คุ ณ คิ ด อ ย่ า ง ไ ร กั บ วั ณ โ ร ค ?
ผอม ผู้ป่ วยวัณโรคในอุดมคติ ? ไอมาก ยากจน เบือ่ อาหาร ป่ วยบ่อย สูบบุหรี่ HIV น่ารัง มาก เกลยี ด เป็ นแล้วตาย
วัณโรคเป็ นโรคโบราณไม่กลับมาอีก ? วณั โรค วณั โรคดอื้ ยา
วัณโรคเกิดจากการสูบบุหร่ี ? • ความจริง ทแ่ี ท้ TRUE คอื ..... –เกิดจากเช้ือโรค มยั โคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลสิส
วัณโรคคือโรคปอด? • ความจริง ทแ่ี ท้ TRUE คอื ..... –วณั โรคมีหลายชนิด เช่น วณั โรคกระดูก วณั โรคต่อมน้าํ เหลือง วณั โรคผวิ หนงั
วัณโรคติดต่อง่ายกว่าไข้หวัด ? • ความจริง ทแ่ี ท้ TRUE คอื ..... • วณั โรคติดยากกว่าหวดั แต่มีความรุนแรงมากกว่าหวดั
ผู้ป่ วยวัณโรคต้องไอเท่าน้ัน? • ความจริง ทแ่ี ท้ TRUE คอื ..... – ไม่เสมอไป ไอเรื้อรังติดต่อกนั เกนิ 2 สัปดาห์ ไอมเี สมหะปนเลอื ด อาจมีอาการอน่ื ร่วมด้วย เช่น ไอแห้งๆ หรือ ไอมีเสมหะ มีไข้ตาํ่ ๆ ตอนบ่าย เหงือ่ ออกมากตอนกลางคนื อ่อนเพลยี มักเป็ นตอนเช้ามากกว่า ตอนบ่าย เบือ่ อาหาร นํา้ หนักลด
วั ณ โ ร ค รั ก ษ า ไ ม่ ห า ย ? • ความจริง ทแ่ี ท้ TRUE คอื ..... – หาย ถา้ ทานยาครบทุกเมด็ ตรงเวลา รักษาครบ
คนที่ฉีดวัคซีน BCG แล้วจะไม่เป็ นวัณโรค? • ความจริง ทแ่ี ท้ TRUE คอื ..... –BCG ป้ องกนั ไดเ้ พยี งวณั โรคเยอ่ื หุม้ สมองเท่าน้นั
วณั โรค ( Tuberculosis )
วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ให้ทราบถงึ สถานการณ์วณั โรคของประเทศไทย 2. เพอ่ื ให้ทราบถึงประชากรกลุ่มเส่ียงทสี่ ําคญั 3. เพอื่ ให้มคี วามรู้เกยี่ วกบั โรควณั โรค การติดต่อ การรักษา การป้ องกนั การแพร่กระจายเชื้อ 4.เพอ่ื ให้มคี วามรู้และสามารถเป็ นพเ่ี ลยี้ งกาํ กบั การกนิ ยาได้
สถานการณ์วณั โรคของประเทศไทย • องคอ์ นามยั โลกจดั ใหป้ ระเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศท่ีมี ปัญหาวณั โรครุนแรงระดบั โลก (High TB burden country) • มีผปู้ ่ วยวณั โรครายใหม่ 120,000 รายต่อปี • อตั ราตายผปู้ ่ วยวณั โรค 8,600 รายต่อปี • อตั ราผปู้ ่ วยวณั โรคในเรือนจาํ 1,800 รายต่อปี
กล่มุ เส่ียงวณั โรค ผู้สัมผสั ร่วมบ้าน ผู้ต้องขังในเรือนจาํ บุคลากรสาธารณสุข ผู้ตดิ เชื้อเอชไอวี ผู้ป่ วยเบาหวาน ผู้สูงอายุ แรงงานข้ามชาติ
วณั โรค Tuberculosis เกดิ จากเชื้อแบคทเี รีย Mycobacterium tuberculosis วณั โรคเกดิ ได้ทุกส่วนของร่างกาย ได้แก่ ปอด ลาํ ไส้ ไต กระดูก ผวิ หนัง ต่อมนํา้ เหลอื ง เยอื่ หุ้มสมอง แต่ทพี่ บบ่อยและเป็ นปัญหา มากทสี่ ุด คอื วณั โรคปอด
อาการทส่ี งสัยว่าเป็ นวณั โรค ไอเรื้อรังเกนิ 2 สัปดาห์ ไอแห้งหรือมีเสมหะ อาจมไี อปนเลอื ด มีไข้ตาํ่ ๆ เรื้อรัง อาจมีเหงอื่ ออกมากตอน กลางคนื อ่อนเพลยี เบอ่ื อาหาร นํา้ หนักลด เหน่ือยหอบ เจบ็ หน้าอก
การตดิ ต่อ • ผู้ป่ วยวณั โรคปอด จะมเี ชื้อวณั โรคอยู่ในปอด เมื่อผู้ป่ วยไอ จาม เชื้อจะออกมากบั ละอองเสมหะหรือนํา้ ลาย ละอองเสมหะขนาดใหญ่จะตกลงสู่พนื้ ดนิ ถ้าถูกแสงแดด ส่ องนานๆเชื้อจะตายไป • ละอองเสมหะขนาดเลก็ จะลอยอยู่ในอากาศ หากผู้ใกล้ชิดสูดเข้าไปกจ็ ะทาํ ให้เชื้อวณั โรคเข้าสู่ร่างกาย ทาํ ให้มโี อกาสป่ วยเป็ นวณั โรค • ผู้ป่ วยทไี่ ด้รับเชื้อวณั โรคมาแล้วไม่จาํ เป็ นต้องป่ วยเป็ นวณั โรคทุกคน เพราะร่างกายมี กลไกหลายอย่างทจ่ี ะต่อสู้และป้ องกนั เชื้อ • ผู้ทไี่ ด้รับเชื้อวณั โรค มีเพยี งร้อยละ 10 เท่าน้ัน ทจี่ ะป่ วยเป็ นวณั โรค
Sneezing (3M) Coughing (1.5M) Speaking
แหล่งแพร่เชื้อ •แหล่งแพร่เช้ือ คือ ผปู้ ่ วยวณั โรคระยะแพร่เช้ือ ซ่ึงไดแ้ ก่ –ผปู้ ่ วยก่อนไดร้ ับการรักษา –ผปู้ ่ วยที่ยงั รักษาไม่หาย (ผู้ป่ วยหลงั ได้รับการรักษา 2 สัปดาห์ จะไม่แพร่กระจายเชื้อ )
การตรวจวินิจฉัยวัณโรค • 1.การตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศน์ • 2.การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (chest x-ray:CXR) • 3.การตรวจเสมหะโดยการเพาะเลยี้ งเชื้อ (culture)
การตรวจวินิจฉัยวัณโรค • 4.การตรวจทางอณูชีววทิ ยา –4.1 Xpert MTB/RIF –4.2Genotype MTBDR (HAIN Test) ใชเ้ ทคนิค LPA • 5.การตรวจดว้ ยวธิ ีการอื่นๆ –5.1 การทดสอบผวิ หนงั (tuberculin skin test : TST) –5.2การตรวจ interferon gamma release assay (IGRA)
การรักษาวัณโรค • โดยการกินยาอยา่ งต่อเน่ืองสม่าํ เสมอ (กนิ ยาทุกชนิด ทุกเม็ด ทุกวนั ) อยา่ งนอ้ ย 6 เดือน • มาตรวจตามนดั ทุกคร้ัง • เมื่อมีอาการผดิ ปกติ ควรมาพบแพทย์ วณั โรครักษาใหห้ ายได้
ก า ร ดู แ ล ต น เ อ ง ร ะ ห ว่ า ง ก า ร รั กษ า รับประทานยาตามหมอสง่ั ทุกม้ือ ทุกเมด็ ทุกวนั จนครบการรักษา งดสุรา บุหร่ี ระหวา่ งการรักษา เม่ือไอหรือจาม ใหป้ ิ ดปาก ปิ ดจมูกทุกคร้ัง ควรสวมใส่หนา้ กาก อนามยั ที่พกั อาศยั ควรมีแสงแดดส่องถึงและควรมีอากาศถ่ายเท
ก า ร ดู แ ล ต น เ อ ง ร ะ ห ว่ า ง ก า ร รั ก ษ า ใน 2 สปั ดาห์แรกหลงั จากเร่ิมรับประทานยารักษาวณั โรค ไม่ควรเดินทาง โดยเครื่องบินโดยสาร หรือรถโดยสารปรับอากาศ รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ พกั ผอ่ น นอนหลบั ใหเ้ พยี งพอ มีกาํ ลงั ใจดี เขม้ แขง็ อดทนในการรักษา พาคนในครอบครัว มาตรวจคดั กรองวณั โรค
พ่ีเลี้ยงกาํ กับการกินยา ดูแลการกนิ ยาต่อหน้าของผู้ป่ วยวณั โรค
ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ งพ่ีเ ลี้ย ง ทาํ ใหผ้ ปู้ ่ วยไดก้ ินยาทุกวนั จนครบถว้ น และช่วยใหก้ าร รักษาไดผ้ ล พ่ีเล้ียงช่วยใหก้ าํ ลงั ใจ และกระตุน้ ใหร้ ับประทานยาจนครบ
สิ่ ง ที่ พ่ีเ ลี้ย ง พึง ป ฏิ บั ติ • ใหค้ วามรู้เก่ียวกบั วณั โรค อาการ การแพร่กระจายเช้ือของวณั โรค การ รักษาและการป้ องกนั • ติดตามการกินยาอยา่ งสม่าํ เสมอ และใหผ้ ปู้ ่ วยกินยาต่อหนา้ • หมน่ั ไต่ถามอาการผปู้ ่ วย ใหก้ าํ ลงั ใจผปู้ ่ วย • รักษาความลบั ของผปู้ ่ วย • ทาํ เคร่ืองหมาย “ ดอท ” ทุกคร้ังท่ีใหผ้ ปู้ ่ วยรับประทานยาต่อหนา้
เสี ยงสะท้ อนจากคนไข้ ผู้ป่ วยชาย อายุ 38 ปี จากชลบุรี ป่ วยเป็ นวณั โรคดอื้ ยาหลายขนาน อ(MนDามRยั -ปTิ ดBป) าไกอเเวปล็ นาเไลออื เดพตอื่ ลไอมด่ใหจ้แนพทร.่ไเชดื้อ้ขใอหร้ผ้อู้องนื่ใหแ้ผตู้ป่ผ่ วู้ปย่ วใสย่ปหฏนเิ้าสกธาก บอกว่า “เขาไม่มวี นั ใส่ ถ้าใส่หน้ากากคนอน่ื กจ็ ะรู้ว่าเขาป่ วยเป็ นโรคท่ี สังคมรังเกยี จ อกี อย่างหนึ่ง เขาไม่เห็นผู้ป่ วยคนอนื่ ใส่เลย หมอต้องทาํ ให้คนอนื่ ใส่ก่อน แล้วเขาจงึ จะใส่ตาม”
คนไทยมีปฏกิ ริ ิยาอย่างไร? คนไทยส่วนใหญ่ไม่พร้อม ไม่ค่อยสนใจ ไม่อยากทาํ อะไรท่ยี ุ่งยาก โดยเฉพาะทาํ เพ่อื คนอ่นื อายท่จี ะใส่หน้ากากอนามัย ใส่แล้ว อดึ อดั
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: