Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged (5)

ilovepdf_merged (5)

Published by Peet Peerapat, 2021-01-08 07:19:55

Description: ilovepdf_merged (5)

Search

Read the Text Version

วงจรไฟฟา เบอื้ งตน 1.สวนประกอบของวงจรไฟฟา วงจรไฟฟา เปนการนําเอาสายไฟฟา หรอื ตัวนําไฟฟาท่ีเปนเสน ทางเดินใหกระแสไฟฟาสามารถไหล ผานตอ ถงึ กนั ไดน น้ั เราเรียกวา วงจรไฟฟา การเคลื่อนท่ขี องอเิ ลก็ ตรอนท่อี ยูภายในวงจรจะเรม่ิ จากแหลง จา ยไฟ ไปยังอุปกรณไฟฟา ดังการแสดงการตอวงจรไฟฟาเบื้องตนโดยการตอแบตเตอรี่ตอเขากับหลอดไฟ หลอด ไฟฟาสวางไดเพราะวากระแสไฟฟาสามารถไหลไดตลอดทั้งวงจรไฟฟาและเมื่อหลอดไฟฟาดับก็เพราะวา กระแสไฟฟาไมส ามารถไหลไดตลอดทัง้ วงจร เนอ่ื งจากสวติ ชเปด วงจรไฟฟา อยนู น่ั เอง รปู ท่ี 1 แสดงวงจรไฟฟาปดและวงจรไฟฟาเปด จากรปู 1แสดงวงจรไฟฟา เบื้องคน แบบปดและแบบเปดมีสว นประกอบหลักอยู 3 สวนดังน้ี 1.1.แหลง จายไฟฟา เปน แหลง จายแรงดันและกระแสใหกับอปุ กรณที่ใชพ ลงั งานไฟฟาโดยแหลงจาย ไฟฟาสามารถนาํ มาไดจากหลายแหลงกาํ เนิด เชน จากปฏิกิริยาเคมี จากขดลวดตดั สนามแมเหลก็ และจาก แสงสวาง เปนตน บอกหนวยการวัดเปน โวลต (Volt) หรอื V รูปท่ี 2 แหลง จายไฟฟา แบบปฏิกริ ยิ าเคมี รปู ท่ี 3 แหลงจา ยไฟฟา แบบขดลวดตดั สนามแมเ หลก็

1.2 โหลด อุปกรณไฟฟาเปนอุปกรณตาง ๆ ที่ใชไฟฟาในการทํางาน โหลดจะทําหนาที่เปล่ียน พลงั งานไฟฟาใหเ ปนพลงั งานรปู อน่ื ๆ เชน เสยี ง แสง ความรอน ความเยน็ และการสน่ั สะเทอื น เปนตน โหลด เปนคํากลาวโดยรวงมถึงอุปกรณไฟฟา ทุกชนิดอะไรก็ได เชน ตูเย็น พัดลม เคร่ืองซักผา โทรทัศน วิทยุ และ เครื่องปรับอากาศเปนตน โหลดแตละชนิดจะใชัพลังงานไฟฟาไมเทากนั ซึ่งแสดงดวยคาแรงดัน กระแสและ กําลังไฟฟา รปู ท่ี 4 โหลด อุปกรณไฟฟา 1.3 สายไฟตอวงจรเปน สายตัวนําหรอื สายไฟฟา ใชเช่อื มตอ วงจรใหตอถึงกันแบบครบรอบ ทาํ ให แหลงจายแรงดันตอ ถึงโหลดเกิดกระแสไหลผา นวงจร จากแหลง จายไมโหลดและกลบั มาครบรอบทแ่ี หลงจาย อีกครัง้ สายไฟฟา ทใ่ี ชตอ วงจรทําดวยทองแดงมฉี นวนหุมโดยรอบเพ่ือใหเกดิ ความปลอดภยั ในการใชงาน รปู ที่ 5 สายไฟฟา ตัวนาํ ไฟฟา

การวดั ทางไฟฟา การวัดทางไฟฟา จะใชเ คร่อื งมือวัดทเี่ ปน พืน้ ฐานในการวัดคา ตา ง ๆ ในวงจรไฟฟาไดแ ก โวลตม เิ ตอร แอมมเิ ตอร และโอหมมเิ ตอร แตป จ จบุ นั ท่ีนยิ มใชมากจะเปน เครื่องมือวดั ทีว่ ัดคาไดห ลากหลายในตวั เดยี วกนั เรยี กวา มัลตมิ เิ ตอร (Floyd, Thomas L. 2001: 56-57) รปู ที6่ มลั ติมิเตอรแ บบดิจิตอล รูปท่ี7 มลั ตมิ ิเตอรแ บบแอนาลอก การวัดกระแสไฟฟา การวัดกระแสไฟฟาจะใชแ อมปม เิ ตอรเปน เครอ่ื งมือวดั ตอ แทรกในวงจรไฟฟา โดยคดิ วาแอมปม เิ ตอร เปน โหลดตวั นึง รูปที่ 8 การวัดกระแสไฟฟา

การวัดแรงดันไฟฟา การวดั แรงดนั ไฟฟา จะใชโวลตมเิ ตอรเ ปน เครอื่ งมือวัด โดยวดั ครอ มอุปกรณท ่ตี อ งการวัดถาเปน วงจรไฟฟากระแสตรงควรคาํ นึงถึงขั้วแรงดนั ระหวา งอปุ กรณท ี่ตองการวัดกบั โวลตม ิเตอรใหถ ูกตองดว ย รปู ที่ 9 การวดั แรงดันไฟฟา การวดั ความตา นทานไฟฟา การวดั ความตานทานไฟฟา จะใชโ อหมมเิ ตอรเ ปน เคร่ืองมือวดั โดยวัดครอ มตัวตานทานที่ตองการวัด มี ขอ ระวงั คอื ตัวตานทานท่จี ะวดั จะตอ งถอดออกจากวงจรไฟฟา หรือจะตอ งไมม ีกระไหลผานตวั ตา นทานน้นั และ ไมต อ งคาํ นึงถงึ ขวั้ บวกขวั้ ลบ รูปที่ 10 การวัดความตานทานไฟฟา

ขอ ควรระวงั ในการใชม ัลตมิ ิเตอร มลั ตมิ เิ ตอรเ ปนมิเตอรที่มสี วนประกอบของอปุ กรณหลายชนิด แตละชนิดมขี นาดเลก็ และบอบบาง ยิ่ง ในสวนเครือ่ งไหวประกอบรว มกบั เขม็ ชม้ี เิ ตอรย ิง่ ตอ งระมัดระวงั อยางมาก ตลอดจนการนาํ ไปใชงานก็ตอง ระมดั ระวังในเรอ่ื งปรมิ าณไฟฟา ในการวัด และอีกหลายสงิ่ หลายอยา ง สามารถกลาวสรปุ เปน ขอ ๆไดด งั น้ี 1.สวนเคลอ่ื นไหวของมลั ติมเิ ตอร ประกอบดว ยขดลวดเสนเลก็ มาก ๆ และมสี วนของเดือยและรอง เดอื ยขนาดเลก็ เชน กนั มีความบอบบาง มีโอกาสชาํ รดุ เสยี หายไดงาย หากไดรบั กระแสไหลผา นมากเกินไป หรอื หากไดรบั การกระทบกระเทอื นแรงๆที่เกิดจากการตกหลน เกดิ จากการถกู กระแทกแรงๆตลอดจนตงั้ ยา น ปรมิ าณไฟฟาผิดพลาด 2. การวดั ปริมาณไฟฟาตา ง ๆ ที่ไมท ราบคา ครงั้ แรกควรตัง้ ยานวัดไวส ูงสดุ ไวก อ น เมอ่ื วัดคา แลว จงึ คอยๆลดยา นวัดต่าํ ลงมาใหถูกตองกับปรมิ าณไฟฟาทตี่ องการวดั คา และตอขวั้ วดั บวก + ลบ – ใหถ ูกตอง 3.การตงั้ ยา นวดั ปรมิ าณไฟฟา ชนิดหนงึ่ แตนําไปวัดไฟฟา อกี ชนิดหนึ่ง จะมผี ลตอ การทําใหมัลติ มเิ ตอรช าํ รดุ เสียหายได เชน ตั้งยา นวัดกระแส แตน าํ ไปวัดแรงดนั เปน ตน 4.หามวัดคา ความตา นทานดว ยยานวัดโอหมของมลั ตมิ เิ ตอร ในวงจรท่มี กี าํ ลงั ไฟฟาจายอยู เพราะจะ ทําใหยานวัดโอหม ชํารดุ เสยี หายได ตองตดั ไฟจากวงจรกอ นและปลดขาตัวตา นทานหรอื ขาอปุ กรณตัวท่ี ตอ งการวดั ออกจากวงจรเสียกอ น 5.ขณะพกั การใชม ัลติมเิ ตอรท กุ ครงั้ ควรปรับสวติ ชเลือกยานไฟฟาทย่ี า น 1000 VDC หรือ 1000 VAC เสมอ เพราะเปน ยานวัดทม่ี คี วามตา นทานผา ยในมลั ตมิ ิเตอรส งู สด เปนการปองกนั การผดิ พลาดในการใช งานครั้งตอไป เม่อื ลมื ต้ังยา นวัดท่ีตอ งการ ในมลั ติมเิ ตอรบ างรนุ อาจมีตาํ แหนง off บนสวติ ซเลอื กยา นวัด ให ปรับสวิตชเลอื กยานวดั ไปทต่ี าํ แหนง off เสมอ เพราะเปน การตัดวงจรมัลตมิ ิเตอรอ อกขากจากขวั้ วดั 6.ถา ตอ งการหยดุ การใชงานมัลตมิ ิเตอรเปนเวลานาน ๆ หรอื งดใชม ลั ติมเิ ตอร ควรปลดแบตเตอรี่ที่ ใสไวในมัลติมเิ ตอรออกจากมัลตมิ เิ ตอรใ หห มด เพอื่ ปองกันการเส่ือมของแบตเตอร่แี ละการเกดิ สารเคมีไหล ออกมาจากแบตเตอร่ี อาจกดั กรอ นอปุ กรณภ ายในมลั ตมิ เิ ตอรจนชํารุดเสียหายได 7.ในกรณที ตี่ ั้งยานวัดผดิ พลาด จนทําใหมลั ตมิ เิ ตอรวดั คาประมาณไฟฟา อ่ืน ๆไมข นึ้ ใหต รวจสอบ ฟว สท ่อี ยูภายในมลั ตมิ ิเตอร เปนตวั ปอ งกนั ไฟเกนิ วาขาดหรอื ไม หากฟวสขาดใหใสฟ วสส าํ รองทมี่ ีอยูใสแทน และทดลองใชม ลั ตมิ ิเตอรอกี ครัง้

2.แบบวงจรไฟฟา สวนสําคัญของวงจรไฟฟาคือการตอโหลดใชงาน โหลดที่นํามาตอใชงานในวงจรไฟฟาสามารถตอได เปน 3 แบบดว ยกัน ไดแก วงจรไฟฟาแบบอนกุ รม (Series Electrical Circuit) วงจรไฟฟา แบบขนาน (Parallel Electrical Circuit) วงจรไฟฟา แบบผสม (Series - Parallel Electrical Circuit) 3.วงจรไฟฟา แบบอนุกรม วงจรอนกุ รมหมายถงึ การนาํ เอาอปุ กรณท างไฟฟา มาตอ กนั ในลักษณะทป่ี ลายดานหนง่ึ ของอปุ กรณ ตัวท่ี 1 ตอเขา กบั อุปกรณตวั ท่ี 2 จากนนั้ นาํ ปลายทเ่ี หลอื ของอุปกรณต วั ที่ 2 ไปตอกับอปุ กรณต วั ท่ี 3 และจะ ตอลกั ษณะน้ีไปเร่ือย ๆหรอื การตอ แบบหวั ตอ หาง ซง่ึ การตอ แบบน้จี ะทาํ ใหก ระแสไฟฟา ไหลไปในทศิ ทางเดยี ว กระแสไฟฟาภายในวงจรอนกุ รมจะมีคาเทากันทกุ ๆจดุ คา ความตา นทานรวมของวงจรอนกุ รมนนั้ คือการ นาํ เอาคา ความตา นทานท้ังหมดนาํ มารวมกันสวนแรงดนั ไฟฟาในวงจรอนกุ รมน้ันแรงดันจะปรากฎครอ มตวั ตานทานทุกตัวท่ีจะมีกระแสไฟฟาไหลผานซงึ่ แรงดนั ไฟฟา ทเี่ กิดข้ึนจะมคี าไมเทากัน การตอ วงจรแบบอนกุ รม จะมที างเดนิ ของกระแสไฟฟา ไดทางเดียวเทานัน้ ถา เกิดเครอื่ งใชไ ฟฟา หรอื โหลดตัวใดตวั หน่งึ เปด วงจรหรือขาด จะทําใหวงจรทง้ั หมดไม ทาํ งาน รูปที่ 11 วงจรไฟฟา แบบอนกุ รม ลกั ษณะคุณสมบตั ิของวงจรอนกุ รม 1. กระแสไฟฟา ท่ีไหลผานในวงจรอนกุ รมจะมีคาเทา กันทัง้ วงจร 2. แรงดันไฟฟาตกครอ มของโหลดแตละตัวในวงจรอนกุ รม เมอ่ื นํามารวมกันจะมีคาเทา กบั แหลงจาย 3. คา ความตานทานของโหลดยอ ยแตล ะตัวในวงจร เม่ือนํามารวมกันก็จะมคี า เทากบั คาความตานทาน รวมกันทงั้ หมดในวงจร 4. กําลงั และพลงั งานไฟฟาทเี่ กดิ ข้นึ ท่โี หลดยอยแตล ะตวั ในวงจร เมอ่ื นาํ มารวมกันกจ็ ะมคี า เทา กาํ ลงั และ พลงั งานไฟฟา ทั้งหมดในวงจร

4.วงจรไฟฟา แบบขนาน วงจรขนานหมายถงึ การนาํ อปุ กรณไฟฟา ต้งั แต 2 ตัวข้นึ ไปมาตอเรียงแบบขนานกัน โดยนาํ ปลายดาน เดียวกันของอุปกรณแตล ะตัวมาตอ เขา ดวยกนั แลว ตอปลายของอปุ กรณแตล ะตวั ที่ตอกันแลว น้นั เขากบั แหลง กาํ เนิดไฟฟาหรือการตอแบบหัวตอหัวหางตอหาง วงจรขนานเปนวงจรทเ่ี กิดจากการตอ อปุ กรณไ ฟฟา ตั้งแต 2 ตัวข้ึนไปใหขนานกับแหลงจา ยไฟมผี ลทาํ ใหค า ของแรงดันไฟฟา ท่ตี กครอ มอปุ กรณไฟฟา แตล ะตวั มีคา เทา กัน สว นทิศทางการไหลของกระแสไฟฟาจะมีตงั้ แต 2 ทิศทางข้ึนไปตามลกั ษณะของสาขาของวงจรสวนคา ความตานทานรวมภายในวงจรขนานจะมีคาเทากับผลรวมของสวนกลับของคาความตา นทานทกุ ตัวรวมกัน ซงึ่ คา ความตานทานรวมภายในวงจรไฟฟาแบบขนานจะมีคา นอ ยกวาคา ความตานทานภายในสาขาท่มี ีคา นอย ท่ีสุดเสมอ และคา แรงดันทต่ี กครอมความตานทานไฟฟาแตล ะตัวจะมคี าเทากบั แรงเคลอื่ นของแหลง จาย รูปท่ี 12 วงจรไฟฟา แบบขนาน ลักษณะคุณสมบตั ิของวงจรขนาน 1. แรงดันท่ีตกครอ มโหลดแตล ะตัวทกุ ตัวจะมคี า เทา กนั ทง้ั วงจร 2. กระแสไฟฟา รวมในวงจรมีคา เทา กบั กระแสของโหลดแตล ะตัวมารวมกนั 3. กําลงั และพลังงานไฟฟา ทีเ่ กดิ ขึน้ ที่โหลดยอยแตล ะตัวในวงจร เม่อื นํามารวมกนั กจ็ ะมีคาเทากําลัง และพลงั งานไฟฟาทง้ั หมดในวงจร

วงจรไฟฟา แบบผสม เปนการตอวงจรไฟฟาโดยการตอรวมกันระหวางวงจรไฟฟาแบบอนุกรมกับวงจรไฟฟาแบบ ขนาน ภายในวงจรโหลดบางตัวตอวงจรแบบอนกุ รม และโหลดบางตัวตอ วงจรแบบขนาน การตอ วงจรไมมี มาตรฐานตายตัว เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะการตอวงจรตามตองการ การวิเคราะหแกปญหาของวงจร ผสม ตองอาศัยหลักการทํางานตลอดจนอาศัยคุณสมบัติของวงจรไฟฟาทั้งแบบอนุกรมและแบบ ขนาน ลกั ษณะการตอวงจรไฟฟา แบบผสม รูปที่ 13 วงจรไฟฟาแบบผสม หลกั ความปลอดภยั ในการใชไฟฟา มาตรฐานความปลอดภัยของระบบ ไฟฟาในบา น ผูใ ชย งั ไมใ หความสนใจเทา ท่ีควร ดงั น้นั ความ ปลอดภยั ในการใชไ ฟฟาจงึ เปน เรอื่ งที่ควรไดร บั ความ สนใจ ในการศกึ ษาไฟฟาทาํ อันตรายใหแกร างกายไดผ ทู ่ี จะไดรับอันตรายจากเคร่อื งใชไฟฟา นั้น เนือ่ งจากสว นหนง่ึ สว นใดของรางกายบังเอญิ ไปแตะ และตอเปนสวน หน่งึ ในวงจร ไฟฟา หรอื สัมผสั ถกู สายสองเสน หรอื เพยี งเสน เดียว หรืออาจจะไปสมั ผสั ถูกวตั ถทุ มี่ กี ระแสไฟฟา รัว่ ไหลแตเ พยี งจดุ เดียวในขณะที่รางกายสว นอ่ืนสมั ผสั อยกู บั พ้นื ดนิ ครบวงจรทาํ ใหเ กิดอนั ตรายแกรา งกายขึ้น ไฟฟาใหโทษแกมนุษย สามารถแบง ออกไดเ ปน 1. เปนอนั ตรายแกชวี ิต ส่งิ ท่ที ําใหเ สียชีวติ หรือไดรบั อนั ตรายเพยี งบาดเจ็บ คือ การไหลของ กระแสไฟฟา (วัดเปน จาํ นวนแอมแปร) ซ่ึงจะมปี รมิ าณเพยี งเล็กนอ ย ถา เปนกระแสไฟฟา สลบั ก็ สามารถจะทําอันตรายถงึ เสียชวี ติ ได ถา หากวา กระแสไฟฟา นนั้ ไดไ หลผานอวยั วะทส่ี ําคญั ๆ เชน หัวใจ อนั ตรายตาง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ กับรา งกายมีอาการ 4 อยางคอื 1.1 กลามเน้ือแขง็ ตวั 1.2 หัวใจเตนเร็วกวาปกติ และหยดุ ทํางาน 1.3 เซลลภ ายในรางกายถกู ทําลาย 1.4 ระบบประสาทชะงัก

2. เปน อันตรายตอ ทรัพยส นิ อันตรายตอทรพั ยส ิน ไดแ ก การเกดิ เพลงิ ไหมและระเบดิ ทําให ทรพั ยส นิ เสยี หายปล ะมาก ๆ เน่อื งจากความประมาทหรอื ความรเู ทาไมถ ึงการณ รปู ท่ี 14 ถกู ไฟฟา ดูด โดยปกตแิ ลว สภาพรา งกายแตละสว นของคนเราจะมีความตานทานกระแสมากนอยไมเ ทากนั ในขณะท่ี ผิวหนงั แหง สนทิ จะมคี วามตานทานประมาท 100,000-600,000 โอหม แตถ า เกิดมคี วามชื้นหรือ เหงอื่ เพียงเลก็ นอ ย ความตานทานจะลดลงเหลอื เพยี ง 800-1,000 โอหม เทาน้ันดงั น้ันกระแสไฟฟา จึง สามารถผา นรางกายไดโ ดยงา ย อนั ตรายท่ีจะไดรบั นั้น ขึ้นอยกู บั กระแสไฟฟาท่ไี หลผา นรา งกาย ถามี กระแสไฟฟาไหลผา นนอยก็ไดร ับอนั ตรายนอ ย ถาไหลผานมากอันตรายทีไ่ ดร บั ก็มเี พิม่ มากขึน้ ตามลําดับ ซง่ึ พอ สรปุ ปริมาณของกระแสไฟฟาท่ีมผี ลตอรางกายไดดงั นี้ จาํ นวนกระแสไฟฟา อาการหรอื อันตรายที่เกดิ ขนึ้ แกรางกาย 1-3 มลิ ลแิ อมแปร กลามเน้ือกระตกุ เล็กนอ ยไมถ งึ ขนั้ อนั ตรายแตก อ็ าจด้นิ ไมย อมหลุด 8 มลิ ลแิ อมแปร กลามเนอ้ื กระตกุ รุนแรงเปน เหตุใหล มฟาด หรือตกจากทส่ี งู 10 มลิ ลิแอมแปร กลา มเนอ้ื กระตุกรนุ แรงยง่ิ ข้นึ และอาจไดรบั บาดแผลไหมพ องดว ย เนอื่ งจากผทู ่ถี ูกไฟฟา ดูด สวนมากไมส ามารถบงั คบั ตัวเองใหห ลดุ พนจากไฟฟาจงึ ถูกกระแสไฟฟา ไหล ผาน รา งกายเปนเวลานาน ดังนัน้ ถา ไมม บี คุ คลอ่นื ชว ยเหลืออยางทันทว งทอี ันตรายทไ่ี ดร ับก็จะสาหสั มากขึ้น คือหัวใจ เตนรัวเรว็ หรอื ชาซง่ึ อาจไดรับอนั ตรายถึงชวี ติ ถา ระยะเวลานานกวา กําหนด ดงั น้ี 15 มลิ ลิแอมแปร นานกวา 2 นาที 20 มิลลิแอมแปร นานกวา 1 นาที 30 มลิ ลิแอมแปร นานกวา 35 วินาที 100 มลิ ลแิ อมแปร นานกวา 3 วินาที 500 มลิ ลิแอมแปร นานกวา 11/100 วินาที * 1,000 มลิ ลิแอมแปรนานกวา 1/100 วินาที

* กลามเน้ือบริเวณทรวงอกขยายตัวมากถาไมไดรับการชวยเหลืออยางทันทวงทีนอกจากที่กลาว มาแลวยัง มีองคประกอบอ่ืน ๆ อีก เชน ตําแหนงที่สัมผัส กลาวคือ ถากระแสไฟฟาไหลผานรา งกายบรเิ วณ อวัยวะสําคัญ เชน บริเวณศีรษะหรือทรวงอก อันตรายท่ีไดรบั จะมีมากกวากระแสไฟฟาไหลผา นสวนอ่ืนของ รา งกาย และถารา งกายถูก กระแสไฟฟา เปนบริเวณกวา ง อนั ตรายกอ็ าจจะสาหัสมากขึ้นดวย วิธีชวยเหลอื ผูถูกกระแสไฟฟา ดูด ขอควรระวังในขณะชวยเหลอื ผูถูกกระแสไฟฟาดูดติดอยอู ยาใชอวัยวะรางกายของทานแตะตอ งราง หรอื เสือ้ ผาทเ่ี ปย กชืน้ ของผูถูกไฟฟาดูดตดิ อยูเปน อนั ขาด มิฉะนน้ั ทานอาจดดู ไปดวย การชว ยเหลือใหพนจาก กระแสไฟฟาใหเ ลอื กใชว ธิ ใี ดวธิ ีหน่ึง ดงั น้ี 1. ตัดกระแสไฟฟา โดยปลดสวติ ชหรือคัตเอาทหรอื เตาเสียบออก 2. หากตดั กระแสไฟฟาไมไ ด ใหใชไ มแหง หรอื วสั ดุท่ีเปนฉนวนไฟฟาเข่ยี สง่ิ ทมี่ ีกระแสไฟฟาออกไปให พน 3. ใหใชผาหรือเชือกแหงคลองแขน ขา หรือลากตัว ผูถูกไฟฟาดูดชักลากออกไปใหพนส่ิงที่มี กระแสไฟฟา หาก ผูถ กู ไฟดดู สลบหมดสตใิ หทําการปฐมพยาบาลใหฟนตอไป ขอ ควรระวังเก่ยี วกบั การใชไฟฟา 1. อยาใชส วติ ชป ด -เปดไฟฟา บนเตยี งนอน เพราะอาจพลกิ ตวั นอนทับแตก จะถูกไฟฟา ดดู ได 2. อยาเปดวิทยุหรือใชไฟฟาในหองนา้ํ าที่ชื้นแฉะ ถากระแสไฟฟาร่ัวอาจเปนอันตรายถงึ ชีวติ ได 3. อุปกรณไ ฟฟา ทแี่ ตกชํารดุ ควรซอมแซมหรอื เปลย่ี นใหเรียบรอ ย 4. อยาใชขอตอแยก เสียบปล๊ักหลายทาง เปนการใชกระแสไฟฟา เกนิ กําลงั อาจทําใหสายรอนและ เกดิ ไฟไหม ได 5. อยาใชว สั ดุอื่นแทนฟวส หรือใชฟ ว สเกินขนาด 6. อยาปลอยใหสายเครื่องไฟฟา เชน พัดลม ลอดใตเสื่อหรือพรม เปลือกหุมหรอื ฉนวนอาจแตกเกิด ไฟฟาดูด ไดง าย 7. อยาเดินสายไฟช่วั คราวอยางลวก ๆ อาจเกดิ อันตรายได 8. อยาแกไฟฟาเองโดยไมมีความรู

9. อยาเดนิ สายไฟตดิ รั้วสังกะสีหรือเหล็กโดยไมใ ชวิธรี อ ยในทอ ไฟฟา อาจรว่ั เปนอันตรายได 10. อยา ปลอยใหเคร่ืองใชไฟฟา เปยกนํา้ เพราะนา้ํ จะเปนสะพานใหไฟฟารั่วไหลออกมาได 11. อยาใชเ ครือ่ งมือไฟฟา ท่ไี มม ีฉนวนหมุ เปน ท่จี ับ เชน ไขควง หัวแรง เครื่องวดั ไฟฟา ฯลฯ 12. อยานาํ เคร่อื งใชไ ฟฟา ทีใ่ ชก ระแสตรงไปใชกับไฟกระแสสลบั ควรตรวจสอบใหดีเสยี กอ น 13. สวติ ชแ ละสะพานไฟ (Cut Out) ทุกแหงตอ งปด -เปด ไดสะดวก 14. อยายืนบนพ้ืนคอนกรีตดวยเทาเปลาขณะปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟา ควรใชผายางหรือสวมใส รองเทา ความปลอดภัยในปฏิบัตงิ านไฟฟา 1. กอ นปฏิบัติงานตองตรวจดูเสยี กอ นวา เคร่อื งมอื และอุปกรณ ตาง ๆ ที่ใชในงานไฟฟา ชาํ รดุ แตก หัก หรอื เปลา 2. กอนปฏิบัติงาน เชน การตอ สายไฟ ควรยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกเสียกอ น 3. ขณะทาํ งานไมควรหยอกลอกันเปนอนั ขาด 4. ไมค วรเสี่ยงอนั ตรายเม่อื ไมม คี วามแนใจ 5. ขณะทาํ งานมอื เทา ตอ งแหง หรอื สวมรองเทา 6. กอ นปฏบิ ตั ิงาน ควรจะเขียนวงจรดูเสยี กอ นเพ่ือความไมป ระมาท 7. เม่ือเสรจ็ งาน กอ นจา ยกระแสไฟฟา ควรตรวจสอบวงจรไฟฟา ใหละเอียดและถูกตองเสียกอ น 8. เม่ือจะจา ยกระแสไฟฟาตองดใู หแนใ จ วา ไมมใี ครปฏบิ ตั งิ านไฟฟา อยู 9. ไมควรนาํ ฟว สทใ่ี หญกวา ขนาดทีใ่ ช หรือวัสดอุ น่ื ๆ เชน ลวดทองแดงแทนฟว ส 10. รอยตอสายไฟฟา ตองใชผ าเทปพันสายใหเ รยี บรอยเสียกอน 11. ตอ วงจรใหเ สรจ็ เสยี กอ น จึงนําปลายสายทงั้ คูเขาแผงสวติ ช 12. สายเครือ่ งมอื ไฟฟาตองใชช นดิ หมุ ฉนวน 2 ช้ัน ถา ขาดตอ งเปล่ยี นใหมทั้งเสน