การสอ่ื สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ย หนว่ ยที่ 3 โครงสรา้ งเครอื ข่ายจดั ทำโดยนำงสำวสุกญั ญำ แชม่ มำกปวส. 2 คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ม.6
3.1 ลกั ษณะการเชอื่ มตอ่ เครือขา่ ย 1. โทโปโลยแี บบบัส เป็นโทโปโลยีท่ีได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ลักษณะการทางานของเครือข่าย โทโปโลยีแบบบัส คืออุปกรณ์ทุกช้ินหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเช่ือมโยงเข้ากับสายส่ือสารหลักท่ีเรียกว่า”บัส” (BUS) เม่ือโหนดหน่ึงต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนด หน่ึงภายในเครือข่ายจะตอ้ งตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าบัสวา่ งหรือไม่ ถา้ หากไมว่ า่ งกไ็ ม่สามารถจะสง่ ข้อมลู ออกไปได้ ท้ังน้เี พราะสายสื่อสารหลักมีเพียงสายเดียว ในกรณีท่มี ีข้อมลู ว่ิงมาในบัส ข้อมูลน้ีจะวิ่งผ่านโหนดตา่ งๆ ไปเรือ่ ยๆ ในขณะที่แต่ละโหนดจะคอยตรวจสอบข้อมูลท่ีผ่านมาว่าเป็นของตนเองหรือไม่ หากไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้ข้อมูลว่ิงผ่านไป แต่หากเลขทอี่ ยู่ปลายทาง ซึ่งกากบั มากบั ขอ้ มูลตรงกับเลขท่ีอยู่ของของตน โหนดนนั้ กจ็ ะรับข้อมูลเขา้ ไปขอ้ ดี1.ใชส้ ายส่งข้อมูลน้อยและมรี ูปแบบท่ีง่ายในการตดิ ต้ัง ทาให้ลดคา่ ใช้จา่ ยในการติดตงั้ และบารงุ รกั ษา2. สามารถเพม่ิ อุปกรณ์ชิ้นใหมเ่ ขา้ ไปในเครือขา่ ยไดง้ ่ายข้อเสีย1. ในกรณที ีเ่ กดิ การเสียหายของสายสง่ ข้อมูลหลกั จะทาให้ท้ังระบบทางานไม่ได้2. การตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาดทาไดย้ าก ต้องทาจากหลาย ๆจุด 2. โทโปโลยีแบบดาว เป็นรูปแบบท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือ ข่าย จะต้องเช่ือมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งท่ีเรียกว่า ฮับ (HUB) หรือสวิตช์ (Switch) หรือเคร่ือง ๆ หนึ่ง ซึ่งทาหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญท่ีมาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการส่ือสารท้ังหมด เม่ือมีเคร่ืองที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเคร่ืองอ่ืน ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เคร่ืองน้ันก็จะต้องส่งข้อมูลมายงั HUB หรอื เคร่ืองศูนยก์ ลางกอ่ น แลว้ HUB กจ็ ะทาหนา้ ท่กี ระจายขอ้ มูลนั้นไปในเครือขา่ ยต่อไป
ข้อดี – การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทา ได้ง่าย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศนู ย์ กลางสามารถตัดเครื่องท่ีเสียหายน้ันออกจากการส่อื สาร ในเครอื ขา่ ยได้เลย โดยไม่มีผลกระทบกับระบบเครอื ข่าย ข้อเสีย – เสยี ค่าใช้จ่ายมาก ทงั้ ในด้านของเครือ่ งท่จี ะใช้เปน็ เครอ่ื งศนู ยก์ ลาง หรอื ตวั HUB เอง และค่าใชจ้ า่ ยในการติดตั้งสายเคเบิลในเคร่ืองอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทาได้ยาก เพราะการขยายแต่ละคร้ัง จะต้องเกี่ยวเน่อื งกับเครือ่ งอน่ื ๆ ท้งั ระบบ3. โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) เป็นรูปแบบท่ี เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองในระบบเครือข่าย ท้ังเคร่ืองท่ีเป็นผู้ให้บริการ( Server)และ เครอ่ื งท่ีเป็นผขู้ อใช้บริการ(Client) ทกุ เครอื่ งถูกเช่ือมต่อกนั เปน็ วงกลม ข้อมูลข่าวสารท่ีสง่ ระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือข่ายแบบBUS ในแต่ละโหนดหรือแต่ละเคร่ือง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจาแต่ละเคร่ือง 1 ตัว ซ่ึงจะทาหน้าท่ีเพม่ิ เติมข้อมูลทจี่ าเปน็ ต่อการติดตอ่ สื่อสารเข้าในสว่ นหัวของแพ็กเกจทสี่ ่ง และตรวจสอบขอ้ มูลจากส่วนหวั ของPacket ที่ส่งมาถึง ว่าเป็นข้อมูลของตนหรือไม่ แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเคร่ืองถดั ไป
ข้อดี1.ผู้สง่ สามารถสง่ ขอ้ มูลไปยงั ผรู้ บั ไดห้ ลาย ๆ เคร่ืองพรอ้ ม ๆ กัน โดยกาหนดตาแหนง่ ปลายทางเหล่าน้นั ลงในสว่ นหัวของแพก็ เกจขอ้ มูล Repeaterของแต่ละเคร่ืองจะทาการตรวจสอบเองวา่ ขอ้ มลู ทส่ี ่งมาใหน้ ัน้ เปน็ตนเองหรือไม่2. การส่งผา่ นข้อมลู ในเครอื ข่ายแบบ RING จะเป็นไปในทิศทางเดียวจากเคร่ืองส่เู ครือ่ ง จงึ ไมม่ กี ารชนกันของ สญั ญาณข้อมลู ท่สี ่งออกไป3.คอมพวิ เตอรท์ ุกเครือ่ งในเนต็ เวิร์กมโี อกาสท่จี ะส่งข้อมลู ได้อย่างทดั เทียมกนัขอ้ เสยี1.ถา้ มเี คร่ืองใดเคร่ืองหน่งึ ในเครือขา่ ยเสียหาย ขอ้ มลู จะไมส่ ามารถสง่ ผ่านไปยงั เครื่องต่อ ๆ ไปได้ และจะทาให้เครอื ขา่ ยทงั้ เครอื ขา่ ย หยดุ ชะงกั ได้2.ขณะท่ขี อ้ มลู ถกู ส่งผ่านแต่ละเครือ่ ง เวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกบั การท่ีทกุ ๆ Repeater จะตอ้ งทาการตรวจ4. โทโพโลยีแบบตน้ ไม้ (Tree Topology) มลี ักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสรา้ งแบบดาวแตจ่ ะมีโครงสรา้ งแบบต้นไม้ โดยมีสายนาสญั ญาณแยกออกไปเปน็ แบบกิ่งไม่เปน็ วงรอบ โครงสร้างแบบน้ีจะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลมุ่ จะประกอบดว้ ยเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเคร่ืองแล้วต่อกันเป็นช้ัน ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แตล่ ะกล่มุ จะมโี หนดแม่ละโหนดลูกในกลมุ่ น้ันท่ีมีการสัมพนั ธ์กัน การสื่อสารขอ้ มูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอนื่ ๆได้ทัง้ หมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังน้ันในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพรอ้ มกนั
5. โทโพโลยีแบบผสม (Hybrid Topology) เป็นเครือข่ายที่ผสมผสานโทโพโลยีแบบต่างๆ เข้าดว้ ยกัน เป็นเครือขา่ ยขนาดใหญเ่ พียงเครอื ขา่ ยเดียวเช่น การเช่ือมเครือข่ายแบบวงแหวน แบบดาว และแบบบัสเข้าเป็นเครือข่ายเดียวกัน เครือข่ายบริเวณกว้าง(WAN) เปน็ ตัวอย่างที่ใช้ลักษณะโทโพโลยีแบบผสมท่ีพบเห็นมากที่สดุ เครือข่ายแบบน้ีจะเชื่อมต่อท้ังเครือข่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่ หลากหลายทีเ่ ข้าด้วยกัน ซึง่ อาจจะถูกเชอ่ื มตอ่ จากคนละจังหวัด หรือคนละประเทศก็ได้ ตัวอย่างเช่น บริษัทที่มีสาขาแยกย่อยตามจังหวัดต่าง ๆ สาขาท่ีหนึ่งอาจจะใช้โทโพโลยีแบบดาว อีกสาขาหนึ่งอาจใช้โทโพโลยีแบบบัส การเช่ือมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกันอาจใช้ส่ือกลางเป็นไมโครเวฟ หรือดาวเทียมเปน็ ตน้
3.2 ลักษณะของโครงสร้างเครอื ขา่ ย 1.โครงสรา้ งเครือขา่ ยแบบบสั (Bus Topology) - มีการเช่ือมต่อแบบเส้นตรง เชื่อมต่อง่ายและไม่ซับซ้อน โดยจะใช้สายสัญญาณเส้นเดียวในการเชื่อมต่อเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครอื ข่าย ขอ้ ดีคือ เช่ือมต่อง่าย ไม่ซับซ้อน , ประหยัดสายสัญญาณ , เพมิ่ เติมปริมาณเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ง่าย. ขอ้ เสียคือ เน่ืองจากเป็นการเช่อื มต่อโดยใช้สัญญาณเดียว เมื่อสายสัญญาณเสียหายจุดใดจุดหนึ่งจะส่งผลใหเ้ ครือขา่ ยจะไมท่ างานได้ทนั ที , หาข้อผดิ พลาดในการชารุดไดย้ าก. 2.โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว (Star Topology) - มีอุปกรณ์สาหรับเช่ือมต่อเครือข่ายคือ \"ฮับ (Hub)\" เป็นศูนย์กลางในการเช่ือมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ต่ละเครื่องจะเช่ือมต่อสายสัญญาณเข้าไปยังฮับ เป็นแบบการกระจาย ถา้ หากจะส่งข้อมูล ข้อมูลจะต้องผ่านฮับก่อน ฮบั จะทาหนา้ ทกี่ ระจายข้อมลู ไปยังเคร่ืองปลายทาง ขอ้ ดคี อื จดั การระบบงา่ ย , จบั หาข้อผิดพลาดง่าย , เครอื ขา่ ยคงทนสูง ขอ้ เสียคอื สิน้ เปลืองสัญญาณ , ต้องมกี ารจากัดจานวนคอมพิวเตอรท์ จี่ ะนามาเช่ือมตอ่ . 3.โครงสร้างเครอื ข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology) - มีลกั ษณะของการเชื่อมต่อเป็นรูปวงแหวนหรือวงกลม สัญญาณจะเดินทางเปน็ วงกลมในทิศทางเดยี ว โดยจะใช้ลักษณะการส่งตอ่ ข้อมูล เม่ือการส่งข้อมูลเรยี บร้อย จะแจง้ ไปยงั เครื่องอื่นๆ วา่ สายสญั ญาณวา่ งเพื่อใหเ้ ครือ่ งอื่นทาการส่งข้อมลู ต่อไป ข้อดีคือ ประหยัดสายสัญญาณ , ทาการติดต้ังในเครือข่ายสามารถทาได้ง่าย , การส่งข้อมูลมีผลเท่าเทียมกนั ข้อเสียคือ ถ้าสายสัญญาณช่วงใดช่วงหน่ึงเสียหายจะทาให้ระบบเครือข่ายท้ังหมดไม่สามารถทางานได้ทนั ที ,การตรวจสอบเม่อื เกิดความผิดพลาดทาได้ยาก 4.โครงสร้างเครอื ข่ายแบบเมซ (Mesh Topology) - เป็นการเชอื่ มต่อเครือข่ายท่ีสมบูรณ์ คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองในเครือข่ายเช่ือมต่อถึงกันได้ทั้งหมดดว้ ยสัญญาณเป็นอิสระในการส่งข้อมูล ถ้าเส้นทางหลักเกิดความเสยี หาย จะลดความผิดพลาดในการส่งข้อมูลทาให้ระบบนี้มีประสิทธภิ าพและมีความเช่ือถอื สูง. ข้อดีคือ ถ้าสายสัญญาณเกิดความเสียหายก็ไม่ส่งผลต่อการส่งข้อมูลเพราะมีเส้นสารองเพ่ือส่งข้อมลู ,เกดิ ความรวดเร็วในการส่งขอ้ มูล เน่ืองจากเดนิ ทางไดห้ ลายทาง ขอ้ เสยี คอื ทาใหส้ นิ้ เปลืองสายสญั ญาณมาก , มคี วามซับซ้อนในการเช่อื มต่อเครือขา่ ย.3.3 ส่วนประกอบของเครือขา่ ย ในชีวิตประจาวันของเรานน้ั เกี่ยวขอ้ งกับเครือข่ายตลอดเวลา เพระทุกการติดต่อสือ่ สารน้ันต้องผ่านระบบเครือข่ายมาแลว้ ท้งั สนิ้ ไมว่ ่าจะเปน็ โทรศัพท์ SMS ATM วทิ ยุ โทรทัศน์ ลว้ นเปน็ ระบบเครือข่ายทง้ั สิ้น
โดยที่ Internet เป็นระบบเครอื ขา่ ยท่ีใหญ่ทส่ี ุดในโลก ในที่น้ีจะกล่าวถงึ ส่วนประกอบของระบบเครือข่าย ซึ่งประกอบไปดว้ ย· เครื่องบริการข้อมลู (Server)· เครอ่ื งลกู ขา่ ยหรือสถานี (Client)· การ์ดเครอื ข่าย (Network Interface Cards)· สายเคเบลิ ท่ีใช้บนเครือขา่ ย (Network Cables)· ฮับหรอื สวติ ช์ (Hubs and Switches)· ระบบปฏิบัติการเครือขา่ ย (Network operating System)เครื่องศนู ยบ์ ริการขอ้ มูลโดยมกั เรยี กว่า เคร่ืองเซริ ์ฟเวอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีทาหนา้ ทบี่ ริการทรัพยากรให้กบั เครื่องลูกข่าย เช่น การบริการไฟล์ การบรกิ ารงานพิมพ์ เปน็ ตน้ เน่ืองจากเครือ่ งเซฟเวอร์มักต้องรับภารกิจหนักในระบบจึงมกั ใช้เครอ่ื งทมี่ ีขดี ความสามารถมาเปน็ เคร่อื งแม่ข่ายเครื่องลูกข่ายหรือสถานีเครอื ข่ายเคร่ืองลูกข่ายเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย ซึ่งอาจเรียกว่า เวิร์กสเตชัน ก็ได้ โดยมักเป็นเคร่ืองของผู้ใช้งานท่ัวไปสาหรับติดต่อเพ่ือขอใช้บริการจากเซิร์ฟเวอร์ ซ่ึงสามารถจะขอหรือนา software ท้ังข้อมูลจากเคร่ืองแม่ข่ายมาประมวลผลใช้งานได้และยังติดต่อส่ือสาร รับ-ส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆในเครอื ข่ายได้การ์ดเครอื ขา่ ยแผงวงจรสาหรับใช้ในการเช่ือมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองในเครือข่ายจะต้องมีอุปกรณ์นี้ และหน้าทีของการ์ดก็คือ แปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณทาให้คอมพิวเตอรใ์ นเครือขา่ ยแลกเปลย่ี นข้อมูลกันได้สายเคเบลิ ท่ีใชบ้ นเครอื ข่ายเครือข่ายคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีสายเคเบิลเพื่อใช้สาหรับเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ให้อยู่บนเครือข่ายเดียวกันเพื่อส่ือสารกันได้ นอกจากนี้เครือข่ายยังสามารถส่ือสารระหว่างกันโดยไม่ใช้สายก็ได้ เรียกว่าเครือข่ายไร้สายโดยสามารถใช้คลื่นวิทยุหรืออินฟาเรด เป็นตัวกลางในการปลงสัญญาณ อีกทั้งยังสามารถนาเครอื ขา่ ยแบบมีสายและเครอื ข่ายแบบไรส้ ายมาเช่อื มต่อเข้าดว้ ยกนั เปน็ เครือข่ายเดียวกนั ได้ฮับและสวติ ช์เป็นอุปกรณ์ฮบั และสวิตช์มักนาไปใช้เป็นศูนย์กลางของสายเคเบิลที่เช่ือมต่อเครือข่ายเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งฮับหรือสวิตช์จะมีพอร์ตเพ่ือให้สายเคเบิลเชื่อมต่อเข้าระหว่างฮับกับคอมพิวเตอร์ โดยจานวนพอร์ตจะขึ้นอยู่กับแต่ละชนิด เช่น แบบ 4 , 8, 16 , 24 พอร์ต ยังสามารถนาฮับหรือสวิตช์หลายๆตัว มาเช่ือมต่อเข้าด้วยกันเพื่อขยายเครอื ข่ายได้อกี ดว้ ยระบบปฏิบัติการเครือขา่ ย
เครื่องแม่ข่ายของระบบจาเป็นต้องติดตั้งระบบปฏิบัติการเครือข่ายไว้ เพ่ือทาหน้าที่ควบคุมและรองรับการทางานของเครือข่ายไว้ เครอื ข่ายทม่ี ีประสิทธภิ าพจาเปน็ ต้องพงึ่ Software ท่ีมปี ระสิทธภิ าพตามด้วยเช่นกนั3.4 รูปแบบของเครือข่าย แบง่ เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1. เครือข่ายแบบ Client/Server 2. เครือข่ายแบบ Peer To Peerเครือขา่ ยแบบ Client/Server เป็นเครือข่ายท่ีมีคอมพิวเตอร์เครอื่ งหน่ึงทาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ ไว้คอยบริการข้อมูลให้กับลูกเครือข่าย โดยมีฮับหรือสวิตซ์เป็นตัวกลาง โดยคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองจะถูกเชื่อมต่อกับฮับเพื่อทาหน้าที่เช่ือมต่อระห่างกันและสมารถขอใช้บริการ web server , mail server , file server และ print server ได้เครือขา่ ยประเภทน้ีอาจมีเซฟเวอรต์ วั หนงึ่ ทาหนา้ ทีห่ ลายๆหนา้ ท่บี นเคร่ืองเดียวหรอื อาจทาหนา้ ที่เฉพาะก็ได้web server : บริการ HTTP เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลทางภาพและเสียงผ่าน web browser เช่นgoogle เป็นต้นmail server : เครือบริการรับส่งจดหมายสาหรับสมาชิก บริการท่ีมีให้ใช้ เช่น ส่งจดหมาย รับจดหมาน หรือการมือ addressbook ตัวอยา่ ง mail server ทเ่ี ป็นทีร่ ู้จกั กนั ทั่วไป ไดแ้ ก่ hotmaik หรอื Thaimail เป็นตน้file server : เซฟเวอร์ท่ีมีหน้าที่จัดเก็บไฟล์โยการจัดเก็บไฟล์น้ันเสมือนเป็นฮาร์ดดิสศูนย์รวม เสมือนว่าผู้ใช้งานทุกคนมีท่ีเก็บข้อมูลที่เดียว สามรถดูแลรักษาข้อมูลได้ง่ายและป้องกันความซ้าซ้อนของข้อมูล ข้อมูลดงั กล่าวสมารถแชร์ให้เคร่ืองอนื่ ได้print server : เซฟเวอร์ที่มีหน้าที่ในการจดั การแบ่งปรนิ้ เตอร์ในสานักงาน จากเคร่ืองปร้ินเตอร์เคร่ืองเดียวให้ผ้อู ่ืนสามรถส่ังปริ้นได้ หน้าท่ีหลักๆของปริ้นเซฟเวอร์คือ ช่วยในการแบ่งปัน จัดคิวในการใช้เครื่องปริ้นร่วมกันในองคก์ รได้เครอื ขา่ ย Peer To Peer
เป็นระบบท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองบนเครือข่ายมีฐานะเท่าเทียมกันโยที่ทุกเครื่องจะต่อสายเคเบิลเข้ากับฮับหรือสวิตซ์ทุกเครื่องสามารถใช้ไฟล์ในเครื่องอนื่ ได้และสามารถให้เคร่ืองอ่ืนมาชไ้ ฟล์ของตนเองได้เช่นกันระบบเครอื ขา่ ยประเภทนม้ี ักจะใชง้ านในหน่วยงานขนาดเล็กหรอื ใชค้ อมพิวเตอร์ไม่เกิน 10 เคร่ือง อาจมีปัญหาเรือ่ งความปลอดภัยในระบบเนอ่ื งจากขอ้ มูลที่เป็นความลบั ะถกู สง่ ไปยงั คอมพวิ เตอร์เครอื่ งอน่ื ด้วยเชน่ กนั3.5 อปุ กรณ์ทใี่ ชเ้ ชอื่ มตอ่ ระบบเครอื ข่าย รีพีตเตอร์(Repeater) : ในระบบ Lan โดยท่ัวไปนั้น ยิ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องอยู่ไกลกันมากเท่าไรสัญญาณท่ีจะส่ือถึงกันเริ่มเพี้ยนและจะจางหายไปในที่สุดจึงต้องมีอุปกรณ์เสริมพิเศษท่ีเรียกว่า รีพีตเตอร์ขึ้นมาทาหน้าที่ในการเดนิ สัญญาณคือช่วยขยายสัญญาณไฟฟ้าท่ีสง่ บนสาย Lan ใหแ้ รงขึน้ และจัดรูปสัญญาณท่ีเพ้ยื นให้กลับเปน็ เหมือนเดิม ฮับ(Hub) : ทาหน้าท่ีเปรียบเสมือนศูนย์กลางท่ีกระจายข้อมูลช่วยให้คอมพิวเตอร์ต่างๆบนเครือข่ายสามารถสื่อสารถึงกันได้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะต่อเข้ากับฮับโยสายเคเบิลแล้วส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์จากเคราองหน่ึงไปยังอีกเครือหน่ึงโยงผ่านฮับ ฮับไม่สามารถระบุแหล่งที่มาข้อมูลและปลายทางของข้อมูลท่ีสง่ ไปได้ ดังนน้ั ฮับจะสง่ ข้อมลู ไปให้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือ่ มตอ่ กับฮบั ทกุ เครื่องรวมถงึ เครื่องที่ส่งขอ้ มูลด้วยฮับไม่สามรถรับและส่งข้อมูลได้ในเวลาเดียวกันจึงทาให้ฮับทางานช้ากว่าสวิตซ์ การเชื่อมต่อแบบนี้ หากเชิร์ฟเวอรไ์ มไ่ ดเ้ ปดิ ใชง้ านอยู่ เครอื่ งลูกข่ายกไ็ มส่ ามารใช้งานบรกิ ารได้
สวติ ซ(์ Switch) : อุปกรณค์ อมพิวเตอร์ท่ีพัฒนามาจากฮับ ลกั ษณะทางกายภาพของเนก็ เวิรด์ สวิตซน์ ั้นจะเหมอื นกับเนต็ เวริ ์ดฮบั ทุกอย่าง แตกต่างกันตรงท่ี- สวติ สจ์ ะเลือกส่งข้อมูลถงึ ผ้รู ับเทา่ น้ัน- สวิตส์มคี วามร็วสูง- มีความปลอดภัยสูงกว่า- สามารถรับส่งข้อมลู ได้ในเวลาเดียวกนั บรดิ จ(์ Bridge) : เปน็ อปุ กรณ์เครอื ข่ายทเี่ ชอ่ื ม 2 เครือขา่ ยเข้าดว้ ยกัน เสมือนเป็นสะพานเชอื่ มโยงระหวา่ ง 2 เครือขา่ ยบริดจ์มีความสามารถมากกวา่ ฮับและรีพตี เตอร์ กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลทีจ่ ะส่งได้โดยตรวจสอบว่า- ตรวจสอบความสามารถของข้อมลู- ส่งข้อมลู ไปในเครื่องท่ีต้องการเทา่ นั้น- จัดการความหนาแน่นของข้อมูลได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: