Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Doc1 ตายต่ะ แปลง

Doc1 ตายต่ะ แปลง

Published by khemlonlanee, 2018-02-07 10:32:07

Description: Doc1 ตายต่ะ แปลง

Search

Read the Text Version

แหลง่ อารยธรรมโบราณในภมู ภิ าคเอเชยี ภูมภิ าคเอเชยี เป็นดนิ แดนทม่ี อี ารยธรรมทเ่ี ก่าแก่แหง่ หน่ึงของโลกมีแหลง่ อารยธรรมทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ อารยธรรมลุม่ แมน้ ้าไทกรสี – ยเู ฟรตสี ในเอเชยีตะวนั ตกเฉียงใต้ อารยธรรมลุม่ แมน่ ้าฮวงโหในประเทศจนี และอารยธรรมลุม่แมน่ ้าสนิ ธใุ นประเทศอนิ เดยี ซง่ึ อารยธรรมในแตล่ ะแหง่ เหลา่ น้ีมวี วิ ฒั นาการมาตงั้ แต่สมยั ยุคหนิ ลกั ษณะสาคญั ของอารยธรรมในทวปี เอเชยี มลี กั ษณะทส่ี าคญั

สารบญั หน้า 1เร่ือง 2อารยธรรมลมุ่ นา้ ไทกรีส – ยเู ฟรตีสอารยธรรมของชาวสเุ มเรียน 3 4อารยธรรมของชาวอมอไรต์ 4อารยธรรมของชาวแอสซเี รีย 5อารยธรรมของชาวคาลเดยี นอารยธรรมของชาวเปอร์เซีย

เร่ือง หน้าอารยธรรมของชาวฮิบรู 6อารยธรรมลมุ่ แมน่ า้ สนิ ธุ 7อารยธรรมจีน 11อารยธรรมจีนในสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ 11อารยธรรมจีนในสมยั ประวตั ิศาสตร์ 12บรรณานกุ รม 16

อารยธรรมลุ่มนา้ ไทกรีส - ยูเฟรตีส อารยธรรมลมุ่ แมน่ ้าไทกรสี - ยเู ฟรตสี หรอื อารยธรรมเมโสโปเตเมยีตงั้ อยใู่ นบรเิ วณของทร่ี าบลุม่ ไทกรสี และแมน่ ้ายเู ฟรตสี ทม่ี คี วามอุดมสมบรู ณ์ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ตกเฉียงใตห้ รอื ในประเทศอริ กั ปัจจุบนั ไดม้ ชี นเผา่ ตา่ งๆ ผลดั เปลย่ี นกนั เขา้ มาสรา้ งความเจรญิ ทางอารยธรรมใหก้ บั ดนิ แดนน้ีมาตงั้ แต่ครงั้ โบราณ โดยอารยธรรมของชนเผา่ ทไ่ี ดส้ รา้ งความเจรญิ รุง่ เรอื งใหก้ บัเมโสโปเตเมยี ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ ชาวสเุ มเรยี น ชาวอมอไรต์ ชาวแอสซเี รยี ชาวคาลเดยี น ชาวเปอรเ์ ซยี และชาวฮบิ รู เป็นตน้ 1

อารยธรรมของชาวสุเมเรียน ชาวสเุ มเรยี นเป็นชนเผา่ แรกทเ่ี ขา้ มาตงั้ ถน่ิ ฐานในเมโสโปเตเมยีเมอ่ื ประมาณ 4,000 ปีกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช มพี ฒั นาการทางการเมอื งเรมิ่ จากการตงั้ หมบู่ า้ นกอ่ นจะขยายตวั เป็นชุมชนวดั มพี ระปกครอง ศนู ยก์ ลางปกครองอยทู่ ว่ี ดั ตอ่ มาเมอ่ื ชุมชนขยายตวั เป็นชุมชนใหญ่เกดิ องคก์ ารเมอื งแบบนครรฐั แตล่ ะนครรฐั เป็นอสิ ระไมข่ น้ึ แก่กนั มกี ษตั รยิ เ์ ป็นผนู้ า ชาวสเุ มเรยี นนบั ถอื เทพเจา้ หลายองค์ แตล่ ะนครรฐั จะมเี ทพเจา้ ประจานครรฐั ชาวสเุ มเรียนได้มีการประดษิ ฐ์ตวั อกั ษรลิ่มหรือคนู ิฟอร์ม( )Cuniform ขน้ึ เพอ่ื ใชใ้ นการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั โดยไดบ้ นั ทกึ ลงในแผน่ ดนิเหนียว วรรณกรรมของชาวสเุ มเรยี น คอื มหากาพยก์ ลิ ลาเมช (Gilgameah)Epic กลา่ วถงึ การผจญภยั ของบรรพบุรษุ พวกสเุ มเรยี น และมหากาพย์เอนลลิ (Enil) พรรณนาถงึ การสรา้ งโลกและน้าทว่ มโลก นอกจากนนั้ ชาวสุเมเรยี นยงั รจู้ กั การสรา้ งระบบชลประทานอยา่ งงา่ ย เชน่ การสรา้ งอา่ งเกบ็น้า เพอ่ ใชใ้ นการเกษตร เป็นตน้ 2

อารยธรรมชองชาวอมอไรต์ ชาวอมอไรต์เป็นชนเผ่าที่ได้เข้ามาสร้างความเจริญรุ่งเรืองในดนิ แดนเมโส-โปเตเมียต่อจากชนเผ่าสเุ มเรียน และขยายอาณาจกั รออกไปอยา่ งกว้างขวางสถาปนาจกั รวรรดิบาบิโลเนีย ขนึ ้ ประมาณ 2,000 ปีก่อนครสิ ตศ์ กั ราช มนี ครบาบโิ ลน ( )Babylon เป็นศนู ยก์ ลางการปกครอง กษรั ตรยิ ท์ ส่ี าคญั คอื พระเจา้ มรู าบี( )Hammurabi ผลงานสาคญั ของพระองค์ คอื ประมวลกฎหมายฮมั มรู าบี ถอื เป็นประมวลกฎหมายฉบบั แรกขแงโลกมบี ทลงโทษเป็นแบบตอบสนองตอบ หรอื“ตาตอ่ ตา ฟันตอ่ ฟัน” มกี ารแบ่งชนชนั้ ในสงั คมเป็นชนชนั้ สงู ชนชนั้ กลางและชนชนั้ ต่า 3

อารยธรรมของชาวแอสซีเรีย ชาวแอสซเี รียได้สถาปนาจกั รวรรดิแอสซเี รียขนึ ้ เมอื่ ประมาณ 1,100 ปีกอ่ นคริสต์ศกั ราช มีศนู ย์กลางการปกครองอย่ทู เี่ มืองนิเนอเวห์ ( )Ninevehชาวแอสซเี รยี มคี วามสามารถในการรบ สามารถขยายอาณาเขตไปได้อยา่ งกวา้ งขวาง และกองทพั ทแ่ี ขง็ แกรง่ มรี ะเบยี บวนิ ยั ความเจรญิ ของชาวแอสซเี รยี ไดแ้ ก่ การปัน้ ทงั้ แบบนูนและลอยตวั มกั แสดงใหเ้ หน็ ถงึสดั สว่ นของรา่ งกายทเ่ี ป็นจรงิ การแกะสลกั ภาพนูนต่าทแ่ี สดงการเคลอ่ื นไหวเหมอื นธรรมชาติ เป็นตน้ อารยธรรมของชาวคาลเดยี นพวกแคลเดยี นสถาปนาจกั รวรรดิคาลเดยี นหรือบาบิโลเนียใหม่ (New )Babyloniaโดยมกี รุงบาบโิ ลเนียเป็นศนู ยก์ ลางการปกครอง เมอ่ื ประมาณ 612 ปีก่อนครสิ ตศ์ กั ราช มอี ารยธรรมทส่ี าคญั คอื การสรา้ งสวนลอยแห่งบาบโิ ลนทเ่ี ป็นสง่ิมหศั จรรยส์ ง่ี หน่ึงของโลก นอกจากนนั ้ชนเผา่ คาลเดยี นยงั เป็นผทู้ ม่ี คี วามรู้ทางดา้ นดาราศาสตรแ์ ละโหราศาสตรเ์ ป็นอยา่ งดี 4

อารธรรมของชาวเปอร์เซียพวกเปอรเ์ ซยี เป็นชนเผา่ หน่ึงทไ่ี ดส้ รา้ งความเจรญิ รุง่ เรอื งใหก้ บั ดนิ แดนเมโสโปเตเมยี เป็นบรรพบุรุษของชาวอหิ รา่ น ปัจจบุ นั ไดม้ กี ารสถาปนาอาณาจกั รเปอรเ์ ซยี มาตงั้ แต่ประมาณ 600 ปีก่อนครสิ ตศ์ กั ราช มคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งสงู สดุ ในสมยั ของพระเจา้ ดารอิ ุส ความเจรญิ ของชนเผา่เปอรเ์ ซยี ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ การรจู้ กั การสรา้ งถนนเชอ่ื มระหวา่ งเมอื งหลวงกบัดนิ แดนต่าง ๆ ในอาณาจกั รมคี วามยาวถงึ 2,500 กโิ ลเมตร เพอ่ื ควบคมุมณฑลตา่ ง ๆ ภายในจกั รวรรดแิ ละเพอ่ื ความสะดวกในการตดิ ต่อคา้ ขายนอกจากนนั้ ชาวเปอน์เซยี ยงั รจู้ กั การประดษิ ฐต์ วั อกี ษรใชเ้ พอ่ื การตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั นบั ถอื ศาสนาโซโรแอสเตอรซ์ ง่ึ นบั ถอื ไฟ เป็นตน้ 5

อารยธรรมของชาวฮิบรู ชาวฮบิ รหู รอื ยวิ เป็นชนเผา่ ทไ่ี ดม้ าสรา้ งความเจรญิ รุง่ เรอื งในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี อกี เผา่ หน่ึงเป็นชนเผา่ เรร่ อ่ นเผา่ หน่ึงในดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ตกฉยี งใตพ้ ระเจา้ เดวดิ (David) จงึ สถาปนาอาณาจกั รฮบิ รขู น้ึ ซง่ึ มคี วามเจรญิ ระหวา่ ง มีศนู ยก์ ลางการปกครองทก่ี รุงเยรซู าเลม็ และมคี วามเจรญิ สงู สดุ ในสมยั กษตั รยิ ์โซโลมอน (SOLOMON) ซง่ึ มคี วยามเจรญิ ระหวา่ ง 973 – 933 ปีก่อนครสิ ตศ์ กั ราชความเจรญิ รุง่ เรอื งของชนเผา่ ฮบิ รไู ดแ้ ก่ความเจรญิ ทางดา้ นศาสนา โดยศาสนายูดายของชาวฮบิ รไู ดก้ ลายมาเป็นศาสนาครสิ ตท์ ม่ี ผี นู้ บั ถอื มากทส่ี ดุ ในโลกปัจจบุ นั 6

อารยธรรมลุ่มแม่นา้ สินธุ เป็นอารยธรรมทเ่ี กา่ แก่แหง่ หน่ึงของโลกมคี วามเจรญิ อยรู่ ะหวา่ ง 4,000 –2,500 ปีก่อนครสิ นตศ์ กั ราช มกี ารคน้ พบซากเมอื งโบราณในทร่ี าบลุม่ แมน่ ้าสนิ ธุคอืเมอื งฮารปั ปา (Harrapppa) และเมอื งโมเฮนโจดาโร (Mohenjodaro) โดยสงิ่ ท่ีไดค้ น้ พบทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ ซากเมอื งทม่ี กี ารวางผงั เมอื งเป็นอยา่ งดี ตดั ถนนอยา่ งเป็นระเบยี บ มที อ่ ระบายน้า และบ่อน้าสาธารณะ อาคารบา้ นเรอื นของราษฎร มกี ารสรา้ งระเบยี บ เครอ่ื งมอื ทาดว้ ยกระดกู สตั ว์ อารยธรรมในดนิ แดนเอเชยี ใตท้ ส่ี รา้ งสรรค์โดยชนเผา่ อารยนั สามารถแบง่ ออกเป็นยุคตา่ ง ๆ ได้ ดงั น้ี ยคุ พระเวท (ประมาณ 2,000 – 1,000 ปีกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช) ช่วงแรกท่ีชาวอารยนั เร่ิมเข้ามาในอินเดยี กลา่ วถงึ ความเป็นมาและวิถีชีวิตของชาวอารยนั วา่ สงั คมมกี ารแบง่ แยกระหว่างพวกอารยนั และพวกดราวิเดยี น มีการรวบรวมคมั ภีร์ฤคเวทซง่ึ เป็นบทสวดอ้อนวอนพระเจ้าของชนเผ่าอารยนั และมกี ารให้กาเนิดศาสนาพราหมณ์ 7

ยุคมหากาพย์ (ประมาณ 1,000 – 500 ปีกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช) ชว่ งทช่ี าวอารยนั ไดข้ ยายอานาจของตนไปยงั แควน้ ต่าง ๆ มกี ารก่อตงั้ เมอื งตา่ งๆ ทงั้ ขนาดใหญ่และขนาดเลก็ มลี กั ษณะคลา้ ยนครรฐั เป็นอสิ ระไมข่ น้ึ แก่กนั แตล่ ะเมอื งมกี ษตั รยิ ป์ กครอง มกี ารนาระบบวรรณะมาใชเ้ พอ่ื แบง่ แยกชาวอารยนั และพวกดราวเิ ดยี น โดยแบ่งเป็น 4 วรรณะ คอื พราหมณ์ หรอื นกั บวช กษตั รยิ ์ หรอืพวกนกั รบ แพทย์ หรอื พอ่ คา้ ชาวนา เจา้ ของทด่ี นิ และศทู ร หรอื พวกทาส จณั ฑาลคอื ผทู้ ท่ี าผดิ กฎเกณฑข์ องระบบวรรณะ มกี ารประดษิ ฐภ์ าษาสนั สกฤตและเกดิวรรณคดขี น้ึ หลายเรอ่ื ง เชน่ มหากาพยม์ หาภารตะและมหากาพยร์ ามายณะ เป็นตน้เชอ่ื ในเรอ่ื งตรมี รู ติ คอื การมพี ระเจา้ สงู สดุ 3 พระองค์ ไดแ้ ก่ พระพรหม (ผสู้ รา้ ง) พระวษิ ณุ (ผรู้ กั ษา) และพระศวิ ะ (ผทู้ าลาย เกดิ คมั ภรี ข์ องพราหมณ์อกี 3 เลม่ คอื เรยี กวา่“ ไตรเวท “ ประกอบดว้ ยคมั ภรี ์ สามเวทยชุรเวทและอาถรรพเวทยคุ ฮนิ ดเู ก๋า (ประมาณ 550 – 320 ปีกอ่ นศรสิ ตศ์ กั ราช) เป็นยคุ ทม่ี คี วามเชอ่ื ในเรอ่ื งทพ่ี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นสมมตเิ ทพมกี ารกาเนิดพระพุทธศาสนาและมกี ารกาเนิดศาสนาเชน 8

สมยั พระพุทธศาสนา (ประมาณ 320 – 550 ปีกอ่ นศรสิ ตศ์ กั ราช ) เป็นชว่ งเวลาทพ่ี ระพุทธศาสนามคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งมากทส่ี ดุ ในสมยัจกั รวรรดเิ มารยิ ะทก่ี ่อตงั้ โดยพระเจา้ จนั ทรคุปตแ์ ละในสมยั ของพระเจา้อโศกมหาราช ทรงสนบั สนุนพระพทุ ธศาสนาโดยทรงสง่ สมณทตู ออกไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในดนิ รแดนต่าง ๆ เป็นชว่ งเวลาทพ่ี ระพุทธเจา้ มีความเจรญิ รุง่ เรอื งมากทส่ี ดุ ในสมยั ของราชวงศพ์ ระเจา้ กนิษกะทรงทานุบารุงพระพทุ ธศาสนาใหม้ คี วามเจรญิ รุง่ เรอื งต่อมาเป็นยคุ ทม่ี กี ารเผยแผค่สอนไปยงั เอเชยี ตะวนั ออก ไดแ้ ก่ จนี ญป่ี ่นุ เป็นตน้ยุคฮนิ ดใู หม่ (ประมาณ ค.ศ.320 – 550) สมยั จกั รวรรดคิ ปุ ตะเป็นชว่ งเวลาทอ่ี นิ เดยี มกี ารฟ้ืนฟูศาสนาพราหมณ์ขน้ึ มาใหมเ่ ป็นยุคทองของอนิ เดยี ทม่ี คี วามเจรญิ สงู สดุ ทงั้ ทางดา้ นปกครองเศรษฐกจิ สงั คม การปกครองอาณาจกั รมคี วามเป็นหน่ึงเดยี วกนั ทงั้จกั รวรรดิ ศาสนาพราหมณ์ไดร้ บั การปรบั ปรงุ ฟ้ืนฟูคาสอนและศาสนาพทุ ธยงั มคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งอยดู่ า้ นวรรณคดวี า่ เป็นยุคทองของวรรณคดสี นั สกฤตเทพนิยาย นิทาน สภุ าษติ 9

สมยั ราชวงศโ์ มกุล (ค.ศ. 1526 – 1858) เป็นยคุ สมยั ทอ่ี นิ เดยี ตกอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของชาวมสุ ลมิ มคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งสงู สดุ ในสมยั พระเจา้ อกั บารม์ มหาราช เป็นยคุ สดุ ทา้ ยกอ่ นท่ีจะตกเป็นอาณานิคมของประเทศองั กฤษมคี วามเจรญิ ทส่ี าคญั ไดแ้ กง่ านทางสถาปัตยกรรม เป็นศลิ ปะผสมฮนิ ดแู ละมองโกลทม่ี ชี อ่ื เสยี งคอื ทชั มา-ฮาลอนิ เดยี ภายใตก้ ารปกครองของประเทศองั กฤษ ยุคของการลา่ อาณานิคมอนิ เดยี ไดต้ กเป็นเมอื งขน้ึ ขององั กฤษมาเป็นเวลานานไดน้ าวทิ ยาการของชาตติ ะวนั ตกเขา้ มาเผาแพรใ่ นอนิ เดยี การผอ่ นคลายกฎระเบยี บทางสงั คมลงและมกี ารยกเลกิ ประเพณที ไ่ี มไ่ ดร้ บั การยอมรบัเชน่ การใชม้ นุษยบ์ ชู ายญั เป็นตน้ สภาพสงั คม ระบบวรรณะ ทเ่ี คยเขม้ งวดในสงั คมอนิ เดยี ไดผ้ อ่ นคลายลง มกี ารเลยี นแบบวฒั นธรรมตะวนั ตก ทงั้ การแต่งกาย การศกึ ษา ภาษาองั กฤษกลายเป็นภาษาราชการใชใ้ นอนิ เดยีองั กฤษไดป้ ระกาศใหอ้ สิ รภาพแกอ่ นิ เดยี หลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ในปี ค.ศ.1948 10

อารยธรรมจีนอารยธรรมจนี เรมิ่ ปรากฏในบรเิ วณลมุ่ แมน่ ้าเหลอื ง (แมน่ ้าฮวงโห)ประมาณ 2,000 ปีกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช ไดพ้ ฒั นาระดบั ความเจรญิ จากชุมชนยคุ หนิ ใหมไ่ ปสคู่ วามเป็นปึกแผน่ ของรฐั เลก็ ๆ กอ่ นจะรวมตวั กนั ในทางการเมอื งเป็นอาณาจกั รและเป็นจกั รวรรดใิ นทส่ี ดุ อารยธรรมจีนในสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ เป็นดนิ แดนทม่ี นุษยเ์ ขา้ มาอาศยั ตงั้ แต่สมยั ดกึ ดาบรรพป์ ระมาณ ค.ศ.1972 คอื โครงกระดกู มนุษยป์ ักกง่ิ (Pekiing Man) ซง่ึ มอี ยปู่ ระมาณ 400,000ปี สว่ นอารยธรรมในยุคหนิ ใหมข่ องจนี ไดป้ รากฏจากการขดุ พบโบราณคดี2 แหง่วฒั นธรรมหยางเซา (Yang – shao) เป็นแหลง่ อารยธรรมแห่งแรกของจีนตงั้ อยใู่ นเขตทร่ี าบล่มุ แมน่ า้ ฮวงโห จนถงึแมน่ า้ แยงซีกียง มีการขดุ พบซากโบราณคดีเครื่องปัน้ ดินเผาทีม่ สี ีแดง ประดบัประดาลวดลายเป็นเส้นตรง รู้จกั ทาเครื่องมอื เคร่ืองใช้จากทองแดง 11

วฒั นธรรมลงุ ซาน (Lung – shan) พบในพน้ื ทม่ี ณฑลชานตงุ ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของจนี มกี ารขดุ พบ เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาชนิดสามขาสดี าขดั มนั เป็นเงา อารยธรรมจีนในสมยั ประวตั ิศาสตร์ เป็นยคุ สมยั ทม่ี นุษยม์ คี วามสามารถในการประดษิ ฐต์ วั อกั ษรเพอ่ื ใช้ในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั โดยเรม่ิ ตน้ จากสมยั ราชวงศช์ าง เป็นตน้ มา 12

ราชวงศช์ าง ประมาณ (1766 – 1122 ปี ก่อนศริสต์ศกั ราช) เป็นราชวงศ์แรกท่ีปกครองจีนมคี วามเจริญรุ่งเรืองท่สี าคญั ได้แก่ การปกครองเป็นแบบนครรัฐ กษัตริย์ผ้นู าการปกครองการทหารและเศรษฐกิจ มีอานาจเหนือการปกครองแคว้นต่างๆ มีการประดิษฐ์ปฎิทนิ ในระบบจนั ทรคติมกี ารประดิษฐ์ตวั อกั ษร การรู้จกั ใช้สาริดมาประดิษฐ์เป็นเคร่ืองมือเครื่องใช้เป็นต้นราชวงศโ์ จว (ประมาณ 1122 - 249 กอ่ นศรสิ ตศ์ กั ราช) ยคุ สมยั ของราชวงศโ์ จวแบง่ เป็น 2 ชว่ ง คอื โจวตะวนั ตก มศี นู ยก์ ลางการปกครองอยบู่ รเิ วณเมอื งฉางอนั และโจวตะวนั ออก มศี นู ยก์ ลางการปกครองอยทู่ เ่ี มอื งลอ่ หยางมคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งท่สาคญั ไดแ้ ก่ แนวคดิ ทย่ี กยอ่ งจกั รพรรดใิ หเ้ ป็นโอรสแหง่ สวรรค์ มกี ารนาระบบศกั ดนิ ามาใชใ้ นสงั คมจนี ครงั้แรกและเป็นยคุ ทถ่ี อื กาเนิดลกั ธชิ งจอ้ื ผใู้ หก้ าเนิด คอื ขงจอ้ื ซง่ึ สอนในเรอ่ื งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมเน้นการปฏบิ ตั ติ นใหถ้ กู ตอ้ งตามฐานะในสงั คมบุคคลท่ีมหี น้าทต่ี อ้ งปฎบิ ตั ติ ่อสงั คมทต่ี นอยใู่ หด้ ที ส่ี ดุ ตามหน้าทข่ี องตน คอืผปู้ กครองทาหน้าทผ่ี ปู้ กครอง ประชาชนทาหน้าทข่ี องประชาชน เป็นตน้พธิ กี รรมและการบชู าเป็นการแสดงออกทด่ี ขี องมนุษย์ คอื ความกตญั ญรู คู้ ุณและความเกรงกลวั ต่ออานาจของธรรมชาติ การทาพธิ ี นามาซง่ึ ความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั และลกั ธเิ ต๋าผกู้ ่อตงั้ ลกั ธเิ ต๋า คอื เลา่ จอ้ื มคี าสอน ใหร้ จู้ กั รกัความสางบสนั โดษดาเนินชวี ติ สอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ 13

ราชวงศ์ฉิน (221 – 206 ก่อนคริสต์ศกั ราช) การปกครองยกเลกิ การปกครองระบบศกั ดนิ านาการปกครองแบบรวมอานาจเขา้ สศู่ นู ยก์ ลางมเี มอื งเซยี นหยางเป็นเมอื งมคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ การผลติ เงนิ ตรา แบบเดยี วกนั เครอ่ื งชงั่ตวง วดั มาตรฐานเดยี วกนั ระเบยี บการเกบ็ ภาษที ด่ี นิ ใหเ้ ป็นระบบเดยี วกนั มกี ารสารวจสามะโนประชากรครงั้ แรก เพอ่ื ทราบจานวนไพร่พลทแ่ี ทจ้ รงิ สรา้ งพระราชวงั อนั ใหญ่โตมโหฬาร รปู ปัน้ ทหารและมา้ทาดว้ ยดนิ เอามลี กั ษณะเหมอื นสง่ี มชี วี ติ และสรา้ งกาแพงเมอื งจนี เพอ่ืป้องกนั การรกุ รานชาวชนเผา่ เรร่ อ่ นทางเหนือ เป็นตน้ราชวงศฮ์ นั ่ (202 ก่อนครสิ ตศ์ กั ราช - ค.ศ.220) เจรญิ รุง่ เรอื งสงู สดุ ในสมยั พระเจา้ หวตู่ ้ี (141 - 87 ปีก่อนครสิ ตศ์ กั ราช)พระองคท์ รงขยายดนิ แดนออกไปกวา้ งขวาง มกี ารสอบคดั เลอื กบุคคลเป็นขา้ ราชการอาศยั ความรคู้ วามสามารถสว่ นบุคลเป็นหลกั เป็นยคุ ทองของการคา้ ของจนี กบั ตา่ งประเทศโดยใชเ้ สน้ ทางสายไหมและเป็นยคุ ท่ีพระพทุ ธศาสนาเจรญิ รุง่ เรอื งในแผน่ ดนิ จนี 14

ราชวงศถ์ งั (ค.ศ.618 – 907) เป็นยคุ ทองของจนี ทม่ี คี วามเจรญิ รุง่ เรอื งในทุก ๆ ดา้ น ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ การคา้ การเจรญิ รุง่ เรอื งของพระพทุ ธศาสนามกี ารสง่ เสรมิ ทางดา้ นการศกึ ษามกี ารสอบจอหงวน เป็นยคุ ทองทางดา้ นวรรณกรรม มคี วามมนั่ คงในดา้ นการปกครองราชวงศซ์ อ้ ง (ค.ศ.960 – 1279) มคี วามเจรญิ กา้ วหน้าในการเดนิ เรอื สาเภาคา้ ขายทางทะเลและงานศลิ ปกรรมแขนงตา่ ง ๆ มคี วามกา้ วหน้าในวทิ ยาการใหม่ ๆ หลายอยา่ งกอ่ นชาตติ ะวนั ตก เชน่ การใชล้ กุ คดิ การใชเ้ ขม็ ทศิ ในการเดริ เรอื การประดษิ ฐ์แทน่ พมิ พห์ นงั สอื มกี ารประดษิ ฐด์ นิ ปืน การผลติ ถว้ ย กระเบอ้ื งทม่ี คี วามงดงาม เป็นตน้ราชวงศห์ ยวน (ค.ศ.1279 – 1368) เป็นราชวงศข์ องชนเผา่ มองโกลทเ่ี ขา้ มาปกครองจนี กษตั รยิ ท์ ม่ี ชี อ่ื เสยี งคอื หงวนสโี จ๊วฮอ่ งเต้ (หรอื กุบไลขา่ น) เป็นสมยั ทจ่ี นี มคี วามเขม้ แขง็ ทางดา้ นการปกครองเป็นจกั รวรรดทิ ย่ี งิ่ ใหญ่มคี วามเจรญิ ทางดา้ นศลิ ปะ การละคร คอืงว้ิ 1515

ราชวงศห์ มงิ หรอื เหมง็ (ค.ศ.1368 – 1644) เป็นสมยั ทจ่ี นี รงุ่ เรอื งดา้ นการคา้ และมกี ารฟ้ืนฟูศลิ ปวฒั นธรรมสมยั ราชวงศถ์ งึ ขน้ึ ใหมอ่ กี ครงั้ มคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งทางดา้ นการคา้ กบัต่างประเทศ ความเจรญิ ทางดา้ นวรรณกรรมทน่ี ิยมเขยี นนวนิยายท่ีใชภ้ าษาพดู มากกวา่ การเขยี น เป็นตน้ราชวงศเ์ ชง็ หรอื ชงิ (ค.ศ.1644 – 1912) เป็นชนเผา่ แมนจทู เ่ี ขา้ มาปกครองจนี และเป็นราชวงศส์ ดุ ทา้ ยของจนี กอ่ นทจ่ี ะถกู ดร.ซุน ยตั เซน ปฎวิ ตั เิ ปลย่ี นแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธาณรฐั ในปี ค.ศ.1911 เป็นยุคสมยั ทจ่ี นี มคี วามเสอ่ื มถอยในทุกดา้ น 15

บรรณานุกรม ผ้เู รียบเรียงรศ.ดร.ไพฑรู ย์ มีกศุ ล กศ.บ. , กศ.ม. , M.A. , Ph.D.สเุ ทพ จิตรช่ืน กศ.บ. , กศ.ม.บญุ รัตน์ รอดตา ศษ.บ. ผ้ตู รวจผศ.จรรยภรณ์ เชิดพทุ ธ กศ.บ. , กศ.ม.ธนาลยั ลมิ ปรัตนคีรี อ.บ. (เกียรตนิ ิยม) , MA.T.เรวดี สขุ อร่าม ศศ.บ. 16



ราคา 15-














Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook