แนวโน้มการประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
เทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจุบนั และในอนาคต 1. พฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. เทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจุบนั 3. เทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต 4. ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
1. พฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ • การรวมตวั กนั ของเทคโนโลยี (Convergence) • ตน้ ทุนที่ถูกลง (Cost reduction) • การพฒั นาอุปกรณ์ท่ีเล็กลง (Miniaturization) • การประมวลผลท่ีดีข้ึน (Processing Power) • การใชง้ านท่ีงา่ ย (User Friendliness) • สื่อผสม (Multimedia) • เวลาและภูมิศาสตร์ (Times Distance) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
2. เทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจุบัน • การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานสาธารณสุขและการแพทย์ • การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานดา้ นการศึกษา • การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี นสาขาธุรกิจ พาณิชย์ และสานกั งาน • การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี นดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี • อื่น ๆ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
2.1 การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานสาธารณสุข และการแพทย์ • การลงทะเบียน • สนบั สนุนการรักษาพยาบาล • เทคโนโลยสี ารสนเทศจะช่วยในการ ใหค้ วามรู้แก่ประชาชนของแพทยร์ วดเร็ว • เทคโนโลยสี ารสนเทศ ช่วยใหผ้ บู้ ริหารสามารถกาหนดนโยบายและติดตามผล • ในดา้ นการใหค้ วามรู้หรือการเรียนการสอนทางไกล • ระบบการปรึกษาแพทยท์ างไกล ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
Tele-radiology ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
Tele-cardiology ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
Tele-pathology ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
2.2 การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา • คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน • การเรียนการสอนโดยใชเ้ วบ็ เป็นหลกั • อิเลก็ ทรอนิกส์บุ๊ค • วดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ • ระบบวดิ ีโอออนดีมานด์ • การสืบคน้ • อนิ เทอร์เน็ต ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน CAI (Computer Assisted Instruction) เป็นการนาเอาเทคโนโลยี รวมกบั การออกแบบโปรแกรมการสอน มาใชช้ ่วยสอน ซ่ึงเรียกกนั โดยทว่ั ไปว่า บทเรียน CAI (Computer Assisted Instruction) การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ใน ปัจจุบนั มกั อยู่ในรูปของส่ือประสม (Multimedia) ซ่ึงหมายถึงนาเสนอไดท้ ้งั ภาพ ขอ้ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนน้ีเหมาะกบั การศึกษาดว้ ยตนเอง และเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนสามารถโตต้ อบ กบั บทเรียนได้ ตลอด จนมีผลป้อนกลบั เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนรู้ บทเรียนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และเขา้ ใจในเน้ือหาวชิ าของบทเรียนน้นั ๆ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา การเรียนการสอนโดยใช้เวบ็ เป็ นหลกั เป็นการจดั การเรียน ท่ีมีสภาพการเรียนต่างไปจากรูปแบบเดิม การเรียนการสอนแบบน้ี อาศยั ศกั ยภาพและ ความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็ นการนาเอาส่ือการเรียนการสอน ท่ีเป็ นเทคโนโลยี มาช่วย สนบั สนุนการเรียนการสอน ใหเ้ กิดการเรียนรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูล และเช่ือมโยงเครือข่าย ทาให้ผูเ้ รียนสามารถเรียน ไดท้ ุกสถานที่ และทุกเวลา การจดั การเรียนการสอนลกั ษณะน้ี มีชื่อเรียกหลายช่ือ ไดแ้ ก่ การเรียนการสอนผา่ น เวบ็ (Web-based Instruction) การฝึกอบรมผา่ นเวบ็ (Web-based Training) การสอนผา่ นส่ือทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (e- learning) เป็นตน้ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา อเิ ลก็ ทรอนิกส์บุ๊ค (Ebook) เป็ นการเก็บขอ้ มูลจานวนมาก ที่อยู่ในหนังสือให้อยู่ในรูปแบบของไฟล์แบบ Pdf หรือไฟล์ชนิดอื่น ๆ ท่ี สามารถเรียกใชง้ านไดง้ ่ายและรวดเร็วโดยใชด้ ชั นีสืบคน้ หรือสารบัญเร่ือง อิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค จึงเป็ นส่ือที่มี บทบาทต่อการศึกษาอยา่ งยิง่ เพราะในอนาคตหนงั สือต่าง ๆ จะจดั เก็บอย่ใู นคอมพิวเตอร์หรือ Cloud เป็ นขอ้ มูล ขนาดใหญ่ (Big Data) และเรียกอา่ นดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์หรืออปุ กรณ์ชนิดอน่ื ๆ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา วดิ โี อเทเลคอนเฟอเรนซ์ (Video Teleconference) เป็นการประชุมทางไกล โดยใชเ้ ทคโนโลยกี ารส่ือสารท่ีทนั สมยั ในการประชุมร่วมกนั ระหวา่ งบคุ คล หรือ คณะบุคคลท่ีอยตู่ ่างสถานท่ี และห่างไกลกนั โดยใชส้ ่ือทางดา้ นมลั ติมีเดีย ท่ีให้ท้งั ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสียง และขอ้ มูลตวั อกั ษร ในการประชุมเวลาเดียวกนั และเป็นการส่ือสาร 2 ทาง จึงทาให้ ดูเหมือนว่าไดเ้ ขา้ ร่วมประชุม ร่วมกนั ตามปกติ ดา้ นการศึกษาวดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ทาใหผ้ เู้ รียนและผสู้ อนสามารถติดต่อสื่อสารกนั ได้ ผา่ น ทางจอภาพ โทรทศั นแ์ ละเสียง นกั เรียนในหอ้ งเรียน ที่อยู่ห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสียง ของผูส้ อนสามารถ เห็นอากบั กิริยาของ ผูส้ อน เห็นการเคล่ือนไหวและสีหน้าของผูส้ อนในขณะเรียน คุณภาพของภาพและเสียง ข้นึ อยกู่ บั ความเร็วของช่องทางการส่ือสาร ท่ีใชเ้ ชื่อมต่อระหวา่ งสองฝ่ังท่ีมีการประชุมกนั ไดแ้ ก่ จอโทรทศั น์หรือ จอคอมพวิ เตอร์ ลาโพง ไมโครโฟน กลอ้ ง อุปกรณ์เขา้ รหัสและถอดรหัส ผา่ นเครือข่ายการส่ือสารความเร็วสูง แบบไอเอสดีเอน็ (ISDN) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา ระบบวดิ ีโอออนดีมานด์ (Video on Demand) เป็ นระบบใหม่ท่ีกาลงั ไดร้ ับความนิยมนามาใช้ ในหลายประเทศเช่น ญี่ป่ ุนและสหรัฐอเมริกา โดยอาศัย เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ความเร็วสูง ทาใหผ้ ชู้ มตามบา้ นเรือนต่าง ๆ สามารถเลือกรายการวดิ ีทศั น์ ท่ีตนเองตอ้ งการ ชมไดโ้ ดยเลอื กตามรายการ (Menu) และเลอื กชมไดต้ ลอดเวลา วดิ ีโอออนดีมานด์ เป็นระบบที่มีศูนยก์ ลาง การเกบ็ ขอ้ มูลวีดิทศั น์ไวจ้ านวนมาก โดยจดั เก็บในรูปแหล่งขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Video Server) เม่ือผูใ้ ชต้ อ้ งการเลือกชม รายการใด กเ็ ลือกไดจ้ ากฐานขอ้ มูลที่ตอ้ งการ ระบบวดิ ีโอ ออนดีมานดจ์ ึงเป็นระบบท่ีจะนามาใช้ ในเรื่องการเรียน การสอนทางไกลได้ โดยไม่มีขอ้ จากดั ดา้ นเวลา ผเู้ รียนสามารถเลอื กเรียนในส่ิงท่ีตนเองตอ้ งการเรียนหรือสนใจได้ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา การสืบค้นข้อมูล (Information query) การประยกุ ตใ์ ชไ้ ฮเปอร์เท็กซ์ในการสืบคน้ ขอ้ มูล จนมีโปรโตคอลชนิดพิเศษท่ีใชก้ นั คือ World Wide Web หรือเรียกว่า www โดยผูใ้ ช้สามารถเรียกใชโ้ ปรโตคอล http เพื่อเชื่อมโยงเขา้ สู่ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ ซ่ึงเป็ น ฐานขอ้ มูลในอินเทอร์เน็ต ไฮเปอร์เท็กซ์มีลกั ษณะเป็ นแบบมลั ติมีเดีย เพราะสามารถสร้างเป็ นฐานขอ้ มูลขนาด ใหญ่ ท่ีเกบ็ ไดท้ ้งั ภาพ เสียง และตวั อกั ษร มีระบบการเรียกคน้ ท่ีมีประสิทธิภาพ โดยใชโ้ ครงสร้างดชั นีแบบลาดบั ช้นั ภูมิ โดยทว่ั ไป ไฮเปอร์เทก็ ซ์จะเป็ นฐานขอ้ มูลที่มีดชั นีสืบคน้ แบบเดินหนา้ ถอยหลงั และบนั ทึกร่องรอยของ การสืบคน้ ไว้ ปัจจุบนั เราใชว้ ธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มูล เพ่ือนาขอ้ มูลที่ไดไ้ ปใชป้ ระกอบในการทาเอกสารรายงานต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
Search Engine Optimization (SEO) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา อนิ เทอร์เน็ต (Internet) คอื เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงประกอบดว้ ยเครือขา่ ยยอ่ ย และเครือขา่ ยใหญส่ ลบั ซบั ซ้อนมากมาย เชื่อมต่อกนั มากกวา่ 4,000 ลา้ นเคร่ืองในปัจจุบนั โดยใชใ้ นการติดต่อสื่อสาร ขอ้ ความรูปภาพ เสียงและอ่ืน ๆ โดยผา่ นระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีผูใ้ ชง้ านกระจายกนั อยู่ทว่ั โลก ปัจจุบนั ไดม้ ีการนาระบบอินเทอร์เน็ต เขา้ มาใชใ้ นวง การศึกษากนั ทว่ั โลก ซ่ึงมีประโยชนใ์ นดา้ นการเรียนการสอนเป็นอยา่ งมาก ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
https://www.twfdigital.com/blog/2020/02/global-digital-usage-stat-q1-2020/ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการศึกษา ประยกุ ต์ใช้ในงานทะเบียนของสถานศึกษา • งานรับมอบตวั • งานทะเบียนเรียนรายวชิ า • งานประมวลผลการเรียน • งานส่งนกั ศึกษาฝึกงาน • งานตรวจสอบผจู้ บการศึกษา ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
2.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยใี นสาขาธุรกจิ พาณชิ ย์ และสานักงาน • งานทางดา้ นการเงินการธนาคาร • งานทางดา้ นซ้ือขายสินคา้ • งานสานกั งานอตั โนมตั ิ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
งานทางดา้ นการเงินการธนาคาร ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
งานทางดา้ นซ้ือขายสินคา้ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
งานสานกั งานอตั โนมตั ิ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
2.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยใี นด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี • การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานดา้ นการส่ือสารและโทรคมนาคม • การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานดา้ นการออกแบบผลิตภณั ฑ์ • การประยกุ ตใ์ ชใ้ นสานกั งานภาครัฐและเอกชน ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม การประยุกตใ์ ชใ้ นงานประเภทน้ีไดแ้ ก่ การบริการโทรศพั ท์ โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ วทิ ยุ โทรทศั น์ เคเบิลทีวี การคน้ คืนสารสนเทศระบบออนไลน์ ดาวเทียม และโครงข่ายบริการ สื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) เป็นตน้ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการส่ือสารและโทรคมนาคม ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ไดม้ ีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบ ( CAD : Computer Aided Design) ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบสิ นค้า และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยควบคุม กระบวนการผลิต ( CAM : Computer Aided Manufacturing) เช่นควบคุมอุณหภูมิ ควบคุมคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ ลดแรงงาน โดยใชค้ อมพิวเตอร์ควบคุมหุ่นยนตท์ างาน ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานด้านการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
การประยกุ ต์ใช้ในสานักงานภาครัฐและเอกชน ปัจจุบนั ไดม้ ีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ต่าง ๆ มากมาย เช่น การทาบตั รประจาตวั ประชาชน การเกิด การตาย การเสียภาษีอากร การทาใบอนุญาตขบั รถยนต์ การจ่ายค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ การประมวลผลคะแนน เลือกต้งั ฯลฯ เป็นตน้ งานเหล่าน้ีไดม้ ีการนาระบบ สานักงานอตั โนมตั ิเขา้ มาใช้ เพ่ือทา ให้ไดข้ อ้ มูลข่าวสารท่ีรวดเร็ว และยงั ตอบสนองกบั การบริหารยุคใหม่ ที่ตอ้ งใชข้ อ้ มูล เป็นหลกั ในการบริหารจดั การ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
การประยุกต์ใช้ในสานักงานภาครัฐและเอกชน ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
รัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Government) • คื อ ก า ร ใ ช้ ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร ห รื อ ICT ( Information and Communication Technology ) เพ่ือส่งเสริมใหร้ ัฐบาลมี ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลมากย่ิงข้ ึ นรวมถึ งลดความยุ่งยากในการที่ ประชาชนและธุรกิจจะเขา้ ถึงการบริการของรัฐและเขา้ ถึงสารสนเทศได้ กวา้ งขวางข้ึน ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
รัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Government) • การบริหารงานระหวา่ งรัฐบาล สู่ หน่วยงานภาครัฐ หรือรัฐบาลของรัฐอื่น (government to governments: G2G) • การบริหารงานระหวา่ งรัฐบาล สู่ บคุ ลากรในหน่วยงาน/องคก์ าร (government to employees: G2E) • การบริหารงานระหวา่ งรัฐบาล สู่ องคก์ ารธุรกิจ (government to businesses: G2B) • การบริหารงานระหวา่ งรัฐบาล สู่ ประชาชน (government to citizens: G2C) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
e-Citizen • Citizen e-DB ฐานขอ้ มูลประชาชน • Citizen e-ID การพสิ ูจนย์ นื ยนั ตวั บุคคล • Citizen e-Service การบริการประชาชน ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
3. เทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต • ระบบปัญญาประดิษฐ์ • นาโนเทคโนโลยี อาณาจกั รจ๋ิว นวตั กรรมแห่งอนาคต ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
ระบบปัญญาประดิษฐ์ AI (Artificial Intelligence) • ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) • โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) • ระบบผเู้ ชี่ยวชาญ (Expert System) • ศาสตร์ดา้ นหุ่นยนต์ (Robotics) • อ่ืน ๆ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ภาษาธรรมชาติเป็ นการประยุกต์ให้คอมพิวเตอร์สามารถทาความเข้าใจภาษา มนุษย์ ซ่ึงเป็ นการประยุกตใ์ ชภ้ าษาศาสตร์และเคร่ืองคอมพิวเตอร์เขา้ ดว้ ยกนั โดยจะหา วิธีให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจความหมายของประโยค เข้าใจเร่ืองของคา และ ความหมายของคา หลกั ไวยากรณ์ของ ประโยค ภาษาธรรมชาติจริง ๆ ลว้ นเป็ นภาษาที่ ยอมให้คอมพิวเตอร์รับคาส่ังโดยไม่คานึงถึงรู ปแบบหรื อหลักไวยากรณ์ของ ภาษา เหมือนกบั โปรแกรมภาษาอื่น ๆ ที่ตอ้ งการมีข้นั ตอนในการใชค้ าสั่ง เช่น การใช้ คาสง่ั ใหเ้ ครื่องจกั รทางาน การแปลภาษา สิริ มะลิ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) เป็ นหน่ึงในเทคนิคของการทาเหมืองขอ้ มูล (Data Mining) คือโมเดลทางคณิตศาสตร์ สาหรับ ประมวลผลสารสนเทศดว้ ยการคานวณแบบคอนเนคชนั นิสต์ (Connectionist) เพื่อจาลองการทางาน ของเครือข่ายประสาทในสมองมนุษย์ ดว้ ยวตั ถุประสงคท์ ี่จะสร้างเคร่ืองมือซ่ึงมีความสามารถในการ เรียนรู้การจดจารูปแบบ (Pattern Recognition) และการสร้างความรู้ใหม่ (Knowledge Extraction) เช่นเดียวกบั ความสามารถที่มีในสมองมนุษย์ ตวั อย่างงาน เช่นงานการจดจารูปแบบที่มีความไม่ แน่นอน เช่น ลายมือ ลายเซ็นต์ ตวั อกั ษร รูปหนา้ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
ระบบผเู้ ชี่ยวชาญ (Expert System) เป็ นเทคนิควิธีการท่ีช่วยในการหาคาตอบ อธิบายความไม่ชดั เจน ซ่ึงปกติ น้นั จะใช้ผูเ้ ช่ียวชาญในแต่ละสาขาตอบคาถามน้นั ระบบผูเ้ ช่ียวชาญเป็นส่วน หน่ึงของปัญญาประดิษฐ์โดยอาศัยระบบฐานความรู้ (knowledge-based system) และกลไกการอนุมาน (inference engine) เป็นองคป์ ระกอบหลกั ใน การทางาน เช่นการวเิ คราะห์ตลาดหุน้ วนิ ิจฉยั โรค ฯลฯ ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
ระบบผเู้ ช่ียวชาญ (Expert System) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
ศาสตร์ดา้ นหุ่นยนต์ (Robotics) หุ่นยนต์ คือเคร่ืองยนตช์ นิดหน่ึงท่ีมีลกั ษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกนั และคลา้ ยคลึงกบั มนุษย์ หุ่นยนตใ์ นแต่ละประเภทจะมีหน้าท่ีการทางานในดา้ นต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของ มนุษย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหวา่ งหุ่นยนตแ์ ละมนุษย์ สามารถทาไดโ้ ดยทางออ้ ม และอตั โนมตั ิ แบ่งไดเ้ ป็ น 1. หุ่นยนตช์ นิดที่ติดต้งั อยกู่ บั ท่ี (fixed robot) 2. หุ่นยนตช์ นิดท่ีเคลื่อนที่ได้ (mobile robot) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจิต
หุ่นยนตช์ นิดที่ติดต้งั อยกู่ บั ท่ี (fixed robot) ทรงศกั ด์ิ พรหมเมตจติ
Search