Education 4.0 In Active Learning นายชวลิต พิศาลชัยกุล รหัสนสิ ติ 59206967 นางพชั รี ทเี กง่ รหัสนิสติ 59206990 นางสาวสกุลกานต์ โกสีลา รหสั นิสิต 59207047 นายวรุตม์ พรหมลังกา รหัสนิสิต 59207025 เสนอ ดร.วลิ าวัลย์ สมยาโรนรายวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา[Innovation and Information Technology]สาขาวิชาการศกึ ษา วิทยาลัยการศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา
Education 4.0 in Active Learning คำนำ การจดั การเรียนการสอนในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 เป็นวิสยั ทัศนเ์ ชงิ นโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดลพฒั นา เศรษฐกจิ ของรัฐบาล ภายใต้การนำของพลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชานายกรัฐมนตรแี ละหวั หน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ทเี่ ขา้ มาบริหารประเทศบนวสิ ัยทศั น์ทว่ี า่“มั่นคง ม่ังคง่ั และยัง่ ยืน” ท่ีมภี ารกิจสำคญั ในการขับเคลือ่ นปฏิรปู ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ ปรบั แก้จัดระบบ ปรับทศิ ทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศใหเ้ จรญิ สามารถรับมอื กับโอกาสและภยั คุกคามแบบใหม่ ๆ ที่เปลย่ี นแปลงอยา่ งเร็วในศตวรรษท่ี 21 ได้ โดยการจัดการเรียนการสอนในยุคไทยแลนด์ 4.0น้นั เปน็ การนำการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning เข้ามาใช้ในกระบวนการ โดยเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การเรียนการสอน เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนไดม้ ที กั ษะในการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะหไ์ ดด้ ว้ ยตนเอง เพื่อเปน็ ประโยชน์ในระยะยาวแก่ตัวผเู้ รียนเอง (Long term memory) ทางผ้จู ดั ทำหวังเป็นอยา่ งยงิ่ วา่ รายงานฉบับนจี้ ะเป็นประโยชน์แกผ่ ู้ทตี่ อ้ งการศกึ ษา การจดั การเรียนการสอนในยุคไทยแลนด์ 4.0 ได้ไมม่ ากก็นอ้ ย ผ้จู ัดทำ
Education 4.0 in Active Learning สารบญั หวั ข้อ หนา้ ความหมาย Thailand 4.0..................................................................................................................... 1 การปฏริ ปู การศกึ ษาไทยสู่ผลลพั ธ์THAILAND 4.0 ................................................................................... 2 ความหมาย ACTIVE LEARNING................................................................................................................. 3 กรณีตวั อยา่ ง “ภาพสงู มมุ สวยดว้ ยมือเรา” กับ Active Learning .............................................. 4 กรณตี วั อย่าง “ห้องเรยี นสะอาดและสวยด้วยอันใด กับ Active Learning ................................. 5 กรณตี วั อยา่ ง “หอ้ งเรยี นสะอาดและสวยดว้ ยอันใด” แนว STEM Education ........................... 6 กรณตี วั อย่าง “ภาพสงู มมุ สวยด้วยมอื เรา” แนว STEM Education .......................................... 7 กรณตี วั อยา่ งหน่วยการเรยี นรู้ “ผลิตภัณฑป์ ลา วิถีใหมไ่ ทอสี าน” ............................................... 8 การขบั เคล่อื นนโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้” ............................................................................. 9 กญุ แจสำคัญของการเข้าถึงผลลพั ธ์ Thailand 4.0 .............................................................................10 บรรณานกุ รม.......................................................................................................................................11
Education 4.0 in Active Learningความหมาย Thailand 4.0 Thailand 4.0 คือ Model การพัฒนาเศรษฐกิจ ภายใตก้ ารบริหารประเทศไทยของรฐั บาลพลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) บนวิสัยทัศนภ์ ายใน 5-6 ปี ท่รี ะบุว่า “มัน่ คง มง่ั คงั่ ยัง่ ยืน” ใหเ้ ปน็ ประเทศท่มี เี ศรษฐกิจใหม่ (New Enginesof Growth) มรี ายไดส้ งู จากเศรษฐกจิ ท่ีขับเคล่ือนดว้ ยนวัตกรรม (Value Based Economy) Value Based Economy คือ การขับเคล่ือนเศรษฐกิจ แนวใหม่ท่เี ปลี่ยนจากการผลติ สินค้า“โภคภณั ฑ์” ไปสู่สนิ ค้าเชงิ “นวัตกรรม” เปลย่ี นจากการขบั เคลือ่ นประเทศดว้ ยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลอ่ื นด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม และเปลีย่ นจากการเน้นภาคการผลิตสนิ คา้ ไปสกู่ ารเน้นภาคบริการมากข้นึ Thailand 4.0 พฒั นาเรอ่ื งสำคัญ 5 กล่มุ ดังนี้ 1. กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ 2. กลุ่มสาธารณสขุ สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ 3. กลุ่มเคร่ืองมือ อุปกรณ์อจั ฉริยะ หนุ่ ยนต์ และระบบเคร่ืองกลทใ่ี ชร้ ะบบอเิ ลก็ ทรอนิกสค์ วบคุม 4. กลมุ่ ดิจิตอล เทคโนโลยอี นิ เตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคบั อปุ กรณต์ ่างๆปญั ญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยสี มองกลฝังตวั 5. กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วฒั นธรรม และบรกิ ารทมี่ ีมูลคา่ สูง176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา (Innovation and Information Technology) 1
Education 4.0 in Active Learningการปฏิรูปการศกึ ษาไทยสู่ผลลัพธ์Thailand 4.0 มแี นวทางอยา่ งไร กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดก้ ำหนดกรอบแนวคดิ เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏบิ ัติการปฏิรูปการศกึ ษาไทยสูผ่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 ท่คี รอบคลมุ ภารกจิ การจดั การศกึ ษาใน 4 องคก์ รหลกั ท่ีมีกรอบบทบาทหน้าท่ี เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การเรียนรสู้ ่คู ณุ ภาพผู้เรยี นใหเ้ ปน็ พลเมืองไทย 4.0 ไดแ้ ก่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา(สอศ.) และสำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สกอ.) โดยให้ทุกองค์กร จดั การศึกษาใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทด่ี ี ตามระดบั หลักสูตรและเกดิ ผลลพั ธ์ในเปา้ หมายการขับเคลื่อนประเทศโมเดล Thailand 4.0 ดังนนั้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน(สพฐ.) จำเป็นต้องส่งเสรมิ สถานศึกษาให้จัดการเรียนร้ตู ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพในผลผลติ ที่ดีและเกดิ ผลลพั ธใ์ นเป้าหมายการขบั เคลอ่ื นประเทศโมเดล Thailand 4.0 ด้วยนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้แนว Active Learning ที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 2
Education 4.0 in Active LearningActive Learning Active Learning คอื กระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนไดล้ งมอื กระทำและไดใ้ ช้กระบวนการคิดเก่ยี วกบั สง่ิ ทเี่ ขาได้กระทำลงไป หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พ้นื ฐานพุทธศกั ราช 2551 เปน็หลกั สตู รแบบองิ มาตรฐาน (Standards-based curriculum) ท่มี มี าตรฐานเป็นเปา้ หมาย ในการพัฒนาผู้เรยี นและเป็นกรอบทิศทางในการกำหนดโครงสรา้ ง เน้อื หา กิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนการวดัและประเมินผลการเรยี นร้จู ากหลกั สูตรระดับชาตจิ นถงึ หลกั สตู รระดบั ชน้ั เรียน ซง่ึ การจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สูตรระดบั ชน้ั เรยี น จะตอ้ งจดั การเรยี นการสอนใหอ้ ิงมาตรฐาน (Standards-basedinstruction) และการประเมินผลจะต้อง อิงมาตรฐาน(Standards-based assessment) Active Learning สู่หลกั สูตรระดบั ชัน้ เรียน จะปรากฏชัดเจนในหนว่ ยการเรยี นรู้และแผนการจดั การเรยี นรทู้ ค่ี รูออกแบบไว้สำหรับการจัดการเรียนรู้ โดยแตล่ ะหน่วยการเรียนรจู้ ะมเี ปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รยี นท่ีกำหนดไวใ้ นตวั ชีว้ ัดชั้นปี ที่มุ่งใหผ้ เู้ รียนเกดิ ท้ังความรู้/ความคดิ รวบยอด (K : Knowledge)ทกั ษะ/การปฏบิ ตั ิ (P : Performance) และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (Desirable Characteristic) หรอืคุณลักษณะ (A : Attribute)176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 3
Education 4.0 in Active Learningตวั ช้วี ัดช้ันปีชี้ตำแหนง่ Active Learning ส่งิ ที่ได้ปฏบิ ตั จิ รงิกรณตี ัวอยา่ งหน่วยการเรียนรู้ “มุมสูงภาพสวยดว้ ยมือเรา ตัวช้วี ดั ชน้ั ปี ตวั ชีว้ ดั ชัน้ ปี ว 7.2 ป.6/1 สืบค้น อภิปราย ง 3.1 ป.6/2 ใชค้ อมพิวเตอร์ ความกา้ วหนา้ และประโยชน์ ในการค้นหาข้อมลู ของเทคโนโลยี อวกาศ กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ แนว Active Learning แนว Passive Learning คอื ใชค้ อมพิวเตอรส์ ืบคน้ ความรู้ คือ อา่ นหนงั สือ อา่ นใบความรู้ แนว Active Learning ตวั ชีว้ ัดชนั้ ปี ค 3.2 ป.6/3 เขยี นแผนผงั แสดง คอื สบื ค้นความรู้ ตำแหน่งของสิง่ ตา่ งๆและแผนผงั จากการใช้คอมพวิ เตอร์ แสดงเส้นทางการเดนิ ทาง ค 6.1 ป.6/2 ใชค้ วามรู้ ทักษะตวั ชวี้ ัดชัน้ ปี และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ว 8.1 ป.6/3 เลอื กอุปกรณ์และวธิ ีการ และเทคโนโลยีในการแก้ปญั หาสารวจ ตรวจสอบ ทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสม ในสถานการณ์ตา่ งๆได้อย่างเหมาะสมให้ได้ผลท่คี รอบคลุมและเชือ่ ถือได้ ง 3.1 ป.6/5 ใช้คอมพิวเตอรช์ ่วยสรา้ งกจิ กรรมการเรียนรู้ ชิน้ งานจากจนิ ตนาการหรอื งานที่ทาแนว Active Learning คือ เลือก ในชวี ิตประจาวนั อยา่ งมีจิตสำนกึ และมีความรบั ผดิ ชอบ อปุ กรณ์ทำการถ่ายภาพมุมสงู กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนว Active Learning คอื ใชค้ อมพวิ เตอร์สรา้ งช้ินงาน “ภาพมมุ สงู โรงเรยี นของเรา”176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา (Innovation and Information Technology) 4
Education 4.0 in Active Learning Active Learning สู่ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 กรณตี วั อยา่ งหน่วยการเรียนรู้ “ห้องเรยี นสะอาดและสวยด้วยอันใดตวั ชว้ี ดั ชนั้ ปี ค 6.1 ป.3/2 ใช้ความรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการแก้ปญั หา ในสถานการณต์ า่ งๆได้อยา่ งเหมาะสมตวั ชี้วัดช้นั ปี ว 2.1 ป.3/1 สำรวจส่งิ แวดลอ้ มในทอ้ งถ่ินของตนและอธิบายความสัมพันธข์ องส่งิ มีชีวิตกับ ส่ิงแวดลอ้ มสิง่ แวดลอ้ ม พ 4.1 ป.3/1 อธบิ ายการตดิ ตอ่ และวิธีการปอ้ งกันและแพรก่ ระจายของโรคตัวชว้ี ดั ชั้นปี ว 2.2 ป.3/3 อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัด คมุ้ คา่ และมี สว่ นร่วมในการปฏบิ ตั ิการตัวช้วี ดั ชั้นปี ว 8.1 ป.3/2 วางแผนการสงั เกต เสนอวธิ ี สำรวจ ตรวจสอบ ศกึ ษาคน้ ควา้ โดยใช้ความคดิ ของตนเอง ของกลุม่ และคาดการณ์ส่งิ ทจ่ี ะพบจากการสำรวจตรวจสอบตวั ชี้วัดชน้ั ปี ง 3.1 ป.3/1 คน้ หาขอ้ มลู อยา่ งมขี ้ันตอน และนำเสนอข้อมลู ในลักษณะตา่ งๆตวั ชี้วดั ชน้ั ปี ค 2.2 ป.3/3 อ่านและเขยี นบนั ทกึ กจิ กรรมหรอื เหตุการณ์ที่ระบเุ วลา ค 6.1 ป.3/6 มีความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 5
Education 4.0 in Active Learning Active Learning กบั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ แนว STEM Education กรณีตัวอยา่ งหน่วยการเรียนรู้ “ห้องเรยี นสะอาดและสวยด้วยอนั ใด” กิจกรรมแนว STEM Education เปน็ กจิ กรรมทีส่ ะทอ้ น Active Learning ไดช้ ดั เจน ผลผลิตและลัพธ์ที่เกิดจากการเรียนรู้ จะไดค้ ุณภาพผ้เู รียนตามโมเดล Thailand 4.0 คอื เปน็ ผู้ทมี่ ีความรดู้ ี มีความสามารถสงู และมคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ จนสามารถสร้าง นวัตกรรม ท่นี ำมาใชแ้ ล้วเกดิ คุณคา่ กับคณุ ภาพชีวิตได้ มีขนั้ ตอนการเรยี นรู้ 6 ขัน้ ตอน ดงั น้ี ขั้นตอนท่ี 1 ระบปุ ญั หาในชีวิตจริงทพ่ี บหรือนวัตกรรมทตี่ อ้ งการพฒั นา ………เราจะทำอย่างไร หอ้ งเรยี นของเราจงึ จะมคี วามสะอาด และสวยงามอยูเ่ สมอ น่าอยู่ น่าเรยี น และมีความสขุ สามัคคี ในหมคู่ ณะนักเรียนของเรา…… ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับปัญหาหรือนำไปสูก่ าร พัฒนานวัตกรรมนั้น ข้นั ตอนที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยเชอื่ มโยงความรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมและคณติ ศาสตร์ ขัน้ ตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ัญหาหรือพฒั นานวัตกรรม ขัน้ ตอนที่ 5 ทดสอบประเมนิ ผล และปรับปรงุ แกไ้ ขวธิ ีการแก้ปัญหาหรือ พัฒนานวัตกรรมได้ ขน้ั ตอนท่ี 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปญั หา ผลการแกป้ ญั หาหรอื ผลของนวตั กรรม ท่ีพัฒนาได้176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 6
Education 4.0 in Active Learning Active Learning กบั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ แนว STEM Education กรณตี วั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ “ภาพสูงมุมสวยดว้ ยมือเรา” ขน้ั ตอนท่ี 1 ระบปุ ัญหาในชวี ติ จริงทพี่ บหรือนวัตกรรมทีต่ ้องการพัฒนา ......เราจะทำอยา่ งไร โรงเรียนของเราจงึ จะมี “ภาพมุมสงู โรงเรียนของเรา” ท่ดี แู ลว้ สวยงามสำหรับประชาสัมพันธ์ทศั นียภาพของโรงเรียน…… ขน้ั ตอนท่ี 2 รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ทีเ่ กยี่ วข้องกับปัญหาหรอื นำไปสกู่ าร พฒั นานวัตกรรมนนั้ ขัน้ ตอนท่ี 3 ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหาโดยเช่ือมโยงความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง วิศวกรรมและคณิตศาสตร์ ขน้ั ตอนที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ญั หาหรือพัฒนานวตั กรรม ขน้ั ตอนท่ี 5 ทดสอบประเมินผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวธิ ีการแก้ปญั หาหรอื พัฒนานวัตกรรมได้ ขนั้ ตอนที่ 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปัญหา ผลการแกป้ ญั หาหรือผลของนวัตกรรม ที่พัฒนาได้176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 7
Education 4.0 in Active Learning Active Learning กับ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนว STEM Education กรณตี ัวอย่างหนว่ ยการเรยี นรู้ “ผลิตภณั ฑ์ปลา วิถีใหมไ่ ทอีสาน” ข้ันตอนที่ 1 ระบุปญั หาในชวี ติ จริงทีพ่ บหรือนวัตกรรมทต่ี ้องการพัฒนา ………โรงเรียนของเราตอ้ งการพัฒนานวตั กรรมเชิงผลติ ภณั ฑ์ ภายใต้ กรอบแนวคดิ “ผลิตภัณฑ์ปลา วิถใี หม่ไทอสี าน” ทบี่ รโิ ภคแลว้ ปลอดภยั จากโรคโดยเฉพาะโรคพยาธิใบไมต้ ับ และมะเร็งทอ่ นำ้ ดี……… ข้นั ตอนท่ี 2 รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ท่เี กย่ี วข้องกับปัญหาหรือนำไปสู่ การพฒั นานวตั กรรมนน้ั ขน้ั ตอนท่ี 3 ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หาโดยเช่ือมโยงความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมและคณิตศาสตร์ ขน้ั ตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ญั หาหรือพัฒนานวตั กรรม ขัน้ ตอนท่ี 5 ทดสอบประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แก้ไขวิธีการแกป้ ัญหา หรอื พฒั นานวตั กรรมได้ ข้นั ตอนที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแกป้ ญั หาหรอื ผลของนวัตกรรม ที่พฒั นาได้176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 8
Education 4.0 in Active Learning การนำ Active Learning ไปเสรมิ ประสทิ ธิภาพ การขบั เคล่ือนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลาร”ู้ นโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลาร”ู้ เป็นนโยบายท่กี ระตุ้นให้สถานศึกษา โดยครผู ู้สอน ต้องออกแบบกจิ กรรมให้มีความเช่อื มโยงระหวา่ งกจิ กรรมลดเวลาเรียนและกจิ กรรมเพ่มิ เวลารู้ โดยกจิ กรรมลดเวลาเรียน เปน็ การจัดการเรยี นร้เู พื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มีความรู้ ความสามารถ ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัด ของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ลี ดบทบาทผ้สู อนในการบรรยายหรอื ใหค้ วามรู้เปน็ การจัดการเรยี นรู้ทใี่ หผ้ เู้ รียน ได้เรยี นรูด้ ว้ ยการลงมือปฏบิ ตั จิ ริง (ActiveLearning) และกจิ กรรมเพมิ่ เวลารเู้ ปน็ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยเน้นเปา้ หมายหลกั 4H ได้แก่กิจกรรมท่มี งุ่ พัฒนาสมอง (Head) กจิ กรรมที่ม่งุ พฒั นาจติ ใจ (Heart) กจิ กรรมทม่ี ุง่ พฒั นาทกั ษะการปฏบิ ัติ(Hand) และกิจกรรม ทม่ี ุ่งพัฒนาสุขภาพ (Health) ซง่ึ ผู้เรยี นจะได้ฝกึ ทกั ษะและเสรมิ สรา้ งคณุ ลกั ษณะอนัพงึ ประสงคท์ เ่ี ชอื่ มโยงจากกิจกรรมลดเวลาเรียน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใ้ หม้ ีความเชอื่ มโยงระหว่างกิจกรรมลดเวลาเรียนและกจิ กรรมเพ่ิมเวลารู้ ผู้สอนสามารถเชอ่ื มโยงการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในชว่ งลดเวลาเรยี น จากตวั ชี้วดั ชน้ั ปีในแตล่ ะรายวิชาท่ีมงุ่ ให้ผเู้ รียนเกดิ ทัง้ ความรู้/ความคิดรวบยอด (K : Knowledge) ทกั ษะ/การปฏิบัติ(P : Performance) และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (Desirable Characteristic) หรือ คณุ ลกั ษณะ(A : Attribute) สกู่ ารจดั กิจกรรมเพิม่ เวลาร้ทู ีใ่ ห้ผเู้ รยี นไดป้ ฏิบัติ (Active Learning) ตามความถนดั ความสนใจจากการได้มี สว่ นรว่ มในประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับชวี ิตจริง ยกตวั อยา่ ง กรณีพฒั นาทักษะการคดิข้ันสงู จากการลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ การทำงานสามารถพฒั นาเปน็ อาชพี หรอื เลือกแนวทางการศึกษา ต่อในระดับทีส่ ูง และเกิดคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคท์ พี่ ร้อมสู่การเปน็ พลเมืองที่มคี ุณภาพในยุคแหง่ ศตวรรษท่ี21 ภายใต้โมเดล Thailand 4.0 ดังความชดั เจนท่ีนำเสนอในภาพกรอบ แนวคดิ แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งกิจกรรมลดเวลาเรียนและเพ่มิ เวลารู้176723 | นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา (Innovation and Information Technology) 9
Education 4.0 in Active Learning การเชอ่ื มโยงหลกั สูตร : Curriculum Alignment กุญแจสำคญั ของการเข้าถงึ ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 แผนภมู นิ ี้ เป็นแผนภูมิแสดงความสอดคลอ้ งเช่ือมโยงของหลกั สตู ร (Curriculum Alignment)ระหวา่ งหลกั สูตรการเรยี นการสอนและการประเมิน แบบองิ มาตรฐานการเรียนรู้ ของแฮร์รสิ , ดักลาส อีซ่ึงรงุ่ นภา นตุ ราวงศ์ (2545 : 18) ไดแ้ ปลและเขียนไว้ในหนงั สอื หลักสูตรมาตรฐานแห่งชาติ สู่ชนั้ เรยี นโดยกรมวชิ าการได้จัดพิมพ์และสง่ ให้สถานศกึ ษาทุกแหง่ เมอ่ื ปีการศึกษา 2546 จากแผนภูมิแสดงให้เห็นวา่ หลักการเช่อื มโยงหลักสูตรจะรับประกันคณุ ภาพผลผลิตของระบบหลักสตู ร คอื การบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ช้ันปี ของผู้เรยี นทกุ คน ซ่งึ ในแผนภูมินี้ อธิบายให้เหน็ วา่ เมื่อออกแบบหน่วยการเรยี นรูท้ ี่มีมาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชี้วดั ช้ันปี ระบุผลลัพธ์ Thailand 4.0“ผู้เรยี นคดิ ได้ ทำได้อยา่ ง สรา้ งสรรค”์ การจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมนิ ผลต้องสะทอ้ นผลลพั ธ์ Thailand 4.0 “ผเู้ รียน คิดได้ ทำได้ อยา่ งสรา้ งสรรค์” ด้วย176723 | นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 10
Education 4.0 in Active Learning บรรณานกุ รมดักลาส อี แฮรร์ สิ & จดู ี้ เอฟ คาร.์ (2546). หลักสูตรมาตรฐานแหง่ ชาต.ิ ..ส่ชู ั้นเรยี น. (รุ่งนภา นตุ ราวงศ์, ผู้แปล).กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว.นัตยา หลา้ ทนธีรกล. (ม.ป.ป.). การจดั การเรียนรสู้ ูผ่ ลลัพธ์ Thailand 4.0. สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา ประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต5.176723 | นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา (Innovation and Information Technology) 11
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: