การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎคี วามรู้ ทัศนคติ และการปฏิบตั ิเพือ่ ชะลอการเส่ือมของไตในผปู้ ่วยเบาหวาน ในโรงพยาบาลเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระเทพรนั ตนราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี ระยอง สมชาย แพรพริ ณุ * พบ. *โรงพยาบาลเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยองบทคัดย่อ การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดสองครั้งก่อนและหลังการทดลองคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลโปรแกรมความรู้ ทัศนคติกับและการปฏิบัติตัวเพื่อชะลอไตเส่ือมในผู้ป่วยเบาหวานในคลินิกโรคไตเร้อื รัง กลมุ่ ตวั อย่าง 31 คน ผ้ปู ว่ ยใหม่เริ่มต้นการรักษาที่โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ระยอง เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมความรู้ ทัศนคติกับและการปฏิบัติแผนการให้ความรู้ สื่อวิดีทัศน์ คู่มือการปฏิบัติตัว โมเดลอาหาร และสาธิตการออกกาลังกาย 2) แบบสัมภาษณ์ที่ผ่านการทดสอบความเท่ียงเท่ากับ 0.781 และ 3) ผลทางห้องปฏิบัติการได้แก่ ดัชนีมวลกาย ความดันโลหิต การทางานของไตตรวจซีรั่มครีเอตินิน อัตราการกรองของไต ไมโครแอลบูมิน น้าตาลในเลือดหลังงดอาหาร น้าตาลในเลือดสะสมและไขมันในเลือดชนิดแอลดีแอล ระยะเวลาทดลอง 6 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนาและสถิติอนมุ านทดสอบคา่ ทแี บบวัดซ้า ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 93.5 อายุเฉล่ียเท่ากับ 64.33±8.98 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 67.7 มีสถานภาพอยู่เป็นคู่ ร้อยละ 58.1 ภายหลังการทดลองโปรแกรมความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติ ผู้ป่วยมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05)(กอ่ นทดลองคะแนนเทา่ กับ 17.06, 19.64 และ 39.45 หลังทดลองเท่ากับ 17.93, 22.64 และ 42.90 ตามลาดับ)ผลทางห้องปฏิบัติการพบว่า ดัชนีมวลกาย น้าตาลในเลือด และไขมันในเลือดชนิดแอลดีแอล ก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติ (p ≤ 0.05) ในส่วนความดันโลหิต ซีร่ัมครีเอตินิน อัตราการกรองของไต ไมโครแอลบูมิน น้าตาลในเลือดสะสมไม่มีความแตกต่างกัน อย่างไรก็ตามอัตราการกรองของไตมีค่าเฉลี่ยการทางานดีขึน้ ขอ้ แนะนาผลของโปรแกรมสามารถประยกุ ต์ใชใ้ นหนว่ ยงานอ่นื ท่ีคล้ายคลึงกนั ได้คาสาคัญ: ชะลอไตเสื่อม/ โปรแกรมปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม/ เบาหวาน/ ทฤษฎี KAP
The Application of Knowledge Attitudes and Practices Theory on Diabetic Nephropathy Deferring in Her Royal Princess Maha Chakri Siridhorn’s Rayong Hospital Somchai Pairpirun* MD. * Her Royal Princess Maha Chakri Siridhorn’s Rayong HospitalAbstract This quasi-experimental research, using one group pertest - posttest design. This studyaimed to examine the effect of the Knowledge Attitude Practice (KAP) program on behavior ofDiabetic nephropathy deferring in CKD clinic. The participants were 31 subjects being treated atHer Royal Princess Maha Chakri Siridhorn’s Rayong hospital. Research instruments including1) KAP program, lecture planning, knowledge media, practical guide, food model and exercisedemonstration. 2) The interview-questionnaire has been alpha conbach test for reliability was0.781. and 3) laboratory data including body mass index, blood pressure, glomerular filtrationrate, serum creatinine, micro-albumin, fasting Blood glucose, HbA1C and LDL. Collect 6-monthtrial period. Data were analyzed by descriptive statistic and paired sample t-test. The results found that the highest percentage of the samples were females (93.5%). Theaverage age was 64.33±8.98 year old, Graduate in secondary school (67.7%), married states(58.1%). The study revealed that posttest the intervention was knowledge attitude and practiceprogram had significantly higher mean than the pretest. (p ≤ 0.05) (score of pretest 17.06, 19.64and 39.45; score of posttest 17.93, 22.64, 42.90). The posttest has intervention gained betterbody mass index, fasting Blood glucose, LDL than pretest significantly. But variable of bloodpressure, serum creatinine, glomerular filtration rate, micro-albumin and HbA1C not significantly.However; the glomerular filtration rate of the kidneys better prospects. Recommended; thisprogram could be applied for other similar health care agencies.Keyword: nephropathy deferring/behavior program / Diabetic/ KAP Theory
บทนา เบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญของประเทศกาลังพัฒนา1องค์กรอนามัยโลกคาดว่าประมาณปีค.ศ.2025 จะมีผู้ป่วยเบาหวานท้ังส้ิน 300 ล้านคน2 สาหรับประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข3คาดการณ์ว่าในปีพ.ศ.2568 จะพบผูป้ ว่ ยเบาหวานมากกว่า 4.7 ล้านคน ทั้งน้ีเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องการความต่อเนื่องในการดูแลรักษาเพ่ือลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน หากมีการควบคุมระดับน้าตาลในเลือดได้ไม่ดีพอจะเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญคือโรคไต ทั้งน้ีจากการศึกษาของอุษา ทัศนวิน และคณะ4พบผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้าตาลในเลอื ดสงู ต้งั แตร่ ะดับ 1 ถงึ ระดับ 3 จะมีโรคแทรกซ้อนจากความดันโลหิตและทางไต เช่นกัน และปัจจุบันมีผู้ปว่ ยโรคไต 108,215 คน แยกเปน็ ผูป้ ่วยไตวายเฉียบพลันจานวน 91,988 คน อุบัติการณ์โรคไตวายเร้ือรังระยะสดุ ทา้ ย 62.5 คนต่อ 1 ลา้ นประชากรตอ่ ปี5 ภาวะไตเส่ือมจากเบาหวาน (Diabetic nephropathy) เป็นภาวะแทรกซ้อนท่ีพบได้บ่อยโดยพบร้อยละ20-40 และเป็นสาเหตุสาคัญของโรคไตวายระยะสุดท้าย การตรวจพบภาวะอัลบูมินปริมาณเล็กน้อยในปัสสาวะ(ปริมาณ30-299มก./วัน; micro albuminuria) เป็นสัญญาณทางคลินิกท่ีแสดงถึงการเกิดภาวะไตเสื่อมจากเบาหวานระยะแรก6 ท้ังน้ีผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 1 ประมาณร้อยละ 20 จะมีโรคแทรกซ้อนทางไตและเข้าสู่ไตวายเร้ือรังระยะสุดท้ายในระยะเวลา 20 ปีหลังวินิจฉัย และเช่นเดียวกับผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 มีธรรมชาติการดาเนินการของโรคไตไม่ต่างกัน แต่เนื่องด้วยความชุกของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประชากรมากกว่าชนิดที่ 1เกือบ 20 เท่า ทาให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มี Overt nephropathy และมีไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายมาจากผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 27 นอกจากการควบคุมระดับน้าตาลแล้ว ปัจจัยที่สาคัญอีกอย่างในการชะลอไตเส่ือมคือการควบคุมความดันโลหิตให้เหมาะสม ปริมาณไขมันในเลือด การสูบบุหร่ีเพราะสามารถลดปริมาณอัลบูมินในปัสสาวะได้6 อย่างไรก็ตามในแง่ของการควบคุมปัจจัยต้นเหตุที่จะส่งผลต่อภาวะเสื่อมของไตท้ังระดับน้าตาลในเลือดความดันโลหิตและไขมันในเลือดให้ได้ประสิทธิผลน้ัน จาเป็นต้องคานึงถึงพฤติกรรมสุขภาพความใส่ใจในการดูแลตนเองของผู้ป่วย การรับประทานอาหาร4,7 การออกกาลังกาย8 และการใช้ยา9 โดยผู้ป่วยโรคไตมักได้รับยาหลายขนานปริมาณมากและต้องใช้ยารักษาเป็นระยะเวลานาน ท้ังนี้ประวัติส่วนบุคคล อายุ ระดับการศึกษาจะมีความสัมพันธ์กับการใช้ยาท่ีไมเ่ หมาะสมเชน่ กัน9 จากการรายงานของสานักงานสถิติแห่งชาติ10 พบว่า มีผู้ป่วยใน (IPD) จาแนกตามกลุ่มโรคไตเรื้อรังของจงั หวัดระยองเพ่มิ มากขนึ้ จากปี พ.ศ. 2545 จานวน 594 ราย เพ่ิมเป็น 1,968 รายในปี พ.ศ.2555 และมีแนวโน้มเช่นเดียวกันในกลุ่มโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และจากข้อมูลรายงานผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการท่ีโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยอง11 พบแนวโน้มเพิ่มขึ้นกว่า3 เท่า โดยในปี 2553-2555 มีผู้ป่วยภาวะไตเส่ือมจากเบาหวานร้อยละ 1.9, 2.2 และ5.9 ตามลาดับ ดังนั้นภาวะไตเสือ่ มจากเบาหวานจงึ เป็นปัญหาสาธารณสุขทีส่ าคัญของประเทศรวมถงึ พน้ื ท่ีเขตมาบตาพุดด้วย ถึงแม้ว่าโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนทางไตท่ีเกิดขึ้นจะไม่ได้ทาให้สูญเสียชีวิตทันที แต่จะทาให้คุณภาพชีวิตลดลงเกิดความสูญเสียท้ังทางด้านสังคม เศรษฐกิจอย่างมหาศาลท้ังค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อม ทาให้เกิดข้อจากัดด้านความสามารถหรือมีความพิการเป็นภาระอย่างมากต่อครอบครัว ประเทศ และระบบของสาธารณสุข การศึกษาในคร้ังน้ีจึงได้ให้ความสนใจในโรคแทรกซ้อนระยะแรกเพ่ือลดความรุนแรงของโรคโดยคัดเลือกกลุ่มผู้ป่วยท่ีมีภาวะแทรกซ้อนโรคไตรายใหม่ ส่วนหน่ึงรูปแบบการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพเป็นวิธกี ารทสี่ าคัญท่ีนามาควบคมุ โรคเหล่านี้ได4้ ซง่ึ กิจกรรมในโรงพยาบาลชมุ ชนทผ่ี า่ นมา ส่วนใหญ่ยังเป็นรูปแบบการ
ให้ความรู้ประเมนิ ผลแบบโครงการ แต่การศึกษาคร้ังนี้นอกจากจะสนับสนุนด้านความรู้ ยังได้ให้ความสาคัญถึงการปรบั เปลย่ี นทัศนคติในทางบวกจึงจะนาไปสู่ผลของการปฏิบัติที่เหมาะสมตามแนวทางของ ทฤษฎีของ Rogers ซึ่งพัฒนาทฤษฎีโดย Lbrahim G.12 ประยกุ ตไ์ ดว้ ่าผู้ป่วยจะได้เรียนรู้ด้านอาหาร หลักการออกกาลังกายรวมถึงการใช้ยาโดยใช้เทคนิคทางสุขศึกษา บรรยาย สาธิต ฝึกทักษะปฏิบัติ กิจกรรมต่างๆจะทาให้เกิดความสนุกสนาน มีการแลกเปลย่ี นประสบการณ์ภายในกลุ่ม ร่วมกับทีมผู้วิจัยสร้างเสริมความรู้ที่ถูกต้องนาไปปฏิบัติดูแลตนเองเพ่ือชะลอการเส่อื มของไตในผปู้ ่วยเบาหวานไดต้ อ่ ไปวัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื เปรียบเทียบความรู้ ทศั นคติ การปฏบิ ัติของผู้ปว่ ยระหว่างก่อนและหลังทดลองโปรแกรมการชะลอการเสื่อมของไตในผปู้ ว่ ยเบาหวาน 2. เพื่อเปรียบเทียบดชั นีมวลกาย ระดับน้าตาลในเลือด ไขมันในเลือด ความดันโลหิต อัตราการกรองของไตระหว่างกอ่ นและหลังทดลองโปรแกรมการชะลอการเส่ือมของไตในผู้ป่วยเบาหวานวธิ ีการดาเนนิ การวจิ ยั 1. รูปแบบการวิจัย เปน็ การวจิ ัยกงึ่ ทดลอง (Quasi-experimental research) แบบกลุ่มเดียววัดสองคร้ังก่อนและหลังการทดลอง (One group Pre-Post test) ซ่ึงได้รับโปรแกรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมและติดตามระยะเวลา 6 เดือน 2. กลุ่มตัวอย่าง เลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sample) ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์มภี าวะไตเส่อื มรายใหม่ในคลนิ ิกโรคไตเรือ้ รัง โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารี ระยอง ต้งั แตช่ ว่ งเดือนมกราคม – พฤษภาคม 2558 ขนาดตัวอย่างจานวน 31 คน เกณฑ์คัดเข้าคือเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์เป็นโรคไตเส่ือมในระยะแรกและเป็นโรคเบาหวานร่วมด้วย และมารับบรกิ ารทีค่ ลินกิ โรคไตเรือ้ รัง และเปน็ ผยู้ ินยอมให้ข้อมลู ดว้ ยความเตม็ ใจ สาหรบั เกณฑค์ ัดออกคอื ผู้ป่วยที่ไม่มาตามนดั การรกั ษา 3. การพิทกั ษ์สิทธก์ิ ลุม่ ตัวอยา่ ง ก่อนเรมิ่ เก็บข้อมูล ผู้วจิ ัยและผูช้ ่วยวจิ ยั แนะนาตัวเอง ชี้แจงวัตถุประสงค์การรวบรวมขอ้ มลู พร้อมทัง้ ช้แี จงใหท้ ราบถงึ สทิ ธขิ์ องกลุ่มตัวอย่างในการตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัยในครั้งน้ี โดยไมม่ ผี ลตอ่ กระบวนรกั ษาแบบปกตใิ ดๆ ข้อมูลทีไ่ ด้จะนาเสนอเปน็ ภาพรวมเท่าน้นั 4. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยและการแปลผล มี 3 ส่วนได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เช่ียวชาญ 3 คน ประกอบด้วย แพทย์เฉพาะทางโรคไต 1 คน นักวิชาการสาธารณสุขเชยี่ วชาญ (ด้านสง่ เสรมิ สขุ ภาพ) 1 คน และพยาบาลหัวหน้าคลินิกโรคไตและเบาหวาน 1 คน หลังจากน้ันได้นาไปทดลองกับผู้ป่วยโรคไตกลุ่มอ่ืนที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายจานวน 30 คน ได้ค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ0.781 โดยแบบสมั ภาษณ์จะประกอบด้วยขอ้ มูล 4 สว่ น คือ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ระยะเวลาทีป่ ่วย โรคประจาตวั อ่นื ๆ การเข้ารบั การรกั ษาตามนดั
ส่วนที่ 2 ความรู้เร่ือง ภาวะไตเส่ือม การรับประทานยา อาหาร การออกกาลังกาย จานวน 20 ข้อ การใหค้ า่ คะแนนคือ ตอบผิดให้ 0 ตอบถูกให้ 1 คะแนนเต็มทั้งหมด 20 คะแนน แบ่งออกเป็น 3 ระดับตามเกณฑ์ของBloom13 คอื 16-20 คะแนนอยู่ในระดับดี 12-15 อยู่ในระดบั พอใช้ และ นอ้ ยกกว่า 15 คะแนนอยูใ่ นระดบั นอ้ ย ส่วนท่ี 3 ทศั นคตเิ รอื่ ง จานวน 12 ข้อ คาถามมีตัวเลือกให้ตอบ 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วยไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง การให้ค่าคะแนนคือ ให้คะแนน 4 3 2 และ 1 ตามลาดับในข้อคาถามทางบวกและ 1 2 3 และ 4 ตามลาดับในขอ้ คาถามทางลบ คะแนนเตม็ ท้งั หมด 48 คะแนน แบง่ ออกเปน็ 3 ระดับตามเกณฑ์ของ Bloom13 คือ 39-48 อยู่ในระดับดี 29-38 อยู่ในระดับพอใช้ และ น้อยกกว่า 29 คะแนนอยู่ในระดับน้อย ส่วนที่ 4 การปฏิบัติจานวน 25 ข้อ คาถามมีตัวเลือกให้ตอบ 4 ระดับ คือ ปฏิบัติประจา บ่อยครั้งบางครั้ง และไมป่ ฏิบตั ิ การให้คา่ คะแนนคอื ใหค้ ะแนน 4 3 2 และ 1 ตามลาดับในข้อคาถามทางบวก และ 1 2 3และ 4 ตามลาดับในข้อคาถามทางลบ คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน แบ่งออกเป็น 3 ระดับตามเกณฑ์ของBloom13 คอื 80-100 อย่ใู นระดบั ดี 60-79 อยูใ่ นระดับพอใช้ และ น้อยกกว่า 60 คะแนนอยู่ในระดับน้อย 2) การตรวจร่างกายพ้นื ฐาน ได้แก่ ความดันโลหิต ชีพจร 3) ผลการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ เอ็นไซม์ของไต (Creatinine; Cr) อัตราการกรองของไต(Microalbumin) น้าตาลในเลือดสะสม (HbA1C) ระดับน้าตาลในเลือดหลังงดอาหาร (Fasting blood sugar;FBS) ระดับไขมันในเลือด (Low density lipoprotein; LDL) 5. กิจกรรมโปรแกรม โปรแกรมสาหรับจดั กิจกรรมในผ้ปู ่วยจะประยุกต์จากทฤษฏีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของ LbrahimG. (1995) ผู้ป่วยจะไดร้ ับตามแผนการสอนทีถ่ กู ตอ้ งแบง่ กิจกรรมออกเป็น 4 ชว่ งรายละเอียดดังน้ี ช่วงท่ี 1 หัวข้อ “ไตวาย..ไม่ตายไว” และ “เบาหวานกับภาวะแทรกซ้อนทางไต” บรรยายโดยแพทย์ประจาคลินิกโรคไตเรื้อรังและพยาบาลคลินิกเบาหวาน ใช้กลวิธีการบรรยายประกอบส่ือวิดีทัศน์ และคู่มือการปฏบิ ัตติ วั ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง 30 นาที ชว่ งที่ 2 หวั ขอ้ “กินอยา่ งไรเมอ่ื ไตเร่ิมเสื่อม” และ “อาหารแลกเปลี่ยน” บรรยายโดยโภชนากรใช้กลวิธีการบรรยายประกอบโมเดลอาหาร ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที ช่วงท่ี 3 การปฏิบัติเลือกอาหารและประกอบอาหาร โดยโภชนากรและทีม ใช้กลวิธีการสาธิตและฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ ระยะเวลา 1 ชั่วโมง ชว่ งที่ 4 หวั ขอ้ “ยืดเหยยี ดรา่ งกาย” บรรยายโดยนักกายภาพบาบัด ใช้กลวิธีการบรรยายประกอบการสาธิตฝึกปฏบิ ัติและคู่มือการออกกาลงั กายทเี่ หมาะสม ระยะเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากผปู้ ่วยไดเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมตามโปรแกรมนี้ นกั วิจัยและผู้ช่วยนักวิจัยจะติดตามผลกระตุ้นเตือนและเสริมกาลังใจทางบวกในการปฏิบัติตัวทางโทรศัพท์เป็นระยะและติดตามผลทางห้องปฏิบัติการในระยะ 6 เดือนถัดมา 6. การรวบรวมขอ้ มลู การรวบรวมข้อมูลวิจัยมขี น้ั ตอนดังนี้ ผู้วิจัยได้ขออนุญาตผู้อานวยการโรงพยาบาลช้ีแจงถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัยและข้ันตอนการรวบรวมข้อมูล จากนั้นประสานงานกับพยาบาลประจาคลินิกโรคไตเร้ือรัง เพ่ือชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัยและประสานงานขออนุญาตเข้าเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ป่วย รวมทั้งขอทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยเพ่ือใช้ในการสุ่มเข้ากลุ่มตัวอย่าง และประสานงานกับผู้ป่วยเพื่อขอสัมภาษณ์และจัดกิจกรรมเข้าค่ายให้ความรู้ โดยผู้วิจัยได้แนะนาตัวช้แี จงวตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอคายินยอมในการทาวิจัยและหากผู้ป่วยยินยอมจะต้องลายมือชื่อในหนังสือยินยอมตนใน
การทาวิจัย การเก็บรวบรวมจะเก็บตัวอย่างเลือดเพ่ือส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ สัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยวจิ ัย หลังจากน้ันดาเนนิ จัดกิจกรรมเข้าคา่ ยใหค้ วามร้ตู ามแผนการสอน ติดตามผู้ป่วยโดยการโทรศัพท์สอบถามและเย่ียมบา้ น เมือ่ ผา่ นไป 6 เดือนเก็บตัวอย่างเลือดและเกบ็ ข้อมลู แบบสมั ภาษณ์หลงั การทดลองอีกคร้งั ในโรงพยาบาล 7. การวิเคราะหข์ อ้ มูล 1) ขอ้ มลู ลกั ษณะสว่ นบุคคล ความรู้ ทัศนคติ การปฏบิ ตั ติ ัว ข้อมลู ทางห้องปฏิบตั ิการ วิเคราะห์ใชแ้ จกแจงความถี่ จานวน รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 2) เปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติตัว ระดับน้าตาลในเลือด ไขมันในเลือด ความดันโลหิตอัตราการกรองของไตในผู้ป่วยภาวะไตเสื่อมจากเบาหวานระหว่างก่อนการทดลองและหลังการทดลองโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ใช้สถิติ Paired sample t-testผลการศกึ ษา 1. ข้อมลู ลักษณะทางประชากร จากการศึกษาลักษณะทางประชากรพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 93.5 อายุเฉล่ียเท่ากับ64.33 ± 8.98 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 67.7 มีสถานภาพสมรส/อยู่เป็นคู่ ร้อยละ 58.1 มีรายรับเฉล่ยี (ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน) เท่ากับ 7,000 ± 6,653.44 บาทต่อเดือน เกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ไม่สูบบหุ รีร่ ้อยละ 96.8 และไมด่ ่มื แอลกอฮอล์ ร้อยละ 93.6 (ตารางท่ี 1)ตารางท่ี 1 ลกั ษณะทางประชากรของ ผู้ปว่ ย จานวน ร้อยละ ลกั ษณะทางประชากร 29 93.5 2 6.5เพศ 64.33 ± 8.98 หญงิ 25.8 ชาย 8 67.7 21 6.5อายุ (ปี) mean ± SD 2ระดับการศกึ ษา 6.5 2 58.1 ไมไ่ ดเ้ รียน 18 35.5 ประถมศกึ ษา 11 มธั ยมศกึ ษา 7,000 ± 6,653.44 96.8สถานภาพ 3.2 โสด 30 สมรส 1 หม้าย/หย่า/แยกรายได้ (บาท) mean ± SDการสบู บหุ รี่ ไมส่ ูบ เคยสูบ
การดม่ื แอลกอฮอล์ 29 93.6 ไม่ดม่ื 1 3.2 ด่มื ประจา 1 3.2 เคยด่ืม 2. ระดับความรู้ ทศั นคติ และการปฏบิ ตั ติ วั ของผูป้ ่วย จากการศกึ ษาระดบั ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการทดลองพบว่า ด้านความรู้ผู้ป่วยมีความรู้ก่อนการทดลองในระดับดีร้อยละ 74.2 เพิ่มเป็นร้อยละ 96.8 ภายหลังการทดลอง ด้านทัศนคติมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนเช่นกัน จากก่อนการทดลองทุกคนอยู่ในระดับปรับปรุง หลังการทดลองผู้ป่วยมีทัศนคติเพ่ิมข้ึนในระดับพอใช้ ร้อยละ 16.1 ในส่วนระดับการปฏิบัติยังไม่พบการเปล่ียนแปลง (ตารางท่ี 2) แต่เม่ือพิจารณาเป็นค่าเฉล่ียพบว่า การปฏิบัติตัวของผปู้ ว่ ยมีคะแนนเพิ่มมากขน้ึ จาก 39.5 เปน็ 42.9 คะแนน (ภาพที่ 1)ตารางท่ี 2 จานวน รอ้ ยละของระดบั ความรู้ ทศั นคติ และการปฏิบตั ติ วั จาแนกตามกอ่ นและหลงั ทดลอง ตวั แปร กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ดี พอใช้ ปรับปรงุความรู้ 23 (74.2) 8 (25.8) 0 (0.0) 30 (96.8) 1 (3.2) 0 (0.0)ทัศนคติ 0 (0.0) 0 (0.0) 31 (100.0) 0 (0.0) 5 (16.1) 26 (83.9)การปฏบิ ตั ิตัว 0 (0.0) 0 (0.0) 31 (100.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 31 (100.0) ภาพท่ี 1 คา่ เฉล่ียของคะแนนจาแนกตามก่อนและหลังการทดลอง
3. เปรียบเทียบความรู้ ทศั นคติ และการปฏิบัติตัวระหวา่ งกอ่ นและหลังการทดลอง ภายหลังการทดลองโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้ป่วยพบว่า ผู้ป่วยมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติตัวต่อการป้องกันชะลอการเสื่อมของไตแตกต่างจากก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p≤0.05) (คะแนนความรู้ก่อนทดลองและหลังทดลองเท่ากับ 17.069 และ 17.935 ตามลาดับ คะแนนทัศนคติก่อนทดลองและหลังทดลองเท่ากับ 19.645 และ 22.645 ตามลาดับ และคะแนนการปฏิบัติก่อนทดลองและหลังทดลองเท่ากับ 39.45และ 42.90 ตามลาดับ) (ตารางที่ 3)ตารางที่ 3 เปรยี บเทียบความรู้ ทัศนคตแิ ละพฤตกิ รรมระหว่างกอ่ นและหลังการทดลอง ตัวแปร mean SD df t p-value 0.050*ความรู้ 0.007* 0.002*กอ่ นการทดลอง 17.06 2.11 30 -2.034หลังการทดลอง 17.93 2.09 30ทศั นคติก่อนการทดลอง 19.64 2.85 30 -2.905หลงั การทดลอง 22.65 5.83 30การปฏบิ ตั ิกอ่ นการทดลอง 39.45 4.71 30 -3.494หลงั การทดลอง 42.90 4.23 30 4. เปรียบเทียบผลทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารระหว่างก่อนและหลังการทดลอง จากการศึกษาผลทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการการทางานของไต ภาวะนา้ ตาลในเลือด ภาวะไขมันในเลือด ดัชนีมวลกายและความดันโลหิตระหว่างก่อนและหลังทดลอง พบว่า หลังการทดลองผู้ป่วยมีค่าดัชนีมวลกาย น้าตาลในเลือดและไขมันในเลือด ลดลงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p≤ 0.05) แต่ผลทางห้องปฏิบัติการของการทางานของไต อัตราการกรองของไต ไมโครแอลบูมิน น้าตาลในเลือดสะสม ความดันโลหิตไม่มีความแตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะไม่แตกต่างกันแต่เม่ือพิจารณาถึงค่าเฉลี่ยพบว่ามีแนวโน้มท่ีดีข้ึน คือ ระดับน้าตาลในเลือดสะสม ความดันโลหิตลดลง (ตารางท่ี 4)ตารางท่ี 4 เปรียบเทยี บผลทางหอ้ งปฏิบตั ิการระหว่างกอ่ นและหลงั การทดลอง ผลทางห้องปฏิบัตกิ าร ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง t pการทางานของไต 1.11±0.23 1.11±0.25 0.568 0.575อตั ราการกรองของไต 52.78±13.01 54.57±14.97 -0.877 0.388ไมโครแอลบมู นิ 82.33±207.86 72.50±113.73 0.359 0.724น้าตาลในเลอื ดสะสม 7.50±2.42 7.32±2.12 0.397 0.695ดัชนมี วลกาย 20.12±3.50 19.61±3.27 2.310 0.028*น้าตาลในเลอื ดหลังงดอาหาร 125.7±52.90 109.94±27.19 2.301 0.029*
ไขมันในเลอื ดชนิดแอลดแี อล 139.6±44.84 118.2±10.83 2.404 0.023*ความดนั โลหิตชว่ งบน 131.6±19.28 128.9±10.83 0.842 0.406ความดนั โลหิตชว่ งล่าง 71.19±10.26 69.77±8.96 0.684 0.499อภิปรายผล วจิ ัยน้ศี ึกษาในกลุ่มผปู้ ว่ ยภาวะโรคไตเร้อื รังรายใหม่ท่ีเกิดจากการเกิดอนุมูลอิสระของโรคเบาหวานจานวน31 ราย มากกว่าการศึกษาของจิราภรณ์ ชูวงศ์5 ได้ศึกษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังโรงพยาบาลตรัง จานวน 23 ราย ผลการศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีความใกล้เคียงกับจินตนา หามาลี14 ท่ีศึกษาในผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย(เพศหญงิ ร้อยละ 77.8) แตไ่ ม่สอดคล้องกับหลายการวิจัยท่ีพบสัดส่วนเพศชายและเพศหญิงใกล้เคียงกัน15,16 ท้ังนี้การศึกษานี้เป็นรูปแบบก่ึงทดลองด้วยโปรแกรมการให้ความรู้ ติดตามผลพฤติกรรมทาให้มีการระยะเวลาการตดิ ตามยาวนาน ในกลุ่มผู้ป่วยเพศหญิงจะเข้าร่วมและมาตามนัดมากกว่าเพศชาย และด้วยความแตกต่างน้ีอาจจะเกิดจากบริบทในพนื้ ท่มี าบตาพุดเป็นพื้นท่ีเป้าหมายของการทางานผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นประชากรแฝง ในผู้ป่วยเพศชายจะทางานในภาคอุตสาหกรรมหรือรับจ้างทั่วไปไม่ได้อยู่บ้านในช่วงกลางวัน ในเพศหญิงจะเป็นแม่บ้านทาให้เข้าถงึ ระบบบรกิ ารตามนดั พบในเพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย ผู้ป่วยอายุเฉลี่ยเท่ากับ 64.33 ปี สอดคล้องกับการศึกษาในออสเตรเลียพบผู้ป่วยอายุ 64±0.6 ปี 17 ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยอายุ 65.8±0.5 ปี 18 และสอดคล้องกับหลายการศึกษาในประเทศไทยจะพบผู้ป่วยอายุมากกว่า 60 ปี 5,16,19 ความชุกจะอยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุเนื่องจากเบาหวานเป็นกลุ่มที่เกิดได้ท้ังจากพันธุกรรมและความไม่สมดุลของขบวนการเมทาบอลิซึมของร่างกายสว่ นใหญ่จะพบความเส่ียงในคนท่ีอายุมากกว่า 40 ปีเกิดจากการเส่ือมถอยของอวัยวะ หากผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้าตาลในเลือดไม่ดีจะส่งผลกระทบต่อการทางานของไตได้ โดยในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่าเบาหวานเป็นสาเหตุของโรคไตร้อยละ 45 20 มีการสารวจในประเทศไทยเช่นกัน พบผ้ปู ่วยโรคไตเรื้อรังจากสาเหตุเบาหวาน รอ้ ยละ 47.6 14 จะเหน็ ไดว้ ่าการดาเนินการของโรคไตเรื้อรังนี้จึงต้องข้ึนอยู่การดาเนินการของโรคเบาหวานและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมต้องใช้ ระยะเวลานานพอสมควรที่จะทาใหเ้ กดิ โรคได้ จงึ พบในชว่ งอายุของผ้สู งู อายุเปน็ สว่ นใหญ่ ในส่วนปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ป่วยพบว่า จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 67.7 มีสถานภาพสมรส/อยู่เป็นคู่ ร้อยละ 58.1 มีความสอดคล้องกับหลายการศึกษา14,16 ซ่ึงเป็นไปตามระบบการศึกษาของไทยในอดีตการเข้าถงึ ระบบการศึกษาและการกระจายสถานศึกษายังมีไม่เพียงพอ นอกจากน้ีในการกาหนดการศึกษาข้ันพ้นื ฐานยังเป็นเพยี งช้ันระดบั ประถมศกึ ษาเทา่ นั้น ดงั นนั้ ผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มผสู้ ูงอายุจงึ มกี ารศึกษาเรียนจบในระดับชั้นประถมศึกษาเป็นส่วนใหญ่ แต่ท้ังน้ีผู้ป่วยเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดีไม่สูบบุหรี่ร้อยละ 96.8 และไม่ด่ืมแอลกอฮอล์ ร้อยละ 93.6 ในแง่ของโปรแกรมสง่ เสริมสขุ ภาพโดยประยกุ ตจ์ ากทฤษฎีความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ แสดงความสัมพันธ์ตามแนวคิดของ Lbrahim G12 เพ่ือชะลอการเสื่อมของไตระยะเริ่มแรกน้ี ได้มีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยมีค่าเฉลี่ยความรู้ทศั นคติ และการปฏบิ ัตติ วั หลังจากการเข้าโปรแกรมเพ่ิมมากขึน้ จากเดมิ ก่อนการทดลองมีความรู้ในระดับดีร้อยละ
74.2 เป็น รอ้ ยละ 96.8 ซ่งึ มากกว่า Finkelstein 18 ศกึ ษาในผ้ปู ่วยกลุ่มโรคไตเรื้อรังจานวน 823 คนพบว่าผู้ป่วยมีความรู้เก่ียวกับโรคในระดับดีเพียงร้อยละ 23 ด้านทัศนคติมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนเช่นกัน จากท่ีก่อนการทดลองทุกคนอยู่ในระดับปรับปรุง หลังการทดลองผู้ป่วยมีทัศนคติในระดับพอใช้ ร้อยละ 16.1 ในส่วนระดับการปฏิบัติผู้ป่วยมีคะแนนเพิ่มมากข้นึ จาก 39.5 เปน็ 42.9 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการเข้าโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพพบว่า หลังการอบรมผู้ป่วยมีความรู้ ทศั นคตมิ ากกวา่ กอ่ นเข้าโปรแกรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพแตกตา่ งอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ สอดคล้องกับผลการใช้ความรู้ทางสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังในโรงพยาบาลตรังพบว่า หลังการเข้าโปรแกรมผู้ป่วยมีความรู้เพ่มิ มากข้ึนแตกตา่ งอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติ 5 ในส่วนการปฏิบัติพบว่ามีความแตกต่างกันเช่นกัน สอดคล้องกับ จินตนา หามาลี 14 พบว่าพฤติกรรมโดยรวมของผู้ป่วยเพ่ิมมากข้ึนก่อนการทดลองอยู่ในระดับปานกลางและหลังการทดลองอยู่ในระดับสูง (คะแนนก่อนเท่ากับ 85.07±9.79 หลังเท่ากับ 115.67±3.08)ถึงแม้ว่าคะแนนเฉล่ียจะมีความแตกต่างกัน แต่ยังไม่มากพอที่จะการเพิ่มข้ึนของระดับการปฏิบัติอย่างชัดเจนตามกาหนดความคาดหวังท่ีตั้งไว้ ส่วนหนึ่งการท่ีผู้ป่วยมีความรู้ดี มีทัศนคติท่ีดีแต่ในทางปฏิบัติยังต้องอาศัยปัจจัยรอบข้างอีกมากมาย เช่น ครอบครัว สังคม สิ่งแวดล้อมรอบข้าง เป็นปัจจัยเอื้อที่จะทาให้เพิ่มการแสดงออกถึงพฤติกรรมที่ดีมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะปัจจัยหลักท่ีโปรแกรมนี้ได้เน้นคือ เร่ืองโภชนาการ การแลกเปลี่ยนอาหารรสชาติของอาหารซ่งึ ในผู้ป่วยอาจจะต้องเตรียมหรือปรุงรสชาตินอกจากอาหารท่ัวไปท่ีคนในบ้านรับประทาน จึงมีความยากลาบากหรอื ครอบครวั ไม่เออื้ ต่อการส่งเสริมดา้ นน้ีจงึ มีผลใหด้ า้ นพฤติกรรมการปฏิบัติยังไม่แตกต่างชัดเจนมากนกั สอดคลอ้ งกบั อรุ ะณี รัตนพิทักษ์ 15 ให้ขอ้ เสนอแนะไว้ว่าผลต่อการควบคุมเบาหวานที่เป็นส่วนหนึ่งของการชะลอการเสื่อมของไตต้องอาศัยปัจจัยเอ้ือรวมถงึ การฝกึ ทักษะการจัดการตนเอง การให้กาลังใจและกระตุ้นเตือนให้แสดงออกในพฤตกิ รรมทด่ี ขี น้ึ เป็นอีกปจั จยั ทีจ่ ะทาใหป้ ระสบผลสาเร็จในการควบคมุ ได้ จากผลของโปรแกรมผู้วิจัยตั้งสมมุติฐานไว้ว่าสามารถนาไปสู่ผลทางห้องปฏิบัติการท่ีดีข้ึน จากการศึกษาคร้ังน้ีได้ตรวจวัดการทางานของไต ภาวะน้าตาลในเลือด ภาวะไขมันในเลือด ดัชนีมวลกายและความดันโลหิตระหว่างก่อนและหลงั ทดลองพบว่า หลงั การทดลองผปู้ ่วยมคี า่ ดัชนมี วลกายและน้าตาลในเลือด ลดลงสอดคล้องกับอรุ ะณี รตั นพิทักษ์ 15 พบวา่ กลมุ่ ศกึ ษาหลังการอบรมผู้ปว่ ยมีนา้ ตาในเลือดลดลง อนุมานได้ว่าการปรับพฤติกรรมในระยะ 6 เดือนท่ีผ่านมาจะส่งผลชัดเจนค่าดัชนีสุขภาพเบ้ืองต้นที่แปรผันตามได้ง่าย เช่น ดัชนีมวลกายและน้าตาลในเลือดที่สามารถแสดงผลได้อย่างรวดเร็วแต่ยังไม่ใช่ผลในระยะยาว ในส่วนไขมันในเลือดลดลงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเช่นกัน ซ่ึงระดับไขมันในเลือดจะเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีช่วยชะลอการเสื่อมของไตได้6โดยในโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจะมีการให้ความรู้เร่ืองอาหารท่ีให้พลังงานสูง พลังงานท่ีร่างกายต้องการ รวมถึงการเผาผลาญท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ป่วยดว้ ย แต่ผลทางห้องปฏิบตั ิการของการทางานของไต (Serum creatinine) ไม่มีความแตกต่างกัน ไม่สอดคล้องกับสภุ าพร องค์สรุ ยิ านนท์16 พบว่าหลังการทดลองผ้ปู ่วยมรี ะดับ Serum creatinine เปลีย่ นแปลงในการตรวจครั้งแรก 3 เดือน และ 6 เดือน เท่ากับ 2.66, 2.37 และ 2.32 ตามลาดับ ในส่วนผลตรวจความดันโลหิตระหว่างก่อนและหลังไม่มีความแตกต่างกันเช่นกัน ถึงแม้ว่าจะไม่แตกต่างกันแต่เมื่อพิจารณาถึงค่าเฉล่ียพบว่ามีแนวโน้มท่ีดีขึ้นได้แก่ น้าตาลในเลือดสะสม และความดันโลหิตลดลง สอดคล้องกับ อุระณี รัตนพิทักษ์ 15 ท่ีพบการเปล่ียนแปลง
ของระดับน้าตาลสะสมในกลุ่มศึกษาลดลงเล็กน้อย ท้ังนี้มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องควบคุมระดับน้าตาลและความดันโลหิตสูงรวมถึงระดับไขมันในเลือดแบบเข้มงวด (Intensified treatment) จะสามารถลดอัตราการป่วยและการเสยี ชวี ติ จากไตเสอื่ มได้มากขนึ้ ซ่งึ จากรายงานของ ศิริรัตน์ เรอื งจุ้ย และคณะ 6 พบว่าระดับน้าตาลในเลือดสูงเป็นปัจจัยเส่ียงท่ีทาให้เกิดผลแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดท้ังขนาดเล็กและขนาดใหญ่ (Micro- ormicrovascular complications) และการลดลดของระดับน้าตาลจะลดผลแทรกซ้อนต่างๆรวมถึงการชะลอไตเส่ือมจากเบาหวาน (Diabetic nephropathy) อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยเบาหวานควรลดระดับน้าตาลให้มากกว่าปกติมากขึน้ (เปา้ หมายระดับ HbA1C นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 6) เพื่อชะลอการเสอ่ื มไต ถึงแม้ว่าผลทางห้องปฏิบัติการบางส่วนจะไม่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แต่การศึกษาคร้ังนี้มีค่าเฉล่ียการลดลงของนา้ ตาลในเลือดและภาวะความดนั โลหิตสูงส่งผลให้มีอัตราการกรองที่ไต (GFR) เพ่ิมมากข้ึนเล็กน้อย จากท่ีก่อนการทดลองโปรแกรมเท่ากับ 52.78±13.01 เป็น 54.57±14.97 ในการตรวจวัดหลังการทดลอง และมีไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ (Microalbumin) ลดลง แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพน้ีช่วยเพิ่มประสทิ ธภิ าพของไตได้มากกว่า Finkelstein 18 ศึกษาไว้พบค่าเฉล่ียของ GFR ในผู้ป่วยเท่ากับ 38.8±0.4 อย่างไรก็ตามการเสียหายของไตจะไม่สามารถเพิ่มให้ถึงระดับปกติได้ แต่ท้ังนี้ได้ช่วยชะลอการเส่ือมของไตไม่ให้ลดต่ากว่าเดิม ในส่วนผลทางห้องปฏิบัติการอ่ืนๆระดับน้าตาลในเลือดสะสม ความดันโลหิต การทางานของไต(creatinine) ต้องใช้ระยะเวลาแสดงออกถึงพฤติกรรมท่ีถูกต้องและใช้เวลานานจึงจะเห็นผล ดังนั้นระยะเวลาการติดตามคร้ังน้ี 6 เดือนจึงเห็นผลการเปลี่ยนแปลงท่ีดีขึ้นเล็กน้อย แต่ถ้าจะให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงอย่างมีนยั สาคญั ควรมีการตดิ ตามท่นี านขึ้น รวมถึงมีการกระตุ้นเตือนหรือการเยย่ี มบ้านอย่างตอ่ เนือ่ งรว่ มด้วยกติ ติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบคุณ คุณสุดา พะเนียงทอง นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญท่ีได้ให้คาแนะนาด้านวิชาการขอขอบคุณอาจารย์ฌาน ปัทมะ พลยง มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ที่ให้คาแนะนาด้านสถิติ และขอขอบคุณคุณนฤมล นามงามพยาบาลหัวหน้าคลินิกโรคไตที่ช่วยรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ให้ลุล่วงได้ด้วยดีบรรณานกุ รม1. Dolovich LR, Nair KM, Ciliska DK, Lee HN, Birch S, Gafni A, et al. The diabetes continuity of care scale: the development and initial evaluation of a questionnaire that measures continuity of care from the patient perspective. Health Sco Care Community 2004; 12 (6): 475-87.2. King H, Aubert RE, Herman WH. Global burden of diabetes, 1995-2025: prevalence, numerical estimates, and projections. Diabetes care 1998; 21 (9): 1414-31.
3. สานกั สารนเิ ทศ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. คนไทยเสยี ชวี ิตจากเบาหวานวนั ละ 21 คน เร่ง 3 อ. 2 ส. แกป้ ัญหา. [ออนไลน์]. สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2557. เข้าถงึ ไดจ้ าก URL: http://pr.moph.go.th/iprg/ include/admin_hotnew/show_hotnew.php?idHot_new=564644. อษุ า ทศั นวิน, ธรี นชุ ห้านริ ตั ศิ ัย, วันเพญ็ ภิญโญภาสกลุ . ผลการเขา้ ค่ายเบาหวานกลางวันตอ่ การรับรู้ สมรรถนะแหง่ ตน พฤติกรรมตนเองและระดับนา้ ตาลในเลือดของผ้ปู ว่ ยโรคเบาหวาน ชนดิ ท่ี 2. วารสารสภา การพยาบาล 2553; 25: 53-66.5. จิราภรณ์ ชูวงศ์ และเจียมจิต โสภณสุขสถติ . ผลของการให้ความร้ทู างด้านสขุ ภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผ้ปู ่วยไตวายเรือ้ รงั ท่ไี ดร้ บั การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารวิจัยทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 2554; 5(2): 41-50.6. ศริ ิรตั น์ เรอื งจุ้ย และทวี ศริ วิ งศ์. วธิ กี ารปอ้ งกนั และชะลอไตเสอ่ื มในผปู้ ่วยเบาหวาน. วารสารอายรุ ศาสตร์ อีสาน 2554; 10 (3). 31-38.7. สถาบนั วจิ ยั และประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารปอ้ งกนั ดูแลรักษา ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า). กรงุ เทพมหานคร: โอ-วทิ ย์ (ประเทศไทย): 2553.8. นทิ รา กจิ ธรี ะวุฒิวงษ์, ภดู ทิ เตชาตวิ ัฒน.์ ความตรงและความเชือ่ มั่นของแบบสอบถามประเมินประสบการณ์ การดูแลต่อเน่อื งสาหรบั ผู้ปว่ ยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ฉบับภาษาไทย. วารสารสาธารณสขุ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 2556; 27(2): 81-95.9. สุภร บุษปวนชิ , พงศ์ศกั ด์ิ ด่านเดชา. พฤติกรรมการใชย้ าทไ่ี ม่เหมาะสมของผู้ปว่ ยโรคไตเร้อื รงั . สงขลานครินทร์ เวชสาร 2549; 24(4): 281-7.10. สานักงานสถิติแหง่ ชาต.ิ จานวนผู้ป่วยในจาแนกตามกลมุ่ สาเหตปุ ว่ ยจากสถานบริการสาธารณสขุ ของกระทรวง สาธารณสุข พ.ศ.2546-2555. [ออนไลน์].สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตลุ าคม 2557. เข้าถึงได้จาก URL: http://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries09.html11. งานคลนิ กิ โรคไตเร้ือรงั โรงพยาบาลสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี ระยอง. รายงานขอ้ มูล การรับบริการในโรงพยาบาลประจาปี 2556. เอกสารอัดสาเนา.12. Lbrahim G. Knowledge attitude and practice the three the three pillars of excellence and wisdom: a place in the medical profession. Eastern Mediterranean Health Journal1995; 1(1): 8-16.13. Bloom, B. S., Engelhart, N. D., Furst, E. J., Hill, W. H., & Krathwohl, D. R. (1956). Taxonomy of educational objectives: The classification of educational goals, Handbook I: cognitive domain. NY: David Mckay Company Inc.14. จนิ ตนา หามาลี นยั นา พิพฒั น์วณิชชาและรวีวรรณ เผา่ กณั หา. ผลของโปรแกรมการสง่ เสริมการรับรู้ตามแบบ แผนความเชือ่ ดา้ นสขุ ภาพต่อพฤตกิ รรมการชะลอความก้าวหน้าของโรคไตเรื้อรงั ในผู้สงู อายุโรคเบาหวานชนดิ ที่ 2 ท่ีมีภาวะเส่ยี งต่อการเกิดโรคไตเร้ือรัง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2557; 34(2). 67-86.
15. อุระณี รัตนพทิ ักษ์ กรี ดา ไกรนวุ ตั ร อภริ ดี ศรวี ิจติ รกมล และจุฑาทิพย์ วภิ าวัฒนะ. ผลของโปรแกรมการ จดั การเบาหวานต่อความรู้ พฤติกรรมและดัชนสี ุขภาพในผ้ปู ่วยเบาหวานชนดิ ท่ี 2. วารสารการพยาบาล 2556; 31(1): 7-18.16. สภุ าพร องค์สรุ ิยานนท.์ การพัฒนาพฤติกรรมการดแู ลตนเองของผปู้ ่วยโรคไตเร้ือรัง โรงพยาบาลเจา้ พระยา ยมราช จังหวดั สุพรรณบุร.ี วารสารสาธารณสุขและการพฒั นา 2551; (6)1: 32-38.17. Knuiman MW., Welborn TA., Mccann VJ., Stanon KG., Constable IJ. Prevalence of diabetic complications in relation to risk factors. Diabetes 1986; 35: 1332-9.18. Finkelstien FO., Story K., Firanek C., Barre P., Soroka S., Mujais S., et al. Perceived knowledge among patients for by nephrologists about chronic kidney disease and end-stage renal disease therapies. Kidney international 2008; 74: 1178-84.19. สพุ ิชชา อาจคิดการ, ลนิ จง โปธบิ าล, ดวงฤดี ลาศุขะ. พฤตกิ รรมการจัดการตนเองและปัจจัยทานายใน ผู้สงู อายุทีเ่ ป็นโรคไตเรอื้ รังระยะสุดทา้ ยท่ีไดร้ ับการลา้ งไตทางชอ่ งท้องอย่างตอ่ เน่ือง. วารสารการพยาบาล 2556; 40: 22-32.20. United states renal data system. CKD in the adult NHANES population. [online]. 20 October 2014. Available from: http://www.usrds.org/atlas09.aspx.
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: