กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖
ก หนังสือส่งเสรมิ การอ่านจบั ใจความสาคัญ นิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เลม่ ท่ี ๘ คาราชาศัพท์ นางละออง เพียรสวสั ด์ิ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นสมบรู ณป์ ระชาสรรค์ สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต ๓ สังกัดสานักงานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ก หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของกระทรวงศึกษาธิการ จะต้องผ่านการประเมินการอ่านจับใจความให้ได้ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด โดยสอดคล้องกับ สาระท่ี ๑ : การอ่าน ซ่ึงนับว่ามีความสาคัญอย่างย่ิงสาหรับนักเรียน เพราะการอ่านเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้ของทุกกลุ่มสาระ ทักษะการอ่านจึงมีความ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้เด็กๆ ฝึกอ่านท้ังอ่านออกเสียง อ่านจับใจความ รวมถึงการคิด วิเคราะห์สารท่ีได้รับ แสดงความคิดเห็น นาประโยชน์จากการอ่านไปใช้ได้อย่างเหมาะสม และใช้ในการแสวงหาความรู้ต่อไป ดังน้ัน ผู้จัดทาได้สร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบ อิเล็กทรอนกิ ส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ทังหมด เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทย และเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะ การอ่านจับใจความสาคัญ และเน้ือหาท่ีมีความหลากหลาย ตลอดจนมีกิจกรรมท่ีครอบคลุม ตามสาระการเรียนรทู้ กี่ าหนดตามช่วงวยั ผู้จัดทามุ่งหวังว่า หนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบ อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ นี้ จะอานวยประโยชน์แก่ผู้รักการอ่าน นักเรียน และผู้สนใจ เพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ในชั้นเรียนวิชาภาษาไทย หรือใช้ส่งเสริมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ละออง เพยี รสวัสดิ์
ข สาหรับหนังสือส่งเสริมการอ่านนิทานภาษาไทย ชุด ชนิดของคาและสานวน สุภาษิตไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ จานวน ๘ เล่ม ดังน้ี เลม่ ที่ ๑ คานาม เล่มที่ ๒ คาสรรพนาม เลม่ ที่ ๓ คากริยา เล่มที่ ๔ คาวิเศษณ์ เลม่ ที่ ๕ คาสันธาน เล่มที่ ๖ คาบุพบท เล่มท่ี ๗ คาอทุ าน เล่มที่ ๘ คาราชาศัพท์ สาหรับหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ คือ เล่มที่ ๘ คาราชา- ศัพท์ ประกอบดว้ ย สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อน เรยี น นทิ านคาไทย ใบความรู้ เรอื่ ง คาราชาศัพท์ และสานวนสุภาษิตไทย แบบฝึกทักษะท่ี ๑ – ๘ และแบบทดสอบหลงั เรียน กิจกรรมฝึกทักษะ มจี านวน ๘ กจิ กรรม ประกอบด้วยดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ เติมคาราชาศพั ท์ลงในชอ่ งว่างตอ่ ไปนี้ กจิ กรรมที่ ๒ เลือกคาที่อย่ใู นกรอบข้อความ และนามาเขยี นลงในชอ่ งวา่ ง กจิ กรรมที่ ๓ เติมคาราชาศัพทจ์ ากคาสามัญท่กี าหนดให้ กิจกรรมที่ ๔ การอ่านจับใจความสาคัญจากนิทานคาไทย จากนั้นเติมคาตอบ ลงในชอ่ งวา่ ง กจิ กรรมท่ี ๕ วงกลมคาในกล่องปริศนาอกั ษรไขว้
ค กจิ กรรมที่ ๖ หาคาราชาศพั ท์ท่ีใช้กบั พระมหากษตั ริย์ กจิ กรรมท่ี ๗ เปลีย่ นคาทกี่ าหนดให้ต่อไปนี้ เป็นคาราชาศัพท์ท่ีใช้กับพระราชา และพระสงฆ์ กจิ กรรมท่ี ๘ สืบค้นคาราชาศัพท์และบอกความหมายให้ถูกต้อง กิจกรรมที่ ๑ – ๘ ทง้ั หมดมีการกาหนดการให้คะแนนในภาคผนวกไว้ชัดเจน แบบทดสอบยอ่ ยกอ่ นเรยี น และแบบทดสอบยอ่ ยหลังเรียน เรอื่ ง คานาม จานวน ๑๐ ขอ้ ข้อละ ๑ คะแนน ถ้านักเรยี นตอบถูกจะได้ ๑ คะแนน ถ้าตอบผิด หรอื ไมไ่ ดต้ อบ จะได้ ๐ คะแนน เป็นแบบปรนัย ซ่งึ มีตวั เลอื ก ๔ ตวั เลอื ก คือ ขอ้ ก, ข, ค และ ง รวมเปน็ ๑๐ คะแนนเตม็ ทั้งนี้ หนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ เป็นสื่อแบบ E-Book มีลักษณะเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยสามารถสแกนผ่าน QR-Code หรือเข้าผ่านลิงค์ เว็บไซด์ เพอ่ื ใชง้ านตามปกติ พร้อมกับรูปเล่มจริง ตามภาพ QR-Code และลิงค์ออนไลน์ที่ แนบนี้ https://pubhtml๕.com/homepage/elli QR-Code
ง ๑. ศึกษาและทาความเข้าใจคู่มือการใช้และหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความ สาคญั นทิ านคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เล่มนี้ ให้เข้าใจก่อนนาไปใชง้ าน ๒. จัดเตรียมหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบ อิเล็กทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย สาหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ หรือ อพั เดทระบบหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นเว็บไซตใ์ หเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นใหน้ ักเรยี นเข้าเรียนรู้ ๓. แนะนาการใช้งานหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๔. ให้นักเรียนลงมือทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาหนังสือส่งเสริมการอ่านจับ ใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๕. เปิดโอการสให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา หรือหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความ สาคัญนทิ านคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ดว้ ยตนเอง ตามกระบวนการเรียนรู้ท่ีกาหนด ๖. ให้นกั เรยี นทบทวนความรู้ ความเขา้ ใจด้วยการทากจิ กรรมฝกึ ทักษะให้ครบถว้ น ๗. ให้นักเรียนลงมือทาแบบทดสอบหลังเรียนประจาหนังสือส่งเสริมการอ่านจับ ใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๘. นานกั เรียนตรวจคาตอบและเฉลยคาตอบทั้งหมด เพอ่ื บนั ทกึ คะแนน หมายเหตุ : หนังสือส่งเสริมการอ่านนิทานภาษาไทย ชุด ชนิดของคาและสานวน สุภาษิตไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ นี้ นักเรียนสามารถกลับมาเรียนรู้และทบทวนได้ภายหลังจากที่เรียนเสร็จแล้ว หากนักเรียน ไม่เขา้ ใจหรือต้องการทบทวนเนื้อหานอกเวลาเรียน สาหรับกิจกรรมระหว่างเรียนอาจมีท้ัง แบบเดย่ี วและกล่มุ
จ ๑. ศึกษาและทาความเข้าใจคาชี้แจงหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญ นิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เลม่ น้ี ให้เข้าใจกอ่ นนาไปใชง้ าน ๒. ฟังคาแนะนาการใช้งานหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทย แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๓. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทาน คาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ันประถม- ศกึ ษาปีที่ ๖ ๔. เปิดโอการสให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา หรือหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความ สาคญั นิทานคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ดว้ ยตนเอง ตามกระบวนการเรียนรู้ทก่ี าหนด ๕. นกั เรยี นทบทวนความรู้ ความเขา้ ใจดว้ ยการทากิจกรรมฝึกทกั ษะให้ครบถ้วน ๖. ทาแบบทดสอบหลังเรียนประจาหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญ นิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ันประถม- ศกึ ษาปีที่ ๖ ๗. นานักเรยี นตรวจคาตอบและเฉลยคาตอบทั้งหมด เพ่ือบันทกึ คะแนน หมายเหตุ : หนังสือส่งเสริมการอ่านนิทานภาษาไทย ชุด ชนิดของคาและสานวน สุภาษิตไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ น้ี นักเรียนสามารถกลับมาเรียนรู้และทบทวนได้ภายหลังจากที่เรียนเสร็จแล้ว หากนักเรียน ไม่เข้าใจหรือต้องการทบทวนเน้ือหานอกเวลาเรียน สาหรับกิจกรรมระหว่างเรียนอาจมีท้ัง แบบเด่ียวและกลุ่ม
ฉ ขอ้ ควรระวงั และปฏิบตั กิ อ่ นการดาเนนิ การสอน ๑. ศึกษาแผนการจัดการเรยี นรอู้ ย่างละเอียด ๒. เตรยี มอปุ กรณ์ สอื่ การเรียนการสอนให้เรียบรอ้ ย ๓. ศกึ ษารายละเอียดหนงั สือสง่ เสรมิ การอา่ นจับใจความสาคญั นิทานคาไทย แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กอ่ นการเรียนรู้ ๔. กาหนดบทบาทสมาชิในกล่มุ ทราบถึงการปฏิบัติตมบทบาทต่าง ๆ โดยสมาชกิ ทุกคนในกล่มุ ตอ้ งไดท้ าทุกบทบาท ๕. ครูผสู้ อนชี้แจงวธิ กี ารใช้หนังสือสง่ เสรมิ การอ่านจับใจความสาคญั นทิ านคาไทย แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ และกิจกรรมทีน่ ักเรียนต้องปฏิบัติ ข้อควรระวงั และปฏบิ ตั ิขณะดาเนนิ การสอน ๑. ช้แี จงการใช้หนงั สอื ส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคญั นทิ านคาไทยแบบ อิเลก็ ทรอนิกส์ให้นักเรียนทุกคนทราบ ๒.ดาเนินกิจกรมตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียนรู้ เนือ้ หาและเวลาทกี่ าหนด ๓. ครูผู้สอนตอ้ งใหค้ าแนะนาและคอยดแู ลนกั เรยี นอยา่ งใกล้ชิด ๔. ใหน้ กั เรียนเรยี นรจู้ ากหนังสือสง่ เสริมการอ่านจบั ใจความสาคญั นิทานคาไทย แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ตามขั้นตอนอยา่ งเครง่ ครดั และมคี วามซือ่ สตั ย์ตอ่ ตนเอง ๕. ตรวจสอบการทางานของนกั เรยี นและสรุปบทเรียนร่วมกนั นกั เรยี น ขอ้ ควรระวังและปฏบิ ตั เิ ม่ือดาเนนิ การสอนส้นิ สดุ ๑. ครผู สู้ อนใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน ๒. ตรวจผลงานจากการทาแบบทดสอบและกิจกรรมระหว่างเรียน ๓. ถา้ นกั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ทีร่ ะบไุ ว้ ครูควรให้นักเรียนศึกษาและทบทวนเน้อื หา ใหมอ่ กี ครัง้ แลว้ ทาแบบทดสอบหลงั เรียนใหผ้ ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้
ช มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัด ๑. อา่ นเรื่องส้นั ๆ อย่างหลากหลาย โดยจบั เวลาแล้วถามเก่ยี วกับเรื่องที่อ่าน (ท ๑.๑ ป.๖/๓) ๒. แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรื่องท่ีอา่ น (ท ๑.๑ ป.๖/๔) ๓. อธิบายการนาความรู้และความคิด จากเรือ่ งท่ีอ่านไปตดั สินใจแกป้ ญั หาใน การดาเนนิ ชวี ติ (ท ๑.๑ ป.๖/๕) ๔. อา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย คาสัง่ ข้อแนะนา และปฏบิ ัตติ าม อา่ นหนังสอื ตาม ความสนใจ และ อธิบายคุณคา่ ทไี่ ด้รบั (ท ๑.๑ ป.๖/๖) ๕. มมี ารยาทในการอา่ น (ท ๑.๑ ป.๖/๙) ๖. วเิ คราะห์ชนดิ และหนา้ ทขี่ องคาในประโยค (ท ๔.๑ ป.๖/๑) ๗. ใชค้ าได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล (ท ๔.๑ ป.๖/๒) ๘. วิเคราะหแ์ ละเปรียบเทียบสานวนที่เป็นคาพงั เพย และสภุ าษติ (ท ๔.๑ ป.๖/๖) สาระสาคัญ คาราชาศพั ท์ เปน็ คาทีใ่ ชใ้ หเ้ หมาะสมกับฐานะของบุคคลต่างๆ คาราชาศัพท์ท่ีเป็น การกาหนดคา และภาษาท่ีสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงามของไทย แม้คาราชาศัพท์ จะมโี อกาสใช้ในชีวิตนอ้ ย แต่เป็นส่ิงท่ีแสดงถึงความละเอียดอ่อนของภาษไทยท่ีมีคาหลายรูป หลายอย่างในความหมายเดียวกัน และเป็นลักษณะพิเศษของภาษาไทย โดยเฉพาะ ซ่ึงใชก้ บั บุคคลกลมุ่ ตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี พระบาทสมเดจ็ หระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมวงหานวุ งศ์ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร และขนุ นาง ข้าราชการ รวมถงึ สภุ าพชน ตัวอย่าง ความหมายสานวนสุภาษิตไทย และการวิเคราะห์ เปรียบเทียบสานวน ท่เี ป็นคาพงั เพยและสุภาษติ ไทย
ซ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. สามารถบอกความหมายของคาราชาศพั ท์และสานวนสุภาษติ ไทยได้ (K) ๒. สามารถจาแนกลักษณะของการใช้งานคาราชาศัพท์ได้ (K) ๓. สามารถอธิบายหน้าที่ของคาราชาศพั ท์ได้ (K) ๔. สามารถเลอื กใช้สานวนสุภาษติ ไทยไดถ้ กู ต้อง (P) ๕. สามารถเลือกใช้คาราชาศัพท์ไดถ้ กู ตอ้ ง (P) ๖. สามารถวิเคราะห์ เปรียบเทียบสานวนท่ีเปน็ คาพังเพยและสภุ าษติ ไทยได้ (P) ๗. สามารถแตง่ ประโยคโดยใชค้ าราชาศัพท์ และสานวนสุภาษติ ไทยท่ีกาหนดให้ได้ (P) ๘. ตั้งใจทางานท่ีได้รับมอบหมายเสร็จตามเวลาที่กาหนด และมีพฤติกรรมท่ีดีใน การทางานเป็นกลุม่ (A) สาระการเรยี นรู้ ๑. ความหมายของคาราชาศัพท์ ๒. ลกั ษณะการใชง้ าน ๓. สานวนสุภาษติ ไทย คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซ่อื สัตย์สจุ รติ ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเุ รียนรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ๖. ม่งุ มั่นในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ สมรรถนะสาคญั ๑. ความสามารถในการสื่อสาร
ฌ ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ภาระและชนิ้ งาน ๑. หนงั สือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย สาหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ กิจกรรมท่ี ๑ เตมิ คาราชาศพั ทล์ งในช่องว่างตอ่ ไปนี้ กจิ กรรมที่ ๒ เลอื กคาท่อี ยูใ่ นกรอบข้อความ และนามาเขยี นลงในช่องว่าง กิจกรรมท่ี ๓ เติมคาราชาศพั ทจ์ ากคาสามัญท่กี าหนดให้ กิจกรรมท่ี ๔ การอ่านจับใจความสาคัญจากนิทานคาไทย จากนั้นเติมคาตอบ ลงในชอ่ งวา่ ง กจิ กรรมที่ ๕ วงกลมคาในกลอ่ งปรศิ นาอกั ษรไขว้ กจิ กรรมที่ ๖ หาคาราชาศัพท์ท่ีใชก้ ับพระมหากษตั ริย์ กจิ กรรมท่ี ๗ เปล่ียนคาทีก่ าหนดใหต้ ่อไปน้ี เป็นคาราชาศัพท์ท่ีใช้กับพระราชา และพระสงฆ์ กิจกรรมท่ี ๘ สืบค้นคาราชาศัพทแ์ ละบอกความหมายให้ถกู ตอ้ ง ๒. แบบทดสอบย่อยกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น เร่ือง คาราชาศพั ท์
ญ ปกใน หน้า คานา ก คาชแี้ จง ข หนังสอื ส่งเสรมิ การอ่านจับใจความสาคญั นิทานคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ค กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย สาหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ สารบญั จ เล่มท่ี ๘ คาราชาศพั ท์ ซ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ๑ นทิ านส่งเสริมคาราชาศัพท์ ๒ ใบความรู้ เร่ือง คาราชาศัพท์ ๕ สานวนสภุ าษติ ไทย ๙ แบบฝึกทกั ษะการอ่าน ๑๐ ๑๕ แบบฝึกท่ี ๑ ๑๖ แบบฝึกที่ ๒ ๑๗ แบบฝึกท่ี ๓ ๑๘ แบบฝกึ ที่ ๔ ๑๙ แบบฝึกที่ ๕ ๒๐ แบบฝกึ ท่ี ๖ ๒๑ แบบฝึกที่ ๗ ๒๒ แบบฝึกท่ี ๘ ๒๔
แบบทดสอบหลงั เรยี น ฎ ภาคผนวก หน้า เฉลยแบบฝกึ ท่ี ๑ ๒๖ เฉลยแบบฝกึ ที่ ๒ ๒๙ เฉลยแบบฝึกที่ ๓ ๓๐ เฉลยแบบฝกึ ที่ ๔ ๓๑ เฉลยแบบฝกึ ที่ ๕ ๓๑ เฉลยแบบฝึกท่ี ๖ ๓๒ เฉลยแบบฝึกที่ ๗ ๓๓ เฉลยแบบฝึกท่ี ๘ ๓๔ เฉลยแบบทดสอบย่อยก่อนเรียนและหลังเรียน ๓๕ บรรณานกุ รม ๓๗ ประวัตยิ อ่ ผูจ้ ัดทา ๓๘ ๓๙ ๔๐
๑๒ เลม่ ท่ี ๘ คาราชาศพั ท์
๑๓ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนังสือสง่ เสรมิ การอ่านจับใจความสาคญั นิทานคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เล่มที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาช้ีแจง ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย () กากบาททับหน้าคาตอบขอ้ ทถ่ี กู ตอ้ งที่สดุ ๑. “พระภิกษุปว่ ย” ควรใช้คาในขอ้ ใดให้ถกู ตอ้ ง ข. ประชวร ก. อาพาธ ง. จับไข้ ค. เป็นไข้ ๒. ตัวเลอื กในขอ้ ใดเปน็ คาสุภาพทีใ่ ช้เรียกผกั ตบชวา ก. ผกั ทอดยอด ข. ผักริมนา้ ค. ผักแพ ง. ผักสามหาว ๓. “สกุ ร” เปน็ คาสุภาพท่ีใช้เรียกสัตว์ชนดิ ใด ข. หมู ก. สุนัข ง. ไก่ ค. แกะ ๔. “การนัง่ ” มีการใช้คาราชาศพั ท์ว่าอย่างไร ข. เสดจ็ ก. ประทบั ง. ประชวร ค. ทรงงาน ๕. “สวมเสอื้ ” ควรใช้คาราชาศัพท์วา่ อย่างไร ข. ทองกร ก. ฉลองพระองค์ ง. ประพาส ค. นวิ ตั
๑๔ ๖. “พระสงฆอ์ อก (รับของใส่บาตร) ในตอนเชา้ ทุกวนั ” มกี ารใชค้ าศัพท์ว่าอย่างไร ก. ฉนั ข. ทาวตั ร ค. บิณฑบาต ง. จาพรรษา ๗. “หลวงลงุ ทีว่ ดั ขา้ งบ้าน (ตาย) เมือ่ วานน้ี” มกี ารใชค้ าศพั ท์วา่ อย่างไร ก. มรณภาพ ข. ฉนั ค. จาพรรษา ง. ทาวตั ร ๘. “พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ..............หนังสือเรอื่ ง “ทองแดง” ควรใชค้ าราชาศัพท์ ว่าอย่างไร ก. เสด็จฯ ข. ผนวช ค. ทรงพระราชนิพนธ์ ง. ทรงกระทายทุ ธหัตถี ๙. “วนั ปิยมหาราชเปน็ วันคลา้ ยวนั .............ของรชั กาลท่ี ๕” ใช้คาราชาศัพท์ว่าอย่างไร ก. ผนวช ข. ทรงพระทรงยุทธหัตถี ค. ราชสมภพ ง. สวรรคต ๑๐. คาว่า “ขี้ควาย” ควรใช้คาสุภาพทถี่ ูกต้องไดต้ ามข้อใด ก. กนิ ข. มูล ค. ถา่ ย ง. ดม่ื ขอใหโ้ ชคดีทุกคนนะ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ เกณฑ์การประเมิน ๑๐ __________ ๘
๑๕
๑๖
๑๗ พระนามของในหลวง “ภูมิพล” แปลว่า กาลังของแผ่นดิน พระองคท์ รงเป็นพระมหากษัตริยท์ ท่ี รงงานหนัก เพ่อื ประชาชนชาวไทยมากกว่า ๖๐ ปี
๑๘ ในหลวงและสมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดาเนนิ เยย่ี มราษฎร ทกุ ภาคสว่ นของประเทศไทย ทรงทอดพระเนตรสภาพภมู ิประเทศ อย่างแทจ้ ริงดว้ ยพระองค์เอง
๑๙ พระองคท์ รงศึกษาปัญหา ความเดอื ดรอ้ นของราษฎร์อย่างใกล้ชดิ ทรงมีพระราชดารใิ นการแกไ้ ข ปญั หาเหล่านนั้
๒๐ ล้วนดาเนนิ การเพอื่ ประโยชน์สขุ อนั ยง่ั ยืนของประชาชน
๒๑ ใบความรู้ เรอ่ื ง คาราชาศพั ท์ ความหมายของคาราชาศัพท์ คือ คาที่ใช้ใหเ้ หมาะสมกับฐานะของบคุ คลต่างๆ คาราชาศัพท์ทเ่ี ป็น การกาหนดคา และภาษาทสี่ ะทอ้ นให้เหน็ ถงึ วฒั นธรรมอันดงี ามของไทย แมค้ าราชาศพั ท์ จะมีโอกาสใชใ้ นชวี ติ นอ้ ย แต่เป็นสิง่ ที่แสดงถงึ ความละเอยี ดอ่อนของภาษไทยท่ีมีคาหลายรูป หลายอย่างในความหมายเดยี วกนั และเปน็ ลักษณะพเิ ศษของภาษาไทย โดยเฉพาะ ซึ่งใชก้ บั บุคคลกลุม่ ต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ ๑. พระบาทสมเดจ็ หระเจ้าอยหู่ วั และสมเด็จพระนางเจา้ ๒. พระบรมวงหานุวงศ์ ๓. พระภิกษสุ งฆ์ สามเณร ๔. ขนุ นาง ขา้ ราชการ ๕. สภุ าพชน ลกั ษณะการใช้งานของคาราชาศัพท์ การใช้ทรง ๑. ใช้ทรงนาหน้าคานามบางคาทาให้เปน็ กริยาราชาศพั ทไ์ ด้ เช่น ทรงกีฬา (เล่นกีฬา) ทรงธรรม (ฟังเทศน์) ทรงบาตร (ใสบาตร) ทรงชา้ ง (ขชี่ า้ ง) ๒. ใช้ทรงนาหนา้ คากรยิ าสามญั บางคา ทาให้เปน็ กริยาราชาศัพท์ได้ เช่น ทรงวิ่ง ทรงยนิ ดี ทรงอธบิ าย ทรงยงิ ทรงเล่น ทรงสั่งสอน ทรงศกึ ษา ๓. ใช้ทรงนาหน้าคานามธรรมดา เชน่ ทรงข้าง ทรงดนตรี ทรงศีล ทรงธรรม ทรงเบด็ ทรงแซกโซโฟน ๔. ใช้ทรงนาหน้าคานามราชาศัพท์บางคา ทาให้เปน็ กรยิ าราชาศัพท์ท่ไี ด้ เชน่ ทรงพระราชดา (คิด) ทรงพระราชนพิ นธ์ (แต่งหนงั สอื ) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า (กรณุ า) ทรงพระผนวช (ออกบวช) ทรงพระสุบนิ (ฝนื ) ทรงพระประชวร (เจ็บปวุ ย) ทรงหระสรวล (ย้มิ ) ทรงพระอกั ษะ (อ่าน เขียน เรยี น)
๒๒ ๕. ทรงมีหรอื ทรงเปน็ นาหน้าคานามธรรมดา เช่น ทรงมีเงนิ ทรงมีไข้ ทรงมีเหตุผล ทรงเป็นครู ทรงเปน็ ทหาร ทรงเปน็ นักปราชญ์ ๖. คากริยาท่เี ปน็ คาราชาศพั ทอ์ ยแู่ ล้วไม่ใช้ “ทรง” ตรสั (พดู ) ประสตู ิ (เกิด) บรรทม (นอน) พระราชทาน (ให้) โปรด (ชอบ) เสวย (กนิ ) ทอดพระเนตร (ดู) ตกพระทัย (ตกใจ) เสด็จประพาส (ไปเท่ียว) เสดจ็ นิวัติ (กลับมา) ทรงน้า (อาบนา้ ) ทรงพระพักตร์ (ลา้ งหน้า) ๑. ไม่ใช้คาว่าทรง น้าหนักกรยิ าราชาศัพท์สาเรจ็ รปู เช่น ทรงเสวย ทรงโปรด เปน็ ต้น ๒. ไมใ่ ชค้ าว่าทรงมหี รอื ทรงเปน็ นาหนา้ คานามราชาศพั ท์ เช่น ทรงมพี ระบรม ราชโองการทรงเป็นพระราชโอรส เป็นต้น ใหใ้ ช้ มี หรอื เป็น เช่น มีพระบรมราชโองการ เปน็ พระราชโอรส เปน็ ตน้ การใชค้ าพระบรม / พระบรมราช พระราช พระ ๑. พระบรม, พระบรมราช ใช้นาหน้าคานามที่สาคัญทเี่ กี่ยวกับพระบาทสมเด็จ- พระเจ้าอย่หู ัวเท่าน้ัน เช่น พระบรมราโชวาท พระบรมมหาราชวัง พระบรมฉายาลักษณ์ พระปรมาภไิ ธย พระบรมราชวโรกาส พระบรมราชโองการ ๒. พระราช ใชก้ ับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี และ อปุ ราช เชน่ พระราชกรเลข พระราชหัตถลขา พระราชเสาวนีย์ พระราชปฏิสันถาร ๓. พระ ใช้นาหน้าคาเรียกอวัยวะ เคร่ืองใช้ หรือคานาหน้าคาสามญั บางคาที่ ไม่มรี าชาศพั ท์ใช้ เช่น พระพกั ตร์ พระเศียร พระบาท พระเกา้ อี้ พระมาลา พระกระยาหาร
๒๓ การใช้ราชาศัพทค์ าข้นึ ต้นและลงท้าย ๑. “ขอเดชะฝุาละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ลงท้ายวา่ ดว้ ยเกล้าดว้ ยกระหมอ่ มขอเดชะ” ใช้ในโอกาสกราบบังคมทูลข้ึนก่อนเป็นครั้งแรก ๒. “พระพทุ ธเจ้าขา้ ขอรับใส่เกล้าใส่กระหมอ่ ม ข้าพระพุทธเจ้า...........ลงทา้ ยว่า ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหม่อม” ใชใ้ นโอกาสทมี่ ีพระราชดารสั ข้นึ กอ่ น ๓. “พระมหากรุณาธิคุณเป็นลน้ เกล้าล้นกระหมอ่ ม............หรอื พระเดชพระคุณ เปน็ ล้นเกล้าล้นกระหม่อม............ลงทา้ ยวา่ “ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหม่อม” ใชใ้ นโอกาสแสดง ความขอบคุณท่ีไดร้ บั ความชว่ ยเหลือ ๔. “เดชะพระบารมปี กเกล้าปกกระหม่อม หรือเดชะพระบรมเดชานุภาพภาพเปน็ ลน้ เกลา้ ล้นกระหม่อม............. ลงท้ายว่า ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม” ใชใ้ นโอกาสแสดงวา่ รอดพน้ อันตราย ๕. “พระราชอาญาไม่พน้ เกล้าพ้นกระหมอ่ ม หรือพระราชอาญาเป็นลน้ เกล้าล้น กระหม่อม………... ลงท้ายว่า ดว้ ยเกลา้ ดว้ ยกระหมอ่ ม” ใช้ในโอกาสกระทาผิดไป ๖. ไม่บังควรจะกราบบงั คมทูลพระกรณุ า................ หรอื ไม่ควรจะกราบบังคมทูล ให้ทรงทราบฝาุ ละอองธุลีพระบาท................ ลงท้ายวา่ ด้วยเกลา้ ด้วยกระหมอ่ ม ใชใ้ น โอกาสทจี่ ะต้องกลา่ วถึงของไมส่ ภุ าพ คากราบบงั คมทูลจะตอ้ งใช้ ฝาุ ละอองธุลีพระบาท ไม่ใช้ใตฝ้ ุาละอองธลุ พี ระบาท เพราะคาว่า ใต้ฝุาละอองธุลพี ระบาท เป็นคาสรรพนามมี ความหมายวา่ ทา่ น เทา่ น้ัน การใชค้ านามราชาศัพท์ ๑. คานามหมวดรา่ งกาย เช่น พระพักตร์ (หน้า) พระปราง (แก้ม) พระนาสกิ (จมูก) พระเนตร (ตา) พระหัตถ์ (มือ) พระเศียร (ศีรษะ) พระโสณี (ตะโพก) พระกรรณ (หู) พระโอษฐ์ (ปาก)
๒๔ ๒. คานามหมวดเครอ่ื งภาชนะใช้สอย และสิง่ ตา่ งๆ เชน่ พระสพุ รรณศรี (กระโถนเล็ก) พระสุพรรณราช กระโถนเล็ก) พระเต้า (หมอ้ น้า) พระพานพระศรี (หมากพาน) พระเต้าทักษิโณทกเศียร (หม้อกรวดนา้ ) ถาดพระสธุ ารส (ถาดนา้ ขา) ๓. คานามหมวดเคร่ืองใช้ เคร่ืองประดบั นาดว้ ย “ฉลอง” “พระ” เช่น ฉลองพระบาท (รองเท้า) ฉลองพระองค์ (เสือ้ ) ฉลองพระหัตถ์สอ้ ม (ส้อม) ฉลองพระหตั ถช์ อ้ น (ชอ้ น) พระแท่น (เตยี ง) พระยภ่ี ู่ (ท่ีนอน) พระภูษา (ผ้านุ่ง) พระกลด (ร่ม) พระทวาร (ประตู) พระสนบั เพลา (กางเกง) พระมาลา (หมวก) พระจุฑามณี (ผ้าเช็ดหนา้ ) พระเขนย (หมอนหนนุ ) พระแทน่ บรรทม (เตียงนอน) ๔. คานามขตั ตยิ ตระกลู เชน่ พระอยั กา (ปุ,ู ตา) พระอัยยิกา (ยา่ , ยาย) พระภคินี (พสี่ าว) พระเชษฐา (พีช่ าย) พระขนิษฐา (นอ้ งสาว) พระสัสสุระ (พอ่ ตา) พระปนัดดา (เหลน) พระอนุชา (น้องชาย) พระมาตุลา (ลุง) พระนัดดา (หลาน-ลูกของลูก) พระปิตลุ า (ลุง, พ่ขี องพ่อ) พระภาคิไนย (หลาน, ลูกพ่สี าว, น้องสาว) พระภัสดา, พระสวามี (สามี) พระภาตยิ ะ (หลาน, ลกู พ่ชี าย, น้องชาย) พระชนก พระบดิ ร พระบิดา (พ่อ) เราไปดคู าสรรพนาม ราชาศัพทก์ นั ดกี ว่า
๒๕ การใชค้ าสรรพนามราชาศพั ท์ ผูฟ้ งั สรรพนามสาหรับผู้พูด บรุ ษุ ท่ี ๑ บุรษุ ที่ ๑ บุรุษที่ ๑ พระมหากษัตรยิ ์สมเดจ็ ข้าพระพุทธเจ้า ใต้ฝุาละออง พระองค์ พระบรมราชนิ ีนาถ สมเดจ็ พระบรมราชินี ธุลพี ระบาท สมเดจ็ พระบรมราชนนี ข้าพระพทุ ธเจ้า ใต้ฝุาละออง พระองค์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกฎุ ราชกมุ าร ธุลีพระบาท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกฎุ ราชกุมาร ข้าพระพทุ ธเจ้า ใต้ฝุาพระบาท พระองค์ สมเดจ็ เจ้าฟูา เกล้ากระหมอ่ ม ฝุาพระบาท พระองค์ พระองคเ์ จา้ สมเด็จพระสงั ฆราช (ชาย) เกล้ากระหม่อม ทา่ น หม่อมเจา้ ฉัน (หญงิ ) กระหม่อม ฝุาพระบาท (ชาย) หมอ่ มฉนั (หญงิ )
๒๖ การใช้คาราชาศัพท์ใหถ้ กู ต้อง ๑. ใช้ “เฝา้ ฯ รับเสดจ็ ” หรือ “รบั เสดจ็ ” ไม่ใช้ถวายการตอ้ นรับใช้ “มีความ จงรกั ภักดี” หรอื “จงรักภักดี” ไม่ใช้ ถวายความจงรักภกั ดี ๒. อาคนั ตกุ ะ หมายถึง แขกทีม่ านนั้ เป็นแขกของประธานาธิบดี หรือแขกของ บคุ คลอ่ืนที่ไมใ่ ชพ่ ระมหากษัตริย์ประเทศใดประเทศหน่ึง ราชาอาคนั ตุกะ, พระราช อาคนั ตุกะ หมายถึง แขกของพระมหากษตั ริยป์ ระเทศใดประเทศหน่ึง ๓. ขอบใจ ใช้สาหรับสภุ าพชนเสมอกนั ผู้ใหญ่ใช้กบั ผนู้ อ้ ย พระราชวงศ์ ทรงใช้ กับคนสามญั และพระราชาทรงใชก้ ับประชาชน ขอบพระทยั ใช้สาหรบั คนสามัญกลา่ วกบั พระราชวงศ,์ พระราชวงศ์ทรงใชก้ บั พระราชวงศห์ รือพระราชาทรงใช้กับพระราชวงศ์ ๔. ในการถวายของแดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ถา้ เปน็ ของเล็ก ใชค้ าว่า “ทูลเกล้าฯ ถวาย” อา่ นวา่ ทูลเกล้า ทลู กระหมอ่ มถวาย ถา้ เป็นของใหญ่ ใชค้ าว่า “น้อมเกลา้ ฯ ถวาย” อา่ นว่า น้อมเกลา้ น้อม กระหม่อมถวาย ราชาศัพทส์ าหรับพระภกิ ษุ ไทยเรามคี าพูดท่ีใชก้ ับพระภิกษุ โดยเฉพาะอยปู่ ระเทศหน่งึ บางทีก็เป็นคาที่ พระภกิ ษเุ ปน็ ผใู้ ชเ้ อง ซงึ่ คนไทยสว่ นใหญจ่ ะรู้จกั กนั หมดแลว้ เชน่ คาว่า อาตมาภาพ หรอื อาตมา มคี วามหมาย เท่ากบั ฉัน บางคาก็ท่านใช้เองและเราใช้กบั ท่าน เชน่ คาว่า ฉนั หมายถงึ กนิ การพดู กบั ภิกษตุ ้องมสี มั มาคารวะ สารวมไมใ่ ชถ้ อ้ ยคาทีเ่ ปน็ ไปในทานองพูดเล่น หรือพูดลพลอ่ ยๆ ซึง่ จะเป็นการขาดความเคารพไปสาหรับพระภิกษุ เราจาเป็นตอ้ งทราบ ราชทินนาม เรียกพระภกิ ษผุ ้ทู รงสมณศกั ดิ์ ของพระภิกษเุ รยี งลาดบั ไดด้ ังนี้ ๑. สมเด็จพระสงั ฆราช ๒. สมเด็จพระราชาคณะ หรอื ชั้นสุพรรณปัฏ คือ พระภิกษุทีม่ รี าชทนิ นาม นาหนา้ ดว้ ยคาว่า “สมเดจ็ พระ”
๒๗ ๓. พระราชาคณะชั้นรอง ๔. พระราชาคณะช้ันธรรม พระราชาคณะชัน้ นีม้ กั มีคาวา่ “ธรรม” นาหน้า ๕. พระราชาคณะชนั้ เทพ พระราชาคณะช้นั นมี้ ักมคี าว่า “เทพ” นาหนา้ ๖. พระราชาคณะชัน้ ราช พระราชาคณะชั้นนม้ี กั มีคาวา่ “ราช” นาหนา้ ๗. พระราชาคณะชั้นสามัญ ๘. พระครสู ญั ญาบัติ, พระครูช้ันประทวน, ระครฐู านานกุ รม ๙. พระเปรียญตั้งแต่ ๓-๙ การใชค้ าพูดกับพระภิกษทุ รงสมณศักดิ์ ท่ีผิดกนั มากคือ ชน้ั สมเดจ็ พระราชาคณะ เหน็ จะเป็น เพราะมีคาวา่ “สมเด็จ” นาหน้าจึงเขา้ ใจว่าต้องใชค้ าราชาศัพท์ซึง่ ผิด ความ จรงิ แล้ว “พระภกิ ษทุ รงสมณศกั ดิ์ท่ตี อ้ งใช้ราชาศพั ทม์ เี ฉพาะเพียงสมเดจ็ พระสังฆราช” เทา่ นั้น เวน้ แตพ่ ระภกิ ษุรูปนั้นๆ ทา่ นจะมีฐานันดรศักดิท์ างพระราชวงศอ์ ย่แู ล้ว ไม่ยากเกนิ ไปใชไ่ หมเดก็ ๆ เราไปฝกึ ทากิจกรรมด้วยกนั นะ
๒๘ หนังสือสง่ เสริมการอา่ นจับใจความสาคัญ นิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาหรบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
๒๙ กจิ กรรมท่ี ๑ หนังสอื สง่ เสริมการอ่านจับใจความสาคญั นิทานคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เลม่ ที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนเติมคาราชาศัพท์ลงในชอ่ งว่างตอ่ ไปนี้ คะแนนเตม็ คะแนนทีไ่ ด้ เกณฑ์การประเมิน ๑๐ __________ ๘
๓๐ กจิ กรรมท่ี ๒ หนงั สอื ส่งเสรมิ การอา่ นจับใจความสาคญั นิทานคาไทยแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เล่มที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเลอื กคาทอ่ี ยใู่ นกรอบข้อความ และนามาเขียนลงในชอ่ งวา่ ง ให้ตรงกับบุคคล ตวั อย่าง อาตมา ๑. …………………………………………………………… ๒. …………………………………………………………… ๓. …………………………………………………………… ๔. …………………………………………………………… ๕. …………………………………………………………… ๖. …………………………………………………………… ๗. …………………………………………………………… ๘. …………………………………………………………… ๙. …………………………………………………………… ๑๐. ………………………………………………………… คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้ เกณฑ์การประเมิน ๑๐ __________ ๘
๓๑ กิจกรรมท่ี ๓ หนงั สอื สง่ เสริมการอา่ นจับใจความสาคญั นิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เลม่ ท่ี ๘ คาราชาศัพท์ คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเตมิ คาราชาศัพท์จากคาสามัญทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้ ตวั อยา่ ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชนิพนธ์ (แตง่ หนังสอื ) ๑. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว .............................. (ให้) ถงุ ยังชพี แก่ผปู้ ระสบภัยน้าทว่ ม ๒. สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ ............................. (ชอบ) ผลไมไ้ ทย ๓. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ............. (ไป) ............. (ชม) งานนิทรรศการที่หอสมดุ แห่งชาติ ๔. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ..............................(เกดิ ) ทีป่ ระเทศสหรฐั อเมรกิ า ๕. สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ...................... (มีเมตตา) ตอ่ ปวงชาวไทย ๖. สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ .......... (ดู) จิตรกรรมฝาพนังที่วัดพระแก้วอยา่ ง ......... (สนใจ) ๗. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ............................ (ถาม) ถึงอาการปุวยของชาวบา้ นทม่ี า รกั ษากับหนว่ ยแพทย์เคลื่อนท่ี ๘. เหล่านักเรยี นกาลัง ................ (ทาความเคารพ) ................ ตอ่ หน้า ............... (รปู ถ่าย) ของสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถเนื่องในวันแม่แหง่ ชาติ ๙. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ........................... (แต่งงาน) กับสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ๑๐. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ...................... (ห่วงใย) ในความเป็นอยู่ของพสกนกิ ร ทกุ ท้องถ่นิ ท่ัวราชอาณาจักร คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้ เกณฑก์ ารประเมนิ ๑๐ __________ ๘
๓๒ กิจกรรมท่ี ๔ หนงั สือสง่ เสรมิ การอ่านจับใจความสาคญั นทิ านคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เลม่ ที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชี้แจง ให้นักเรยี นฝึกทกั ษะการอ่านจับใจความสาคญั จากนิทานคาไทย จากน้นั เตมิ คาตอบลงในช่องวา่ ต่อไปน้ี ระบตุ ัวละครหรือผู้ทเี่ ก่ียวข้องได้ทัง้ หมด สง่ิ ทเ่ี กดิ ขึ้นในเร่ือง เหตผุ ลทที่ าใหเ้ กดิ เหตกุ ารณ์ สถานทีเ่ กดิ เหตุในเร่ือง ประเด็นสาคญั และ ข้อคิดที่ได้จากเร่ือง คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้ เกณฑ์การประเมนิ ๑๕ __________ ๑๒
๓๓ กจิ กรรมที่ ๕ หนังสือสง่ เสรมิ การอา่ นจับใจความสาคญั นิทานคาไทยแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เล่มที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นวงกลมคาราชาศัพทใ์ นกล่องปรศิ นาอกั ษรไขว้ พ ร ะ ย่ี ภู่ บ ย พ ข ช จ ง ผ้ ร ง เ ล า ดพ ร ะ บ า ทา ะ ว ค ง ข ช ง ะ พ ด อ อ ซั ท ย รื่ เ ค ต ถ โ ร ข พ ข บ ว บ อ ง ข ช ง อ ะ ค ร คพ า ข ง เ ว ส ช ส ธา ข ะ ข ร ร ค ท ง ข ช ง ถ ม ว อู่ ว ะ เ บ ร เ ค ต ถ เ ร ข ภ ข พั ด ห ง ฟ เ ค ต า ง ข ภ ขก ก ส้ ง ป ร ะ สู ติ ค์ ค น ค ต เ ค ต ฟ เ ค ต า ฟ เ ค ฝ ร์ ฉ ล อ ง พ ร ะ หั ต ถ์ ช้ อ น แ ก้ ว เ ส ว ย ฟ เ ค ต า ฟ
๓๔ ตัวอยา่ ง แก้วเสวย คาบุพบทท่ีพบมี __________ คา ไดแ้ ก่ ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ตง้ั ใจทากิจกรรมนะ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ เกณฑ์การประเมิน ๑๐ __________ ๘
๓๕ กจิ กรรมที่ ๖ หนงั สือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เลม่ ท่ี ๘ คาราชาศัพท์ คาช้ีแจง ให้นักเรียนหาคาราชาศัพท์ทีใ่ ชก้ ับพระมหากษตั ริย์ ตวั อย่าง รูปวาด ใชค้ าราชาศัพท์ว่า พระบรมฉายาสาทิสลกั ษณ์ ๑. กระจกส่องหน้า ใช้คาราชาศัพท์ว่า ............................. ๒. ข้าว ใช้คาราชาศพั ท์ว่า ............................. ๓. ไอ ใชค้ าราชาศพั ท์วา่ ............................. ๔. น้าสาหรับกรวด ใชค้ าราชาศพั ท์วา่ ............................. ๕. บงั สกุ ลุ ใช้คาราชาศพั ท์วา่ ............................. ๖. ตรา ใชค้ าราชาศพั ท์วา่ ............................. ๗. ลงลายมอื ชื่อ ใช้คาราชาศัพท์วา่ ............................. ๘. ผู้รบั ใชช้ ิมอาหาร ใชค้ าราชาศัพท์วา่ ............................. ๙. ทกั ทาย ใช้คาราชาศัพท์วา่ ............................. ๑๐. รูปถา่ ย ใชค้ าราชาศพั ท์ว่า ............................. คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑ์การประเมนิ ๑๐ __________ ๘
๓๖ กจิ กรรมท่ี ๗ หนงั สอื สง่ เสรมิ การอ่านจับใจความสาคัญนทิ านคาไทยแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เล่มท่ี ๘ คาราชาศัพท์ คาชแี้ จง ให้นักเรยี นเปลย่ี นคาท่กี าหนดใหต้ อ่ ไปนี้ เปน็ คาราชาศัพท์ที่ใช้กบั พระราชา และพระสงฆ์ คาศัพท์สามัญ คาราชาศัพทส์ าหรบั พระราชา คาราชาศัพทส์ าหรบั พระสงฆ์ เสวย ฉนั ตัวอยา่ ง กนิ ๑. นอน ๒. ปุวย ๓. ตาย ๔. ลา ๕. เชิญ ๖. เกดิ ๗. ผม ๘. ให้ ๙. ตัดผม ๑๐. อาบนา้ คะแนนเตม็ คะแนนท่ไี ด้ เกณฑ์การประเมิน ๑๐ __________ ๘
๓๗ กิจกรรมที่ ๘ หนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคัญนทิ านคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เล่มท่ี ๘ คาราชาศัพท์ คาช้ีแจง ให้นกั เรียนสืบค้นคาราชาศัพท์และบอกความหมายให้ถูกตอ้ ง ตัวอยา่ ง คาศัพท์ พระพักตร์ ความหมาย หนา้ คาศัพท์................ คาศัพท์................ ความหมาย ความหมาย ..................................... ..................................... คาศพั ท์................ คาศัพท์................ ความหมาย ความหมาย ..................................... ..................................... คาศัพท.์ ............... คาศัพท.์ ............... ความหมาย ความหมาย ..................................... .....................................
คาศพั ท.์ ............... ๓๘ ความหมาย คาศพั ท.์ ............... ..................................... ความหมาย คาศพั ท์................ ..................................... ความหมาย คาศัพท.์ ............... ..................................... ความหมาย ..................................... ขอใหโ้ ชคดีทุกคนนะ คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ เกณฑ์การประเมนิ ๑๐ __________ ๘
๓๙ แบบทดสอบหลงั เรยี น หนังสือสง่ เสริมการอา่ นจับใจความสาคัญนทิ านคาไทยแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่มที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นทาเครอ่ื งหมาย () กากบาททับหน้าคาตอบข้อท่ถี กู ตอ้ งทีส่ ดุ ๑. “พระภกิ ษุป่วย” ควรใช้คาในขอ้ ใดใหถ้ กู ต้อง ข. จับไข้ ก. อาพาธ ง. ประชวร ค. เปน็ ไข้ ๒. ตวั เลือกในขอ้ ใดเปน็ คาสุภาพท่ีใช้เรยี กผักตบชวา ก. ผกั สามหาว ข. ผักริมนา้ ค. ผกั แพ ง. ผกั ทอดยอด ๓. “สุกร” เปน็ คาสภุ าพท่ีใช้เรยี กสัตว์ชนดิ ใด ข. แกะ ก. สนุ ขั ง. ไก่ ค. หมู ๔. “การนง่ั ” มกี ารใช้คาราชาศัพท์วา่ อย่างไร ข. เสดจ็ ก. ทรงงาน ง. ประชวร ค. ประทับ ๕. “สวมเสอ้ื ” ควรใชค้ าราชาศัพท์ว่าอย่างไร ข. ทองกร ก. ประพาส ง. ฉลองพระองค์ ค. นิวัต
๔๐ ๖. “พระสงฆ์ออก (รบั ของใสบ่ าตร) ในตอนเช้าทุกวัน” มีการใช้คาศพั ทว์ ่าอยา่ งไร ก. ฉนั ข. ทาวัตร ค. จาพรรษา ง. บณิ ฑบาต ๗. “หลวงลงุ ทีว่ ัดข้างบ้าน (ตาย) เม่อื วานน”ี้ มกี ารใช้คาศัพท์ว่าอย่างไร ก. ฉัน ข. มรณภาพ ค. จาพรรษา ง. ทาวตั ร ๘. “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว..............หนังสือเรอ่ื ง “ทองแดง” ควรใช้คาราชาศัพท์ ว่าอยา่ งไร ก. เสด็จฯ ข. ผนวช ค. ทรงกระทายุทธหตั ถี ง. ทรงพระราชนพิ นธ์ ๙. “วันปยิ มหาราชเปน็ วันคลา้ ยวัน.............ของรชั กาลที่ ๕” ใชค้ าราชาศัพทว์ ่าอย่างไร ก. ผนวช ข. ทรงพระทรงยุทธหตั ถี ค. สวรรคต ง. ราชสมภพ ๑๐. คาวา่ “ข้ีควาย” ควรใช้คาสุภาพทถ่ี ูกต้องได้ตามข้อใด ก. มูล ข. กนิ ค. ถ่าย ง. ดมื่ ขอใหโ้ ชคดที กุ คนนะ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑ์การประเมนิ ๑๐ __________ ๘
๔๑
๔๒ เฉลยกิจกรรมท่ี ๑ หนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ นจับใจความสาคญั นิทานคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ เลม่ ที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชแี้ จง ให้นักเรียนเตมิ คาราชาศพั ท์ลงในชอ่ งว่างต่อไปน้ี พระเศยี ร พระเนตร พระกรรณ พระนาสิก พระทนต์ พระศอ พระอรุ ะ พระอทุ ร พระกร พระชานุ พระชงฆ์ พระนาสิก พระบาท
๔๓ เฉลยกิจกรรมที่ ๒ หนงั สือสง่ เสริมการอ่านจับใจความสาคัญนทิ านคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เล่มท่ี ๘ คาราชาศัพท์ คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาทีอ่ ย่ใู นกรอบขอ้ ความ และนามาเขยี นลงในช่องวา่ ง ให้ตรงกับบุคคล ๑. อปุ สมบท ๒. นมสั การ ๓. นิมนต์ ๔. ประเครน ๕. ฉนั ๖. พระราชดารัส ๗. เสวย ๘. พระราชโองการ ๙. สวรรคต ๑๐. พระบรมราโชวาท
๔๔ เฉลยกิจกรรมท่ี ๓ หนังสอื สง่ เสริมการอา่ นจับใจความสาคัญนทิ านคาไทยแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เล่มที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นเติมคาราชาศัพท์จากคาสามัญท่ีกาหนดให้ต่อไปนี้ ๑. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ถุงยังชีพแก่ ผปู้ ระสบภัยนา้ ท่วม ๒. สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ ทรงโปรด ผลไม้ไทย ๓. สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ ทรงเสด็จทอดพระเนตร งานนิทรรศการท่หี อสมดุ แหง่ ชาติ ๔. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ทรงพระราชสมภพ ท่ีประเทศสหรัฐอเมรกิ า ๕. สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงพระเมตตา ต่อปวงชาวไทย ๖. สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ ทรงทอดพระเนตร จิตรกรรมฝาพนงั ทีว่ ัดพระแกว้ อย่าง สนพระทยั ๗. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ทรงพระราชปุจฉา ถงึ อาการปุวยของชาวบ้านทมี่ า รักษากบั หน่วยแพทย์เคลื่อนท่ี ๘. เหลา่ นักเรยี นกาลัง ถวายความเคารพ ตอ่ หนา้ พระฉายาลักษณ์ ของสมเด็จพระ นางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถเนื่องในวนั แมแ่ หง่ ชาติ ๙. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงอภเิ ษกสมรส กับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ๑๐. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ทรงห่วงใย ในความเปน็ อยู่ของพสกนิกรทุกท้องถน่ิ ทั่ว ราชอาณาจักร
๔๕ เฉลยกิจกรรมที่ ๔ หนังสอื สง่ เสริมการอ่านจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เลม่ ที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชี้แจง ให้นกั เรยี นฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญจากนิทานคาไทย จากนนั้ เติมคาตอบลงในช่องวา่ ต่อไปนี้ แบบประเมนิ การรว่ มกจิ กรรม ผู้ประเมิน นกั เรียน เพอื่ น ครู คาช้ีแจง ให้ทาเครื่องหมายถกู ตอ้ ง ลงในชอ่ งว่างระดับคะแนนทตี่ รงกบั ความเป็นจริง มากทสี่ ดุ โดยจดั ระดับคณุ ภาพเป็น ๓ ระดับ ตามเกณฑ์ต่อไปน้ี ๓ หมายถงึ ระดบั ดี ๒ หมายถึง ระดับพอใช้ ๑ หมายถึง ระดับควรปรับปรุง รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ๓๒๑ ๑. ระบุตัวละครหรือผู้ท่เี กี่ยวขอ้ งไดท้ ั้งหมด ๒. อธิบายถึงสิง่ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในเร่ือง ๓. อธิบายเหตุผลท่ีทาให้เกดิ เหตุการณ์ขึ้น ๔. ระบสุ ถานทเี่ กดิ เหตุในเรอ่ื ง ๕. สรุปประเดน็ สาคญั และข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากเรื่อง คะแนนรวมแตล่ ะชอ่ ง สรปุ คะแนนที่ได้ (หารด้วยสอง) เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ๘๐ ผลการประเมนิ นกั เรยี นได้คะแนน ๘ คะแนนข้นึ ไป จึงถือวา่ ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน
๔๖ เฉลยกิจกรรมท่ี ๕ หนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความสาคญั นทิ านคาไทยแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ เลม่ ที่ ๘ คาราชาศัพท์ คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นวงกลมคาราชาศพั ท์ในกลอ่ งปรศิ นาอกั ษรไขว้ พ ร ะ ยี่ ภู่ บ ย พ ข ช จ ง ผ้ ร ง เ ล า ดพ ร ะ บ า ทา ะ ว ค ง ข ช ง ะ พ ด อ อ ซั ท ย ร่ื เ ค ต ถ โ ร ข พ ข บ ว บ อ ง ข ช ง อ ะ ค ร คพ า ข ง เ ว ส ช ส ธา ข ะ ข ร ร ค ท ง ข ช ง ถ ม ว อู่ ว ะ เ บ ร เ ค ต ถ เ ร ข ภ ข พั ด ห ง ฟ เ ค ต า ง ข ภ ขก ก ส้ ง ป ร ะ สู ติ ค์ ค น ค ต เ ค ต ฟ เ ค ต า ฟ เ ค ฝ ร์ ฉ ล อ ง พ ร ะ หั ต ถ์ ช้ อ น แ ก้ ว เ ส ว ย ฟ เ ค ต า ฟ คาราชาศัพท์ทพี่ บมี ๑๐ คา ได้แก่ พระย่ีภู่ ฉลองพระหตั ถ์ช้อน ประสตู ิ ลาดพระบาท เครอ่ื งทรง พระทวารเดก พระโอสถ พระธามรงค์ พระอู่ ผา้ ซับพระพกั ตร์
๔๗ เฉลยกิจกรรมที่ ๖ หนังสอื สง่ เสรมิ การอา่ นจับใจความสาคัญนทิ านคาไทยแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เล่มท่ี ๘ คาราชาศัพท์ คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นหาคาราชาศัพท์ทใี่ ชก้ ับพระมหากษตั รยิ ์ ๑. กระจกสอ่ งหน้า ใช้คาราชาศัพท์ว่า พระฉาย ๒. ข้าว ใชค้ าราชาศัพท์วา่ พระเสวย ๓. ไอ ใชค้ าราชาศพั ท์วา่ ทรงพระกรรสะ ๔. กรวดนา้ ใชค้ าราชาศพั ท์ว่า หลัง่ น้า ๕. บงั สุกลุ ใชค้ าราชาศพั ท์วา่ ทรงสดับปกรณ์ ๖. ตรา ใชค้ าราชาศพั ท์วา่ ประทบั ๗. ลงลายมือชอื่ ใช้คาราชาศพั ท์วา่ ลงลายมือชือ่ ๘. อาหาร ใช้คาราชาศพั ท์วา่ เครื่องเสวย ๙. ทักทาย ใชค้ าราชาศัพท์วา่ ปราศรยั ๑๐. รูปถ่าย ใช้คาราชาศพั ท์ว่า พระบรมฉายาลกั ษณ์ ตอบถกู ทุกข้อไหมคะ่
๔๘ เฉลยกิจกรรมที่ ๗ หนังสือส่งเสริมการอา่ นจับใจความสาคัญนิทานคาไทยแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ เลม่ ท่ี ๘ คาราชาศัพท์ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนเปล่ยี นคาท่ีกาหนดให้ต่อไปนี้ เป็นคาราชาศัพท์ที่ใช้กบั พระราชา และพระสงฆ์ คาศัพท์สามัญ คาราชาศัพท์สาหรับพระราชา คาราชาศัพทส์ าหรบั พระสงฆ์ ตัวอยา่ ง เสวย ฉนั กนิ บรรทม จาวัด ทรงพระประชวร อาพาธ ๑. นอน สวรรคต มรณภาพ ๒. ปุวย ถวายบังคมลา นมสั การลา ๓. ตาย กราบทูลเชิญ นิมนต์ ๔. ลา ทรงพระราชสมภพ ชาตะ ๕. เชญิ เสน้ พระเจ้า เกศา ๖. เกดิ พระราชทาน ถวาย ๗. ผม ทรงพระเคร่อื งใหญ่ ปลงผม ๘. ให้ สรงน้า สรง ๙. ตัดผม ๑๐. อาบน้า
Search