Channel (ม.๑) DLTV ๑๓ Channel (ม.๔) DLTV ๘ Channel (ม.๒) DLTV ๑๔ Channel (ม.๕) DLTV ๙ Channel (ม.๓) DLTV ๑๕ Channel (ม.๖) ๒.๓ รปู แบบการเรยี นการสอนผา่ นหนงั สอื เอกสารใบงาน (ON Hand) รูปแบบน้ีเป็นการเรียนการสอนผ่านหนังสือโดยให้แบบฝึกหัดให้การบ้านไปทำที่บ้าน อาจใช้ร่วมกับ รูปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสมและความต้องการของนักเรียน ในกรณีที่นักเรียนมีทรัพยากรไม่พร้อมในการ จดั การเรยี นการสอนในรูปแบบอ่นื ๆ ๒.๔ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) รูปแบบนี้เปน็ การเรยี นรู้ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรอื ชอ่ ง YouTube (DLTV Channel ๑-๑๕) และแอปพลิเคชัน่ DLTV บนสมาร์ทโฟน หรอื แท็บเลต็ คลงั ความรู้ (Knowledge Bank) ทส่ี นับสนนุ การเรยี นการสอนดว้ ยระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Learning Platform) คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนุนการเรียนการสอนด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Learning Platform) ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ทำให้นักเรียนไม่สามารถกลับไปเรียนแบบ Onsite ท่ีสถานศึกษาได้ แต่การเรียนของนักเรียนยังคงต้องดำเนิน ต่อไปไม่หยุดยั้ง ดังนั้นคลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้ในระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Learning Platform) สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้กับครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เลือก

๒๘ นำไปใช้ในการนำไปจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสม และตรงตามความต้องการของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ ดังนี้ ๑. DEEP เวบ็ ไซต์https://deep.moe.go.th/ DEEP ย่อมาจาก Digital Education Excellence Platform คือ แฟลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้ แห่งชาติ สร้างขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของกระทรวงศึกษาธิการ รวมถึง การฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาทกั ษะครู และบคุ ลากรทางการศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ ๒. OBEC Content Center เว็บไซต์ https://contentcenter.obec.go.th/ OBEC Content Center คือ คลังเนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พ้นื ฐาน (สพฐ.) เปน็ โปรแกรมสำหรบั ให้บริการเผยแพร่เน้ือหาอิเล็กทรอนิกส์ แกน่ ักเรยี น ครู ศึกษานเิ ทศก์ และ บุคลากรทางการศึกษา รองรับการเขา้ ถงึ เน้ือหาอเิ ล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แอปพลเิ คชั่น , หนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ่าง ๆ ๓. DLTV เว็บไซต์ www.dltv.ac.th/ แอปพลิเคชนั่ DLTV และช่องยูทปู DLTV ๑ Channel - DLTV ๑๒ Channel และ DLTV ๑๕ Channel DLTV คือการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เกิดจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมพี ระราชปณิธานในการจัดการศึกษา ใหก้ บั ประชาชน อย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดในขณะนั้น เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการ ศึกษา แก้ปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น และครูสอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก โดยเฉพาะโรงเรียนในพื้นท่ี ห่างไกล ปัจจบุ นั โครงการนี้อยู่ในความดูแลของมลู นิธิศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยจะ ถา่ ยทอดการเรยี นการสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ อำเภอหวั หิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเผยแพร่ภาพไปท่วั ประเทศ ทำใหม้ จี ำนวนครแู ละนักเรยี นที่ไดร้ ับโอกาสเพ่ิมขึ้นกวา่ หน่งึ ล้านห้าแสนคน ด้วย พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำให้พสกนิกรทุกหมู่เหล่าสามารถเข้าถึงการศึกษาที่มี คณุ ภาพไดอ้ยา่ งท่วั ถึงและเท่าเทยี ม

๒๙ ๔. Scimath เวบ็ ไซต์ https://www.scimath.org/index.php Scimath คลังความรู้สู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทำโดยสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสื่อการเรียนการสอน โครงงาน บทความ ข้อสอบ และรายการโทรทศั นแ์ ละวิทยทุ ี่เก่ียวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี ๕. ศูนยเ์ รยี นร้ดู จิ ิทลั ระดบั ชาติดา้ นวทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี สวท. เว็บไซต์ https://learningspace.ipst.ac.th/ ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลฯ คือ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน เป็นศูนย์การ เรียนรู้และต่อยอดเทคโนโลยีด้านดิจทิ ัลให้กับเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนทั่วประเทศให้สามารถค้นหา ข้อมูล เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นการลดความเหล่ือมล้ำในการเข้าถงึ เทคโนโลยีดิจทิ ลั ให้คนไทยทกุ คนได้ใช้บริการอยา่ งทว่ั ถงึ และเท่าเทียมกนั ๖. สะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education Thailand) เว็บไซต์ http://www.stemedthailand.org/ สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน ๔ สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา กระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสร้างความ เชอื่ มโยงระหว่าง ๔ สหวทิ ยาการกับชวี ิตจริงและการทำงาน การจดั การเรยี นรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการจัดการ เรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจำทฤษฎี หรือกฎทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจ ทฤษฎีหรือกฎเหล่านน้ั ผ่านการปฏิบัตใิ หเ้ หน็ จรงิ ควบคกู่ ับการพฒั นาทักษะการคิด ต้งั คำถาม แกป้ ัญหา และการ หาข้อมูลและวเิ คราะห์ข้อค้นพบใหม่ ๆ พรอ้ มท้งั สามารถนำข้อค้นพบนน้ั ไปใช้หรือบูรณาการกบั ชวี ิตประจำวันได้ ๗. ระบบออนไลน์ขอ้ สอบ PISA เว็บไซต์https://pisaitems.ipst.ac.th/ ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เป็นระบบสารสนเทศที่เผยแพร่ข้อสอบท่ี OECD อนุญาตให้เผยแพร่ และ ขอ้ สอบที่พัฒนาโดย สสวท. การลงทะเบียนเขา้ ใชง้ านระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA ที่ OECD อนุญาตให้เผยแพร่ และขอ้ สอบที่พัฒนาโดย สสวท. สามารถใชช้ อื่ ผ้ใู ช้ (User Name) เดยี วกนั ได้

๓๐ ๘. TK Park เว็บไซต์ https://www.tkpark.or.th/tha/home TK Park คือ แอปพลิเคชั่นแหล่งรวมสาระความรู้และความความเพลิดเพลินให้เด็กไทยเรียนรู้อย่าง สร้างสรรค์ โดยการนำองค์ความรู้ ไทยทีม่ คี วามหลากหลาย ๙. ห้องเรยี นแหง่ คุณภาพ (DLIT Classroom) เว็บไซต์ https://dlit.ac.th/site/classroom.php/ DLIT คือเครื่องมือที่มีเนื้อหาและเทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างครบวงจร ตั้งแต่ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การจดั การเรยี นการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาฯ การจดั การเรียนการ สอนเพมิ่ เตมิ การสอบท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ และการพฒั นาวชิ าชีพอย่างยั่งยนื ๑๐. ครพู ร้อม เวบ็ ไซต์ https://www.ครพู รอ้ ม.com/ ครพู รอ้ ม เปน็ Web Portal จากกระทรวงศึกษาธิการ ท่จี ัดทำขึ้นมาใหม่ เพือ่ เสริมแฟลตฟอรม์ ต่าง ๆ ที่ หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการมีอยู่ โดยจะเป็นคลังสื่อข้อมลู การเรียนรู้ตลอดจนรูปแบบการจัดกิจกรรม ซงึ่ มีขอ้ มลู ทง้ั ของ สพฐ.-สช.-สำนกั งาน กศน.-สอศ

๓๑ แอปพลิเคชนั่ (Applications) สนับสนนุ การเรียนการสอนทางไกล สถานศึกษาสามารถเลือกใช้ Applications สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งเป็นช่องทางการ ส่ือสารการจดั การเรยี นการสอนแบบทางไกล ที่เหมาะสมตามสภาพพ้ืนทขี่ องสถานศึกษาดังนี้ ๑. Microsoft Teams โปรแกรมประชุมออนไลน์ของ Microsoft สำหรบั ใชพ้ ูดคุยประชมุ กันผ่านการแชตและวิดโี อคอล อีกทั้ง ยังสามารถเปิดดูและแก้ไขไฟล์งานร่วมกันได้แบบเรียลไทม์ เหมาะสำหรับการใช้ทำงานในระดับองค์กร หรือ การศึกษา สามารถใช้งานได้ฟรี โดยการใช้ Microsoft Team แบบฟรีจะสามารถเรียนออนไลน์ร่วมกันได้สงู สดุ ๑๐๐ คน นานสุด ๖๐ นาที พร้อมพื้นท่ีจัดเก็บไฟล์คนละ ๑ GB รองรับการใช้งานทั้งบนเว็บเบราว์เซอร์ ติดตั้ง เปน็ โปรแกรมบนคอมพวิ เตอร์หรือแอปพลเิ คชัน่ บนอปุ กรณม์ ือถือและแทบ็ เล็ต ๒. Zoom Meeting โปรแกรมประชุมออนไลนแ์ บบ Video Call ทีม่ คี นใช้งานกนั มากทส่ี ุดในชว่ ง Work from Home ซง่ึ ทำ ใหอ้ งค์กรตา่ ง ๆ สามารถประชุมงานพรอ้ มกันไดห้ ลายคน พูดคยุ แบบเห็นหนา้ กนั สามารถแชรห์ น้าจอใหค้ นอ่ืนดู ได้ รวมท้งั นกั เรยี นนกั ศึกษาและครูอาจารยก์ ส็ ามารถใช้ Zoom ในการเรียนและสอนออนไลนไ์ ด้ดว้ ยเช่นกนั สำหรับการใช้งาน Basic User (โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย) จะรองรับการซูมพร้อมกันสูงสุด ๑๐๐ คน แต่มี การจำกัดระยะเวลาการประชมุ ไว้ที่ ๔๐ นาทตี อ่ ครงั้ สำหรับ Pro User (เสียคา่ ใช้จ่าย) รองรบั การซูม พร้อมกัน สูงสดุ ๓๐๐ คน และไม่จำกดั ระยะเวลาท่ใี ช้ในการประชมุ ๓. Google Meet โปรแกรมสำหรับการประชุมทางวิดีโอแบบออนไลน์ โดยผู้สอนที่มีบัญชี Google จะสามารถสร้าง ห้องเรียนออนไลน์ที่รองรับนักเรียนได้สูงสุด ๑๐๐ คน และใช้สอนได้สูงสุด ๖๐ นาทีต่อการสร้างห้อง ๑ ครั้ง นอกจากนี้ก็ยังมีฟีเจอร์ขั้นสูงที่รองรับนักเรียนภายในหรือภายนอกชั้นเรียนสูงสุด ๒๕๐ คน และ สตรีมมิ่งแบบ สดสำหรบั ใหค้ นเขา้ มาดพู รอ้ มกนั ได้สูงสดุ ถงึ ๑๐๐,๐๐๐ คน

๓๒ ๔. LINE LINE เป็นแอปพลิเคชั่นที่นิยมใช้ในการคุยแชตการใช้ LINE สำหรับการสอนออนไลน์ไปด้วยก็เป็นวิธีที่ สะดวก เพราะทั้งผู้เรียนและผู้สอนไม่จำเป็นต้องไปหาแอปฯ อื่น ๆ มาใช้เพิ่มเติม โดยใช้ฟีเจอร์ Group Call ที่ รองรับสูงสุดถึง ๒๐๐ คน ใช้ได้ทั้งบน PC และมือถือ อีกทั้งสามารถแชร์ภาพหน้าจอของตัวเองให้ นักเรียนดูได้ หรอื จะใช้ฟเี จอร์ Live เพอ่ื ถ่ายทอดสดการสอนก็ได้เช่นกัน ๕. Discord Discord เป็นโปรแกรมแชตที่เป็นที่นิยมในกลุ่มคนเล่นเกม ซึ่งมีฟีเจอร์ที่เหมาะสำหรับใช้ในการเรียน การสอนเช่นกัน คือสามารถสร้างห้องประชุมคุยกันทัง้ แบบเสียงและแบบเปิดกล้อง รวมทั้งสามารถแชร์หน้าจอ ให้นกั เรียนดูได้ แถมยงั สามารถสร้างห้องแยกยอ่ ยและกดย้ายห้องไปมาได้อยา่ งสะดวกง่ายดายอีกด้วยนอกจากน้ี Discord ยังมจี ดุ เดน่ คือสามารถใช้ไดฟ้ รีโดยรองรบั จำนวนคนต่อห้องได้ไมจ่ ำกัด ๖. Facebook Live การใช้ Facebook Live ในการสอนออนไลน์เป็นอีกวิธีหนงึ่ ที่ง่ายและสะดวก เนื่องจากคนส่วนใหญ่ มัก มีบัญชี Facebook อยู่แล้ว จึงสามารถสอนออนไลน์แบบถ่ายทอดสดให้นักเรียนสามารถเข้ามาดูได้แสนงา่ ย แต่ มขี ้อเสียคือตวั ผสู้ อนจะไม่สามารถเหน็ หน้าจากกล้องของนักเรยี นแต่ละคน รวมท้งั ไมส่ ามารถจำกัดผู้เข้าเรยี น ได้ แตก่ ารแชร์หน้าจออาจต้องใช้โปรแกรมเพ่มิ เตมิ อย่างเช่น OBS ๗. YouTube YouTube เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่สามารถใช้ถ่ายทอดสดการสอนได้เช่นเดียวกับ Facebook Live โดย ตัวผู้สอนจะต้องมีบัญชี YouTube ส่วนผู้เข้าเรียนนั้นจะมีบัญชีหรือไม่มีก็ได้ และผู้สอนสามารถตั้งค่าการ ถ่ายทอดสดเพื่อให้เฉพาะผู้ที่มีลิงก์สามารถเข้าเรียนได้ ส่วนการแชร์หน้าจออาจต้องใช้โปรแกรมเพิ่มเติม อยา่ งเชน่ OBS เหมือนกับ Facebook Live หากตอ้ งการสตรมี แบบสดบนอปุ กรณเ์ คล่ือนท่ี ชอ่ งของผู้ใช้จะต้อง มีผู้ติดตามอย่างน้อย ๑,๐๐๐ คน จึงจะสามารถดำเนินการแบบสดผ่านคอมพิวเตอร์และเว็บแคมได้ สมาชิก YouTube Premium จะได้เพลิดเพลินไปกบั ภาพยนตร์ฟรีที่มหี ลากหลาย และรายการทีวี บน YouTube แบบ ไม่มีโฆษณาคั่น โดยจะสตรีมภาพยนตร์เหล่านี้ในอุปกรณ์ได้สูงสุด ๒ เครื่องพร้อมกันต่อบัญชี YouTube Premium ๑ บัญชีเท่านั้น และสตรีมในอุปกรณ์ได้สูงสุด ๔ เครื่องพร้อมกันหากใช้แพ็กเกจ YouTube Premium สำหรับครอบครวั

๓๓ ๘. Google Hangouts Meet สามารถแชตกับเพื่อน คุยแบบเห็นหน้าได้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม เชื่อมต่อได้ทั้งคอมพิวเตอร์ แท็บ เลต็ หรือใชก้ ับสมาร์ทโฟน โดยลงช่ือเขา้ ใชด้ ้วยบญั ชขี อง Google เพิม่ อีโมจิ และภาพเคลื่อนไหวแบบ GIF รับสง่ ข้อความ SMS/ MMS มีแจ้งเตือน เก็บบันทึกไว้หลังประชุมจบ อีกทั้งยังสามารถแชร์ Location ได้ ปัจจุบัน รองรบั จำนวนผู้เข้ารว่ มสงู สุดไดถ้ ึง ๕๐ คน โดยเปดิ ใชฟ้ รีทั้งหมดไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย ๙. Skype Skype เป็นโปรแกรมแชตและโทรผ่านเน็ต และสนทนาที่ได้รับความนิยมที่สุดสามารถส่งไฟล์สนทนา แบบวีดีโอ อีกทั้งยังสามารถพูดคุย ส่งข้อความ แบบพิมพ์หากันได้โดยคู่สนทนาต้องมีโปรแกรมดังกล่าวเช่นกัน รองรับระบบคอมพิวเตอร์ มือถือ แท็บเล็ต มีระบบการปรับระดับเสียงอัตโนมัติ แบบฟรีไม่สามารถประชุมเกิน ๑๐ คนได้ หากใช้ Skype for Business สามารถประชมุ ไดม้ ากถงึ ๒๕๐ คน ๑๐. Cisco Webex Cisco Webex ถือเป็นต้นฉบับของโซลูชันการประชุมวิดีโอในองค์กร (ปัจจุบันใช้ชื่อ Webex Meetings) และภายหลังก็ขยายตัวมายังระบบแชตในองค์กรด้วย (ใช้ชื่อ Webex Teams) ฟีเจอร์ของ Webex เรยี กว่าครบถว้ นสำหรบั ลกู คา้ องคก์ ร รองรบั การประชมุ สูงสุด ๓,๐๐๐ คนต่อหอ้ ง และไลฟ์สตรมี สงู สุด ๑๐๐,๐๐ คน ปัจจุบัน Webex มีแพ็กเกจรุ่นฟรีสำหรับการประชุมไม่เกนิ ๑๐๐ คน และไม่จำกัดความยาวใน การประชมุ (ต่างจาก Zoom ที่จำกัด ๔๐ นาที) เข้าใช้ได้ฟรี (จำกัดการประชุมไม่เกิน ๑๐๐ คน) รุ่นเสียเงิน เริ่มต้นที่ (ประมาณ ๔๑๕ บาท) ต่อเดือน พร้อมพื้นที่จัดเก็บข้อมูลบน Cloud ขนาด ๕ GB และรองรับการเชื่อมต่อเสียง ผา่ นระบบโทรศพั ท์ ๑๑. Padlet Padlet คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการกระดานแสดงความคิดเห็นออนไลน์ รองรับผู้ใช้หลายคน ผู้ใช้สามารถ เข้ามาอภปิ รายแลกเปล่ียนขอ้ มลู ขา่ วสารเขยี นคำถามคำตอบหรือสรปุ เนื้อหา เปน็ ชอ่ งทางแสดงความคดิ เห็นของ นักเรียนและครูหรือเพ่ือน ๆ ในชั้นเรยี นได้ดีมาก วันนี้จึงนำโปรแกรมดี ๆ มีฝากเพื่อนครู และผู้ที่สนใจลองใช้ มี แบบฟรีและเสียค่าใชจ้ า่ ย

๓๔ สรปุ ความสามารถในการใช้งานของแต่ละโปรแกรม

๓๕ สรุป ความสามารถในการใชง้ านของแตล่ ะโปรแกรม (ต่อ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook