สว่ นท่ี 1 บทนำ 1. ความเปน็ มา การศึกษาเป็นกระบวนการท่ีสำคัญในการพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพและเป็นกระบวนการ ท่ีช่วย สร้างความเจริญงอกงาม ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ทำให้มนุษย์สามารถ พัฒนา คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม สามารถอยู่รวมกันอย่างสันติ รู้เท่าทันการ เปล่ียนแปลง ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว มีความคิดริเริมสร้างสรรค์ รู้จักช่วยเหลือเก้ือกูลกันและ สามารถเกื้อหนุนการ พฒั นาประเทศได้อยา่ งเหมาะสม ซ่ึงส่ิงเหล่านี้ควรไดร้ ับการปลูกฝังและฝกึ ฝนให้ เกิดข้ึนกับผู้เรียนและพัฒนา ความสามารถของผู้เรียนเต็มศักยภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชบญั ญัติ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 (แกไ้ ข เพ่มิ เติม ฉบับที่ 3 พ.ศ.2553) ไดก้ ำหนดแนวการจัดการศึกษาไว้ ในหมวด 4 มาตรา 22 ว่า “หลกั การจัดการ ศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญ ท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” ซึ่งใน การจัดการจัดการศึกษา ครูหรือบุคคล ที่เกี่ยวข้องจะต้องคำนึงถึงผู้เรียนเป็นอันดับแรก ในการจัดการเรียน การสอนต้องให้ผู้เรียนจัดเน้ือหา สาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความสามารถและความถนัด ของผู้เรียน โดยคำนึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา, 2553 หน้า 43) กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษาได้กำหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ใน ทศวรรษที่สอง (พุทธศักราช 2552 – 2661) โดยมีวิสัยทัศน์ให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ จะต้องมีการปฏริ ปู การศกึ ษาและการเรียนร้อู ย่างเป็นระบบ 3 ประเด็นหลักคือ การพัฒนาคณุ ภาพ มาตรฐาน การศึกษา และการเรียนรู้ของคนไทยเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่ มีคุณภาพอย่างท่ัวถึง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษา ท้ังนี้ได้ กำหนดกรอบแนวทางใน การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ออย่างเป็นระบบไว้ 4 ประการ คือ การ พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่ง การเรียนรู้ยุคใหม่ และการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการใหม่ (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา , 2553 หน้า 5) ดังน้ัน โรงเรียนใน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) จะต้องบริหารจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2542 (แกไ้ ขเพิ่มเติมฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2553 และนโยบายปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษท่ี 2 (พุทธศักราช 2552 – 2661) ท้ังน้ีเพ่ือให้ เยาวชนไทยมีความรู้ ทักษะในการดำเนินชีวิต และ โรงเรียนทรายมูลหนองกุงทรายศรีพิทยา ได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอน ตามแนวนโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการปฏิรูปการศึกษาท่ีมุ่งสู่ มาตรฐานสากล โดยการพัฒนา ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพเพ่ือเป็นพลโลก มีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ เพื่อให้เยาวชน ของชาติเป็นผู้ท่ี ดี เก่ง และดำรงชีพอย่างมี ความสุข จากนโยบายดังกล่าว โรงเรียนทรายมูลหนองกุงทรายศรีพิทยา จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2565 ท่ีม่งุ เนน้ พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก และ การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปลูกฝังผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ พัฒนาการจัดการศึกษาให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพ
2 ผเู้ รียน และส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ในรูปแบบ ท่ีหลากหลาย และมีประสิทธิภาพ เพิ่ม โอกาสการเขา้ ถึงการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ ลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศึกษา จัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและพัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริม ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา 2. ขอ้ มูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา 2.1 ข้อมูลท่ัวไป 2.1.1 ชื่อสถานศกึ ษาโรงเรยี นทรายมลู หนองกุงทรายศรีพิทยา 2.1.2 สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 2.1.3 ทต่ี งั้ หมูท่ ี่ ตำบลทรายมูล อำเภอสวา่ งแดนดิน จังหวดั สกลนคร รหสั ไปรษณยี ์ 47110 2.1.4 เน้ือที่ 49 ไร่ 1 งาน 68 ตารางวา 2.1.5 ระดับชั้นท่ีเปดิ ชัน้ อนบุ าล ถงึ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 2.2 ประวัตโิ รงเรยี น โรงเรียนทรายมลู หนองกงุ ทรายศรีพทิ ยา ต้ังขึน้ เมื่อ 1 มกราคม 2765 นายโต๊ะ คำเพาะ นายอำเภอเปน็ ผู้จัดต้ัง อาศยั ศาลาวดั บา้ นทรายมูลเป็นท่เี รียนโดยให้ ชอ่ื วา่ โรงเรียนวัดบา้ นทรายมลู ตอ่ มา ในปี พ.ศ. 2766 ทางอำเภอไดส้ ่งนายลี สนุ ารักษ์ มาเป็นครูนอ้ ย 3 มิถุนายน 2772 ทางการได้ส่ง นายสา สิมมะโน มาเป็นครูน้อย และในปนี ้ีทางการได้แกไ้ ข นาม โรงเรยี นใหม่เป็นโรงเรยี นประชาบาลตำบลพันนา 2 (วัดบ้านทรายมูล) 17 เมษายน 2775 ทางการได้ส่ังยบุ โรงเรียน เนอื่ งจากรายไดข้ องประเทศไมส่ มดุลกับรายจ่าย เมอ่ื วันท่ี 27 มิถนุ ายน 2775 คณะราษฎร์ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเน้นแบบประชาธิปไตยจงึ สง่ั ต้ังโรงเรียน ขน้ึ ใหม่ เมื่อวันท่ี 1 ตุลาคม 2775 ใหน้ ายทศ จกั ษจุ ินดา เป็นครูใหญ่ ให้นายสา สิมมะโน เปน็ ครูน้อย และ ได้เปลย่ี นนามโรงเรียนใหม่เป็นโรงเรยี นประชาบาลตำบลพันนา 2 (วัดทรายศรี) 30 พฤษภาคม 2778 ทางการได้แต่งตั้งนายบุดดา ธิโสภา เปน็ ครใู หญ่ 16 ตุลาคม 2780 ทางการให้นายครอง จันดาวงศ์ มาเป็นครใู หญ่ 1 พฤษภาคม 2787 ได้เปลยี่ นนามโรงเรียนใหม่เปน็ โรงเรียนประชาบาลตำบลพันนา (ทรายศรีพิทยาสรรพ์) 15 สงิ หาคม 2794 ทางการได้ยา้ ยนายเชวง สารรี ตั น์ ไปดำรงตำแหน่งครูใหญ่ที่โรงเรยี น ประชาบาลตำบลพันนา 8 พัฒนะบำรุง และย้ายนายชูศักด์ิ ไชยบตุ ร มาดำรงตำแหนง่ ครูใหญ่แทน 25 พฤศจกิ ายน 2795 ทางการได้เปล่ยี นนามโรงเรียนใหม่เป็นโรงเรียนบ้านทรายมลู (ทรายศรี พทิ ยาสรรพ์) ไดร้ บั งบประมาณจากทางราชการและชาวบ้านมาทำประตู หน้าตา่ งโรงเรยี นจนเสร็จเรียบร้อย ทำสะพานเขา้ โรงเรยี น และซุ้มประตูเขา้ โรงเรยี นทงั้ สองด้าน 28 มิถนุ ายน 2508 ได้รบั งบประมาณจากจากทางการในการซ่อมแซมโรงเรยี นและขยาย ห้องเรียน อีก 1 หอ้ ง ไดน้ ำนักเรียนไปสอนที่ศาลาวัดบ้านทรายมูล 16 กันยายน 2508 ไดน้ ำนักเรยี นกลบั มาเรียนทีโ่ รงเรยี นตามเดมิ 30 พฤษภาคม 2510 นายบญุ กาสนิ พิลา มาเป็นครใู หญ่
3 1 มกราคม 2511 ไดท้ ำฐานเสาธงชาติ ก่ออฐิ ปนู รูป 8 เหล่ียม หน้าอาคารเรยี น 13 ธันวาคม 2511 ได้ทาสีโรงเรียนรอบนอกและประตูหน้าตา่ งดว้ ยสงี าชา้ ง โดยใชง้ บประมาณ โรงเรียน 16 ตุลาคม 2512 ได้เงินคา่ รื้อถอนร้ัวท่ีขยายใหท้ างหลวงมาสร้างรั้วไมถ้ าวรจนเสร็จ งบประมาณ 10,840 บาท 15 มกราคม 2514 ได้ทำร้ัวด้านหลงั เสาไมเ้ น้ือแขง็ พร้อมลอ้ มด้วยลวดหนาม 2 เสน้ ได้จากการ รอ้ื ถอนรัว้ เกา่ 30 มนี าคม 2516 ไดท้ ำการยกโครงหอประชุม โดยคณะครูในกล่มุ ภารโรงและชาวบ้านหนองกงุ บ้านทรายมลู และบ้านโนนท่อน 1 พฤษภาคม 2516 ทางราชการได้อนุญาตให้เปดิ ชนั้ ประถมปลาย 6 กรกฎาคม 2516 หมอเสริมศักดิ์ สุทธคิ ณาววิ ฒั น์ ใหใ้ ช้เงินประเภทบรจิ าคมาซื้อวัสดเุ ท คอนกรีตเสรมิ เหล็กพน้ื หอประชุมท่ีสร้างใหม่ เปน็ เงิน 6,000 บาท 10 สงิ หาคม 2516 ทางราชการได้ใชง้ บประมาณสร้างโรงฝกึ งานไว้ 1 หลงั 9 พฤษภาคม 2520 ทางราชการได้ยา้ ยนายหนจู ิต คณุ ารักษ์ มาดำรงตำแหนง่ ครใู หญโ่ รงเรยี น บ้านตาลโกน และใหย้ ้าย นายนวิ ตั ิ เหมะธุลิน มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่แทน 1 ตุลาคม 2520 ทางราชการไดจ้ ัดสรรงบประมาณการกอ่ สร้างอาคารเรียนใหจ้ ำนาวน 2 หลัง โดยสร้างแบบ ป.1ฉ. ขนาด 3 ห้องเรยี น กว้าง 9 เมตร ยาว 27 เมตร ราคาหลังละ 225,000 บาท และเรม่ิ ใช้ อาคารเรียนตั้งแตว่ นั ท่ี 1 มิถุนายน 2521 16 มิถุนายน 2531 สำนักงานการประถมศึกษาจังหวดั สกลนคร ได้แต่งตง้ั นายเสวียน เสนงาม มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรยี นบ้านทรายมูล 16 มิถนุ ายน 2548 สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 2 ไดแ้ ต่งต้งั นายสายันต์ พาดี มา ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตำแหน่งเลขที่ 5652 ข้ัน 30,590 บาท ตามคำสัง่ เลขท่ี 192/2548 ลง วนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2548 30 ตุลาคม 2550 สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 ได้แต่งตั้งนาย เขม็ เพชร กองแก้ว มาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 30 กนั ยายน 2558 ผู้อำนวยการเขม็ เพชร กองแก้ว เกษยี ณอายุราชการ และมอบหมายให้นาย เดชา สารมานติ ย์ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน รกั ษาการในตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 9 ธันวาคม 2558 ผู้อำนวยการเสง่ียม นรสาร ยา้ ยมารับตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรยี นตาม หนังสือสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 ท่ี ศธ 04143/3814 ลงวนั ที่ 3 ธันวาคม 2558 เลขท่ีตำแหน่ง 5652 ขั้น 52,060 บาท 30 กันยายน 2559 นายระวี เสนากุล และนางกัลยาณี พิมพะวะ ไดเ้ กษยี ณอายุราชการ 30 กันยายน 2560 นายสุภาพ จันทรม์ าเมือง และนางทวรี ัตน์ เสนากุล ได้เกษยี ณอายุราชการ 13 ธันวาคม 2560 โรงเรยี นไดร้ บั จัดสรรอาคารเรียน 105/29 ขนาด 4 ห้องเรยี น 2 ช้ันใตถ้ นุ โลง่ 28 ธนั วาคม 2560 โรงเรยี นไดร้ บั บรรจคุ รูใหม่ วิชาเอก พลศึกษา คือ วา่ ที่ รต. เกียรติศักด์ิ พรหมกสิกร 29 มีนาคม 2561 โรงเรียนได้รับยา้ ยครู วิชาเอก คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ คือ นางเกศสนิ ี ศรแี ก้ว 30 กันยายน 2561 นางศิริกลุ แสนสาคร ไดเ้ กษยี ณอายุราชการ 1 ตลุ าคม 2561 โรงเรยี นได้รับยา้ ยครู วชิ าเอกภาษาไทย คือ นางนวลจนั ทร์ กมุ ภวงศ์
4 30 กนั ยายน 2562 นางชอ่ เพชร โสมศรแี พง ไดเ้ กษยี ณอายุราชการ 26 สิงหาคม 2562 นางมาลยั ประดับศลิ ป์ และนางสาวปณั ณรัตน์ โพธติ า ได้มาบรรจขุ ้าราชการ ครู ในตำแหน่ง ครผู ้ชู ่วย 22 มถิ นุ ายน 2563 มบี ุคลากรครยู า้ ยเขา้ มา 2 ราย คือ นางสาวดวงกมล จันทรมิ า ครูพนกั งาน ราชการ วิชาเอก นาฏศลิ ป์ และนางสาวลดั ดาวัลย์ แว่นแควน้ ครขู ัน้ วิกฤติ วชิ าเอก คณิตศาสตร์ 27 กรกฎาคม 2563 นางสาวอภญิ ญา ฮมแสน ไดม้ าบรรจุข้าราชการครู ในตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย 30 กนั ยายน 2563 มขี ้าราชการครู เกษียณอายุราชการ 3 ราย คือ นางวารี ธนะคำดี, นางสุนันท์ จนั ทรม์ าเมือง และนางสมพร น่นุ สวสั ดิ์ 20 ตุลาคม 2563 มีขา้ ราชการครูย้ายเขา้ มา 2 ราย คือ นายบญุ สนิ ธุ์ พงษไ์ ทย วิชาเอก อุตสาหกรรมศิลป์ และนางสาวธญั ญารัตน์ แวน่ แคว้น วชิ าเอก เคมี 18 ธนั วาคม 2563 มคี รูย้ายเขา้ มา 1 ราย คือ นางสาวโสภดิ า ไชยทะ ตำแหน่ง ครพู ี่เลีย้ งเดก็ พิการ 29 ตลุ าคม 2564 นางสาวดวงกมล จนั ทรมิ า ครูพนักงานราชการ วิชาเอก นาฏศลิ ป์ ได้ย้ายไป ปฏิบัติหน้าท่ที ำการสอนที่ โรงเรียนบา้ นธาตุ ตำบลธาตทุ อง อำเภอสว่างแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร และ นางสาวลัดดาวลั ย์ แว่นแควน้ ครูข้นั วกิ ฤติ วชิ าเอก คณติ ศาสตร์ ได้ย้ายไปปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ทำการสอนท่ี โรงเรยี นบ้านถอ่ น ตำบลพนั นา อำเภอสว่างแดนดนิ จังหวัดสกลนคร 1 พฤศจิกายน 2564 โรงเรียนได้จ้างครูอัตราจ้าง จำนวน 2 ราย ได้แก่ นายจารวุ ัฒน์ สัพโส วิชาเอกพลศึกษา และนางสาวสรุ ีรัตน์ เชือ้ แก้ว วชิ าเอก วทิ ยาศาสตรท์ ั่วไป 29 ธนั วาคม 2564 มขี า้ ราชการครูมาบรรจใุ นตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย 1 ราย คือ นายเทิดทลู สพั โส วิชาเอก ดนตรี 4 เมษายน 2565 นางเกศสนิ ี ศรีแกว้ ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ได้ยา้ ยไปปฏิบตั ิ หนา้ ที่ทำการสอนที่ โรงเรยี นบา้ นบา้ นนาถ่อน ตำบลตน้ ผ้ึง อำเภอพังโคน จงั หวัดสกลนคร ปจั จุบัน นายเสงีย่ ม นรสาร ดำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา และ นายเดชา สารมานติ ย์ ดำรงตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา สัญลักษณ์ทส่ี ำคญั ของโรงเรียน ปญญฺ า โลกสมฺ ิ ปชโฺ ชโต (ปัญญา เป็นแสงสว่างในโลก) • ปรัชญา ความดี คือ มาตรซานการศึกษา • คติพจน์ ความรู้ดี ทกั ษะเดน่ เน้นคุณธรรม นำชุมชน • คำขวญั คือ สีขาว – แดง • สปี ระจำโรงเรยี น - สีขาว หมายถึง ความบรสิ ทุ ธ์ิ ความสำเรจ็ - สีแดง หมายถงึ ความเข้มแข็ง ความกล้าหาญ • พระพุทธรูปประจำโรงเรียน พระพุทธมงคลศริ ิรุ่งโรจน์ • ตน้ ไม้ประจำโรงเรยี น ต้นแผ่บารมี • ดอกไมป้ ระจำโรงเรียน ดอกทองอุไร
5 • ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรยี นทรายมูลหนองกุงทรายศรีพทิ ยา อักษรย่อ ท.ก.ศ. สีน้ำเงิน อยู่บนหนังสือ มีเครื่องหมายอุณาโลม ส่อง ประกายด้วยรัศมีสีแดงล้อมข้างล่างด้วยป้ายสีเหลืองชื่อโรงเรียนสีน้ำเงิน ความหมาย โรงเรียนทรายมูลหนองกุงทรายศรีพิทยา เป็นสถานศึกษา ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ท่ีถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา (อุณาโลม) ภายใต้แสงสว่าง (รัศมี) บ่งบอกถึงความสว่างไสว เจริญรุ่งเรือง เข้มแข็ง กล้าหาญ ซึ่งล้อมด้วยความฉลาดและหลักแหลม โดยมีปัญญ า (ตวั หนงั สือ) เป็นเครือ่ งนำทางชีวติ 3. อำนาจหนา้ ท่ีของสถานศึกษา โรงเรียนทรายมูลหนองกุงทรายศรีพิทยา เป็นหน่วยงานท่ีสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่ ดำเนินการใหเ้ ป็นไปตามอำนาจหน้าทีต่ ามกฎหมาย วา่ ด้วยระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ดงั นี้ 1) จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจน บริบทและความตอ้ งการของชมุ ชนและท้องถิ่น 2) จดั ตัง้ งบประมาณและรับผดิ ชอบการใชจ้ า่ ยงบประมาณของสถานศึกษา 3) พฒั นาหลกั สตู รของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ความตอ้ งการของนักเรียน ชมุ ชนและท้องถนิ่ 4) จัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมและส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง 5) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และแนวปฏบิ ตั ิต่าง ๆ ตามท่ีกฎหมายกำหนด 6) กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผลงานตามแ ผนงานโครงการและประเมนิ ผลการปฏิบัติงานตลอดจนการ พิจารณาความดีความชอบ การพัฒนาและการดำเนินการทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษาใน สถานศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด 7) ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษารวมทั้งปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ และจัดหาผลประโยชน์จาก ทรัพย์สินของสถานศึกษา 8) จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ความร่วมมือในการประเมินคุณภาพ การศึกษาจากหน่วยงานภายนอกของสถานศึกษา รวมท้ังการรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ สถานศกึ ษาและสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา 9) ส่งเสริมความเข้มแข็งใหก้ ับชุมชนและสรา้ งความสมั พนั ธ์กับสถานศึกษาอื่นในชมุ ชนและท้องถิน่ 10) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนที่เกี่ยวกับกิจการภายในสถานศึกษา หรือตามท่ีได้รับมอบหมาย และตามท่ีกฎหมาย กำหนดอำนาจหนา้ ท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
6 4. ข้อมลู นักเรียน ตาราง 1.1 ข้อมูลนกั เรยี น โรงเรยี นทรายมูลหนองกงุ ทรายศรีพิทยา จำแนกตามระดับชั้นเรยี น (ขอ้ มลู DMC ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564) ชัน้ /เพศ ชาย หญงิ รวม ห้องเรยี น อนุบาล 2 6 10 16 1 อนบุ าล 3 8 7 15 1 รวม อนุบาล 14 17 31 2 ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 15 11 26 2 ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 15 10 25 1 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 15 11 26 1 ประถมศึกษาปีท่ี 4 16 17 33 2 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 15 14 29 1 ประถมศึกษาปีที่ 6 9 14 23 1 รวมประถม 85 77 162 8 มธั ยมศึกษาปีที่ 1 37 34 71 2 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 31 28 59 2 มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 19 28 47 2 รวมมธั ยมต้น 87 90 177 6 รวมทั้งหมด 186 184 370 16 5. ขอ้ มลู บุคลากร ตาราง 1.2 ข้อมูลครู และบุคลาการทางการศึกษา โรงเรียนทรายมูลหนองกงุ ทรายศรพี ิทยา จำแนกตามตำแหนง่ ตำแหนง่ จำนวน รวม ชาย หญิง ผอู้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ 1-1 รองผ้อู ำนวยการชำนาญการพิเศษ 1 - 1 ครูชำนาญการพิเศษ 3 13 16 ครชู ำนาญการ - -- ครู - 2 2 ครูผ้ชู ว่ ย 112 พนักงานราชการ - -- ธุรการ - 1 1 ครอู ัตราจา้ ง 123 นักการภารโรง 1-1 รวม 8 19 27
7 6. หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนทรายมูลหนองกงุ ทรายศรีพทิ ยา พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตาราง 1.3 โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั ประถมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น ป.6 ระดบั ประถมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 160 ภาษาไทย 160 คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 120 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 200 200 160 160 120 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 120 120 (40) ประวตั ิศาสตร์ 80 80 80 120 120 ศาสนาศีลธรรม จริยธรรม (40) (40) (40) (40) (40) หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำรงชวี ิตในสงั คม (40) (40) (40) (80) (80) (80) เศรษฐศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ 20 20 20 80 80 80 สขุ ศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ 20 20 20 80 80 80 การงานอาชพี ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 40 40 40 รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 200 200 200 80 80 80 รายวชิ า/กจิ กรรม ที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเตมิ 840 840 840 840 840 840 ตามความพรอ้ มและจดุ เน้น -ส11201 หน้าทฯี่ 1 ป.1 -ส14201 หนา้ ทฯี่ 4 ป.4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กจิ กรรมแนะแนว -ส12201 หนา้ ทีฯ่ 2 ป.2 40 -ส15201 หนา้ ที่ฯ5 ป.5 40 กจิ กรรมนักเรียน -ส13201 หนา้ ที่ฯ3 ป.3 -ส16201 หน้าท่ีฯ6 ป.6 - ลกู เสือ - ชมุ นมุ 40 40 40 40 40 40 รวมเวลากิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 40 40 40 30 30 30 30 30 30 40 40 40 รวมเวลาทง้ั หมด 110 110 110 110 110 110 ไม่เกนิ 1,000 ช่ัวโมง ไม่เกนิ 1,000 ชวั่ โมง
8 ตาราง 1.4 โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั มธั ยมศึกษา กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน ม.3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ม.1 ม.2 ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) ศาสนาศลี ธรรม จริยธรรม 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) หนา้ ทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) และการดำเนนิ ชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศลิ ปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชพี และเทคโนโลยี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ภาษาตา่ งประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) 880 (21นก.) 880 (21นก.) 880 (21นก.) รายวิชาเพม่ิ เติม 200 (5 นก.) 200 (5 นก.) 200 (5 นก.) กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 40 40 40 120 120 120 กจิ กรรมแนะแนว 10 10 10 กิจกรรมนกั เรียน 120 120 120 - ลูกเสอื ยวุ กาชาด 1,200 1,200 1,200 - ชุมนมุ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ สาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน รวมเวลาเรยี นท้งั หมด
9 7. ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ระดบั ชาติ ปกี ารศึกษา 2564 7.1 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2564 ตาราง 1.5 แสดงคะแนนประเมินผลการอา่ น ด้าน คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละจำแนกตามสังกดั โรงเรยี น เขตพน้ื ท่ี จงั หวดั ศึกษาธกิ ารภาค สังกัด ประเทศ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 87.50 72.17 74.66 72.77 69.04 69.95 การอ่านออกเสียง S.D. 9.02 13.98 71.90 12.91 12.54 12.55 13.91 72.79 6.92 9.43 การอ่านรเู้ ร่ือง คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 79.70 69.38 72.72 72.19 72.30 71.38 S.D. 12.98 21.43 9.13 8.94 8.99 9.40 รวม 2 ด้าน คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 70.77 73.71 72.50 70.67 S.D. 19.99 19.56 19.64 21.38 แผนภูมิ 1.1 เปรยี บเทยี บคะแนนประเมินผลการอ่าน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียน กับ เขตพ้ืนท่ี จงั หวัด ศึกษาธิการภาค สงั กดั และประเทศ ตาราง 1.7 การเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562-2564 ปี คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ รวม 2 ด้าน การอ่านออกเสียง การอา่ นรู้เรอื่ ง 2562 83.00 93.22 88.11 2563 73.83 80.41 77.12 2564 87.50 71.90 79.70
10 แผนภูมิ 1.2 การเปรยี บเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ น (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562-2564 100 การอ่านรเู้ รือ่ ง รวม 2 ดา้ น 80 60 40 20 0 การอา่ นออกเสียง 2562 2563 2564 7.2 ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ตาราง 1.8 ผลการประเมนิ คุณภาพผ้เู รียน (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ด้าน คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละจำแนกตามสงั กัด โรงเรียน เขตพน้ื ท่ี จงั หวัด ศกึ ษาธิการภาค สงั กดั ประเทศ ดา้ นคณติ ศาสตร์ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 64.00 47.71 50.48 48.84 48.73 49.44 Mathematics S.D. 9.76 21.41 69.00 20.69 20.50 20.63 21.12 56.14 11.71 20.17 ดา้ นภาษาไทย คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 66.50 56.55 56.91 54.81 55.48 52.80 Thai language S.D. 19.84 38.60 19.27 185.81 19.31 20.03 รวม 2 ดา้ น คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 52.10 53.71 51.83 52.11 S.D. 36.85 36.13 36.92 38.20 แผนภูมิ 1.3 เปรยี บเทยี บคะแนนประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ของโรงเรียน กับเขตพืน้ ที่ จงั หวัด ศึกษาธิการภาค สังกัด และประเทศ
11 7.3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ตาราง 1.9 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564 ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คา่ เฉล่ยี ระดบั โรงเรียน 65.53 33.59 40.44 34.06 ค่าเฉลย่ี ระดับจังหวัด 49.65 34.55 35.49 33.35 คา่ เฉลยี่ ระดบั สงั กดั 49.54 35.46 35.85 33.68 ค่าเฉลยี่ ระดบั ประเทศ 50.38 39.22 36.83 34.31 แผนภมู ิ 1.4 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรียน กับ เขตพ้ืนท่ี จงั หวดั ศึกษาธกิ ารภาค สงั กดั และประเทศ 80 60 40 20 0 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย โรงเรยี น จงั หวดั สงั กดั ประเทศ ตาราง 1.10 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562-2564 ปีการศกึ ษา/รายวชิ า ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 2562 52.05 30.24 35.65 36.07 2563 61.06 38.17 28.50 41.33 2564 65.53 33.59 40.44 34.06
12 แผนภูมิ 1.5 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562-2564 70 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 60 50 40 30 20 10 0 ภาษาไทย 2561 2562 2563 7.4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 - ไม่มนี กั เรียนเข้าทดสอบ
13 8. ข้อมูลพน้ื ฐานอาคารสถานท่ี แบบอาคาร สภาพ จำนวนชั้นของ จำนวนห้องในอาคารแยกตาม อาคารเรียน อาคาร อาคาร ประโยชน์ใชส้ อย แบบ ป.1ฉ สร้างเมอ่ื พ.ศ. 2518 หอ้ งผู้อำนวยการ อาคารเรยี น หอ้ งรองผู้อำนวยการ แบบ ป.1ฉ ดี 1 หอ้ งประชุม สร้างเมอ่ื พ.ศ. 2520 อาคารเรียน ห้องการเงินพสั ดุ แบบ ป.1ฉ สร้างเมอ่ื พ.ศ. 2520 ห้องเกบ็ พสั ดุและครุภัณฑ์ แจง้ ร้ือถอน 2 หอ้ งชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3/1, 3/2 อาคารเรียน แบบ สปช. 105/29 หอ้ งแนะแนว สร้างเมอ่ื พ.ศ. 2538 พอใช้ได้ 2 หอ้ งสงั คม อาคารเรยี น ดี หอ้ งนาฏศลิ ป์ แบบ สปช. 105/29 ดี สรา้ งเมื่อ พ.ศ. 2539 หอ้ งชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/2 อาคารห้องสมุด แบบ สปช. 102/26 ห้องชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1, 2, 6 สรา้ งเมื่อ พ.ศ. 2558 อาคารเรียน หอ้ งภาษาองั กฤษ แบบ สปช. 105/29 สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. 2539 2 หอ้ งภาษาไทย อาคารอเนกประสงค์ ห้องวิทยาศาสตร์ แบบ สปช. 206/26 สรา้ งเม่อื พ.ศ. 2539 ห้องคณิตศาสตร์ สว้ ม แบบ สปช. 601/26 หอ้ งคอมพิวเตอร์ สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. 2539 ห้องชั้นอนบุ าลปีที่ 2-3 2 หอ้ งชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3, 4, 5 ดี 1 ห้องสมดุ ห้อง ICT ดี 2 หอ้ งชน้ั อนุบาลปีที่ 2-3 ห้องชั้นประถมศึกษาปีที่ 3, 4, 5 ดี 1 ดี 1
14 แบบอาคาร สภาพ จำนวนช้นั ของ จำนวนห้องในอาคารแยกตาม สว้ ม อาคาร อาคาร ประโยชนใ์ ช้สอย แบบ สปช. 602/26 สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. 2540 ดี 1 สว้ ม แบบ สปช. 602/26 ดี 1 สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. 2540 สว้ ม ดี 1 แบบ สปช. 602/26 สรา้ งเมื่อ พ.ศ. 2540 ดี 1 ส้วม แบบ สปช. 602/26 ดี 1 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2540 สว้ ม ดี แบบ สปช. 601/26 สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. 2545 ดี สนามเด็กเล่น แบบสนามเดก็ เล่น ดี สร้างเมือ่ พ.ศ. 2548 ประดษิ ฐานพระพุทธรปู ดี 2 แบบ ประดิษฐานพระพุทธรปู สรา้ งเมื่อ พ.ศ. 2546 ถังเกบ็ น้ำ แบบ ฝ.33 สรา้ งเมอ่ื 2520 อาคารเรียน แบบ สปช.105/29 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2561
15 9. โครงสร้างการบริหารองคก์ ร นายเสงี่ยม นรสาร ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน รองผู้อานวยการสถานศึกษา กล่มุ บริหารงานวชิ าการ กล่มุ บริหารงานงบประมาณ กล่มุ บริหารงานบุคคล กล่มุ บริหารงานทว่ั ไป 1. การพัฒนาหรอื การดำเนนิ การเกย่ี วกบั 1. การจัดทาํ แผนงบประมาณและคาํ ขอ 1. การวางแผนอัตรากาํ ลัง 1. การพัฒนาระบบและเครือข่ายขอ้ มูล การให้ความเหน็ การพฒั นาสาระหลกั สตู ร ตง้ั งบประมาณเพื่อเสนอต่อ 2. การจัดสรรอัตรากําลังขา้ ราชการครู สารสนเทศ ทอ้ งถ่นิ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2. การประสานงานและพฒั นา 2. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั 3. การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง เครือขา่ ยการศกึ ษา 3. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา พื้นฐาน แล้วแต่กรณี 4. การเปลยี่ นตําแหนง่ ใหส้ งู ขึน้ การย้าย 3. การวางแผนการบรหิ ารงาน 4. การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศึกษา 2. การจัดทาํ แผนปฏิบัตกิ ารใช้จา่ ยเงิน ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ การศึกษา 5. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ตามทไ่ี ดร้ บั จัดสรรงบประมาณจาก ศกึ ษา 4. งานวิจยั เพ่ือพัฒนานโยบายและแผน 6. การวดั ผล ประเมนิ ผล และดำเนินการ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ 5. การดาํ เนินการเก่ียวกับการเลือ่ นข้นั 5. การจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนา เทียบโอนเทา่ ผลการเรยี น พืน้ ฐานโดยตรง เงนิ เดอื น องคก์ ร 7. การวิจัยเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาใน 3. การอนุมัตกิ ารใช้จา่ ยงบประมาณที่ 6. การลาทกุ ประเภท 6. การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัตงิ าน สถานศึกษา ไดร้ ับจัดสรร 7. การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน 7. งานเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา 8. การพฒั นาและสง่ เสริมให้มแี หลง่ เรยี นรู้ 4. การขอโอนและการขอเปลย่ี นแปลง 8. การดาํ เนินการทางวินัยและการ 8. การดําเนนิ งานธรุ การ 9. การนเิ ทศการศกึ ษา งบประมาณ ลงโทษ 9. การดแู ลอาคารสถานที่และ 10. การแนะแนว 5. การรายงานผลการเบกิ จ่าย 9. การสงั่ พักราชการและการสั่งใหอ้ อก สภาพแวดล้อม 11. การพฒั นาระบบประกันคุณภาพ งบประมาณ จากราชการไว้กอ่ น 10. การจดั ทําสาํ มะโนผู้เรยี น ภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา 6. การตรวจสอบติดตามและรายงาน 10. การรายงานการดําเนนิ การทางวนิ ัย 11. การรับนกั เรียน 12. การสง่ เสริมชุมชนใหม้ คี วามเข้มแขง็ การใชง้ บประมาณ และการลงโทษ 12. การเสนอความเห็นเกีย่ วกับเร่อื ง ทางวชิ าการ 7.การตรวจสอบติดตามและรายงานการ 11. การอทุ ธรณ์และการรอ้ งทุกข์ การจัดตั้ง ยบุ รวมหรือเลิกสถานศึกษา 13. การประสานความรว่ มมือในการ ใช้ผลผลติ จากงบประมาณ 12. การออกจากราชการ 13. การประสานการจัดการศึกษาใน พัฒนาวชิ าการกับสถานศกึ ษา และองค์กร 8. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ 13. การจัดระบบและการจัดทาํ ทะเบยี น ระบบ นอกระบบและตามอัธยาศยั อน่ื เพอื่ การศึกษา ประวัติ 14. การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 14. การส่งเสริมและสนับสนนุ งานวชิ าการ 9. การปฏบิ ัติงานอืน่ ใดตามที่ไดร้ บั 14. การจัดทํา บัญชรี ายชอื่ และให้ 15. การทศั นศกึ ษา แก่ บุคคล ครอบครวั องคก์ ร มอบหมายเกยี่ วกับกองทนุ เพอื่ ความเห็นเก่ยี วกับการเสนอขอ 16. งานกจิ การนกั เรยี น หน่วยงาน สถานประกอบการ การศึกษา พระราชทาน เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ 17. การประชาสัมพันธง์ านการศึกษา 15. การจัดทำระเบยี บและแนวปฏิบัติ 10. การบรหิ ารจัดการทรัพยากรเพ่อื 15. การส่งเสริมการประเมินวทิ ยฐานะ 18. การส่งเสริม สนับสนนุ และประสาน เก่ียวกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษา การศกึ ษา ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการ การจัดการศกึ ษาของบุคคล ชมุ ชน 16. การคัดเลือกหนงั สอื แบบเรียน เพ่อื 11. การวางแผนพสั ดุ ศึกษา องค์กร หนว่ ยงานและ สถาบนั สงั คมอนื่ ใช้ในสถานศึกษา 12. การกําหนดรปู แบบรายการ หรือ 16. การส่งเสริมและยกย่องเชิดชเู กียรติ ท่ีจัดการศึกษา 17. การพัฒนา และใชส้ อ่ื เทคโนโลยีเพอื่ คณุ ลักษณะเฉพาะของครภุ ัณฑ์ หรอื 17.การสง่ เสริมมาตรฐานวิชาชีพและ 19. งานประสานราชการกับส่วน การศกึ ษา สิ่งกอ่ สร้างที่ใช้เงิน งบประมาณเพอ่ื จรรยาบรรณวิชาชีพ ภูมิภาคและส่วนท้องถน่ิ (ท) การ เสนอต่อปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารหรอื 18. การสง่ เสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรมและ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั จริยธรรมสําหรับข้าราชการครแู ละ 20. การจัดระบบการควบคุมภายใน พืน้ ฐานแลว้ แต่ กรณี บคุ ลากรทางการศกึ ษา หน่วยงาน 13. การพัฒนาระบบข้อมูลและ 19. การริเรม่ิ สง่ เสริมการขอรบั 21. แนวทางการจดั กิจกรรมเพ่ือ สารสนเทศเพอื่ การจัดทาํ และจัดหาพัสดุ ใบอนญุ าต ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมในการลงโทษ 14. การจดั หาพสั ดุ 20. การพัฒนาข้าราชการครแู ละ นกั เรียน 15. การควบคมุ ดูแล บาํ รงุ รักษาและ บุคลากรทางการศกึ ษา การดําเนินการท่ี จาํ หนา่ ยพสั ดุ เกี่ยวกับการบริหารงาน บุคคลให้เปน็ ไป 16. การจัดหาผลประโยชนจ์ าก ตามกฎหมายว่าดว้ ยการน้ัน ทรพั ย์สิน 17. การเบกิ เงินจากคลงั 18. การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และ การจา่ ยเงิน 19. การนําเงนิ ส่งคลัง 20. การจัดทําบญั ชีการเงิน 21. การจดั ทํารายงานทางการเงนิ และ งบการเงนิ 22. การจดั ทําหรอื จดั หาแบบพิมพบ์ ญั ชี ทะเบียน และรายงาน
10. แผนผงั โรงเรยี นทรายมลู หนองกงุ ทรายศรพี ทิ ยา สพป.สกลนคร เข
ขต 2
สว่ นที่ 2 ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา โรงเรียนทรายมูลหนองกุงทรายศรีพิทยา ได้นำยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษา แห่งชาติ (พ.ศ. 2561- 2580) นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ 2564 และบริบทต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง มากำหนดเป็นกรอบแนวทางใน การจัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 ของโรงเรียนทรายมูลหนองกุงทรายศรีพิทยา โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ 1. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 134 ตอนที่ 40 ก 6 เมษายน 2560 มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศกึ ษาเป็นเวลาสบิ สองปี ต้ังแต่ ก่อนวยั เรียนจน จบการศึกษาภาคบงั คับอยา่ งมีคุณภาพโดยไมเ่ กบ็ ค่าใชจ้ า่ ย รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพ่ือ พัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชนเขา้ มีส่วนรว่ มในการดำเนินการดว้ ย รัฐต้องดำเนินการใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งสง่ เสริม ให้ มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชนใน การจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษา ดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ท้ังนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซ่ึงอย่างน้อย ต้องมี บทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการ ให้ เป็นไปตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตดิ ้วย การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญตาม ความถนดั ของตน และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับ การศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รบั การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความถนัดของตน ให้จัดต้ังกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา และเพ่อื เสริมสรา้ งและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รฐั จัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้ มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่ อนภาษี ด้วย ทงั้ นี้ ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ ซง่ึ กฎหมายดังกลา่ วอย่างนอ้ ยต้องกำหนดใหก้ ารบรหิ ารจัดการกองทุน เป็น อิสระและกำหนดใหม้ ีการใช้จา่ ยเงนิ กองทุนเพื่อบรรลวุ ัตถปุ ระสงคด์ ังกล่าว
18 2. ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติได้ดำเนินการยกร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี โดยกำหนดวิสัยทัศน์ เปา้ หมายและยุทธศาสตร์ ดงั นี้ วิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” และเปน็ คตพิ จน์ประจำชาตวิ า่ “มั่นคง มัง่ คั่ง ยัง่ ยนื ” ความม่ันคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และ มีความ มนั่ คงในทุกมิติทงั้ มิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และการเมอื ง เช่น ประเทศ มีความม่นั คงใน เอกราชและอธิปไตย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของประชาชน มีระบบ การเมืองท่ีมั่นคงเป็นกลไกที่นําไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเน่ืองและโปร่งใสตาม หลักธรรมาภิบาล สังคมมี ความปรองดองและความสามัคคีสามารถผนึกกําลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชน มีความเข้มแข็ง ครอบครัวมี ความอบอุ่น ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ท่ีมั่นคงพอเพียง กับการดํารงชีวิต มีการออม สาํ หรบั วยั เกษียณ ความมนั่ คงของอาหาร พลงั งาน และนำ้ มที ่ีอยู่อาศยั และความปลอดภยั ในชีวิตทรพั ย์สนิ ความมั่งค่ัง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความย่ังยืน จน เข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหล่ือมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วน มคี ุณภาพชีวิต ตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติไม่มีประชาชนท่ีอยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมี ความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ท้ังในตลาดโลกและตลาด ภายในประเทศเพื่อให้สามารถสร้างรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้าง ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพ่ือให้สอดรับกับบริบทการพัฒนา ที่เปล่ียนแปลงไป และประเทศไทยมี บทบาททสี่ ําคญั ในเวทีโลก และมคี วามสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศในภูมิภาค เอเชีย เป็นจุดสําคัญของการเช่อื มโยงในภูมิภาค ทั้งการ คมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการ ทําธุรกิจ เพ่ือให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากนี้ ยังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้างการพัฒนา ตอ่ เนื่องไปได้ได้แก่ ทุนมนุษย์ทนุ ทางปญั ญา ทุนทางการเงนิ ทุนที่เป็นเครือ่ งมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และ ทนุ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ความย่ังยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้และคุณภาพชีวิตของ ประชาชน ให้เพ่ิมขน้ึ อยา่ งต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้การรักษา และการฟ้ืนฟูฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดีไม่สร้างมลภาวะ ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกิน ความสามารถในการรองรบั และเยยี วยาของระบบนิเวศ การผลติ และการบรโิ ภค เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม และ สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ทรัพยากรธรรมชาติมี ความอุดมสมบูรณ์มากข้ึนและสิ่งแวดล้อมมี คุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความ เอ้ืออาทร เสียสละเพ่ือผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมี นโยบายท่ีมุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาค
19 ส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนาอย่างสมดุล มี เสถียรภาพ และยั่งยืน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศคือ“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา อย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศใน หลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความ เสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และมีภาครัฐของ ประชาชน เพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการ กระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการและการเขา้ ถึงการให้บริการของภาครฐั ประเด็นยทุ ธศาสตรช์ าติ 1 ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสําคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติสังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยีและระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม และภัยพิบัติได้ทุก รปู แบบ และทุกระดับความรนุ แรง ควบคู่ไปกับการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา ด้านความมั่นคงท่ีมีอยู่ในปัจจบุ ัน และท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคก์ รที่ไม่ใช่รฐั รวมถงึ ประเทศเพ่ือนบ้าน และมิตรประเทศทัว่ โลกบนพื้นฐานของหลักธรร มาภิบาล เพ่ือเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่น ๆ ให้สามารถขับเคล่ือนไป ไดต้ ามทิศทางและเป้าหมายทกี่ ำหนด 2 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา ท่ีมุ่งเน้นการ ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิตบิ นพ้ืนฐานแนวคดิ 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดย มองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วั ฒ นธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทาง ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ในด้านอื่นๆ นำมา ประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของ เศรษฐกิจและสังคมโลก สมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ท้ังโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัล และการปรับ สภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับ อนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับ ปัจจุบัน พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้าง งานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุน ในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมข้นึ ของคนชนั้ กลาง และลดความเหล่อื มลำ้ ของคนในประเทศไดใ้ นคราวเดียวกนั 3 ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนา ท่ีสำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมทั้ง กาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ
20 สังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดที่ ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะส่ือสาร ภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสาม และอนุรักษ์ภาษา ท้องถิน่ มีนิสัยรักการเรียนรแู้ ละการพัฒนาตนเอง อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต สกู่ ารเปน็ คนไทยที่มที ักษะสูง เป็น นวตั กร นักคดิ ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอน่ื ๆ โดยมสี มั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง 4 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมาย การพัฒนาท่ีให้ ความสำคัญ กับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถ่ิน มาร่วม ขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมทำ เพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจ และความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับทอ้ งถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแขง็ ของชุมชน ในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ท้ังในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และ สภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และ สงั คมให้นานทส่ี ุด โดยรฐั ให้หลักประกนั การเขา้ ถึงบรกิ ารและ สวัสดกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและทว่ั ถึง 5 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมาย การพัฒนาท่ีสำคัญเพ่ือนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศ อย่างบูรณาการ ใช้พืน้ ที่เป็นตัวตง้ั ในการกำหนดกลยุทธแ์ ละแผนงาน และการใหท้ ุกฝา่ ยทีเ่ ก่ียวข้องไดเ้ ขา้ มามี ส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าทจ่ี ะเป็นไปไดโ้ ดยเปน็ การดำเนินการบนพนื้ ฐานการเตบิ โตรว่ มกัน ไม่ ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม และคุณภาพชีวติ โดยให้ความสำคัญกบั การสร้างสมดุลทั้ง 3 ด้าน อันจะ นำไปสู่ความยงั่ ยนื เพอ่ื คนรุ่นตอ่ ไปอย่างแท้จรงิ 6 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการ พัฒนาท่ีสำคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์ ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐท่ีทำ หน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมกี ารแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลกั ธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัว ใหท้ ันตอ่ การเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิง การนำนวตั กรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาด ใหญ่ ระบบการทำงานท่ีเป็นดิจิทัล เข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝัง ค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์และสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างสิ้นเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความ ชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็น มีความทันสมัย มคี วามเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่การลด ความเหล่ือมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการ บรหิ ารทีม่ ีประสทิ ธิภาพ เป็นธรรม ไมเ่ ลอื กปฏิบตั แิ ละการอาํ นวยความยุตธิ รรมตามหลกั นติ ธิ รรม 3. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึงเป็นการ แปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐานใน การยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความม่ันคง ม่ังคง่ั ย่งั ยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญา
21 ของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีหลกั การท่สี ำคญั คอื 1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่าง สมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภมู คิ มุ้ กันและการบริหารจดั การความเสยี่ งที่ดี ซ่ึงเป็นเงอ่ื นไขท่ี จำเป็นสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนท่ีสมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคม คุณภาพ มีที่ยืนและเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ดำเนินชีวิตที่ดีมีความสุข และอยู่ร่วมกันอย่าง สมานฉันท์ 2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต และสุขภาวะที่ดี สำหรับคนไทยพัฒนา คนใหม้ ีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มวี ินัย ใฝร่ ู้ มีความรู้ มีทกั ษะ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มที ัศนคตทิ ่ีดรี ับผดิ ชอบต่อ สังคม มจี ริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกชว่ งวยั และเตรียมความพรอ้ มเขา้ สสู่ ังคมผู้สูงอายอุ ย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูลอนุรักษ์ ฟื้นฟูใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม 3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนเป็น ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “มั่นคง มั่งคง่ั ยั่งยนื ” 4) ยึด“เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ท่ีเป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ20 ปี มา เป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายท่ีจะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบ เปา้ หมายทย่ี ัง่ ยนื (SDGs) 5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหล่ือมล้ำและขับเคล่ือนการเจริญเติบโตจาก การเพ่มิ ผลติ ภาพการผลิตบนฐานของการใชภ้ มู ิปัญญาและนวัตกรรม” 6) ยึด “หลักการนำไปสกู่ ารปฏบิ ัตใิ หเ้ กิดผลสัมฤทธ์อิ ย่างจรงิ จังใน 5 ปีทต่ี อ่ ยอดไปสู่ผลสมั ฤทธิ์ท่เี ป็น เป้าหมายระยะยาว” วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยค่านิยมที่ดีมีจิต สาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะ ความรคู้ วามสามารถและพฒั นาตนเองได้ต่อเน่ืองตลอดชีวติ 2. เพ่ือให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร และบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ังชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพา ตนเองได้ 3. เพ่ือให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความย่ังยืน สร้างความเข้มแข็งของฐาน การผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากข้ึน สร้างความเข้มแข็งของ เศรษฐกจิ ฐานราก และสร้างความมนั่ คงทางพลังงาน อาหาร และนำ้ 4. เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนุนการเติบโตที่ เปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ มและการมีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ขี องประชาชน 5. เพอ่ื ให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสทิ ธภิ าพ โปร่งใส ทนั สมยั และมีการทำงานเชิงบรู ณาการ ของภาคกี ารพัฒนา
22 6. เพ่ือให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับการพัฒนา ยกระดับฐานการผลติ และบรกิ ารเดมิ และขยายฐานการผลติ และบริการใหม่ 7. เพ่ือผลักดันให้ประเทศไทยมีความเช่ือมโยง (Connectivity) กับประเทศต่าง ๆ ท้ังในระดับอนุ ภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมท้ังให้ประเทศไทยมีบทบาทนำและ สร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ ท้ังในระดับอนุภูมิภาค ภูมภิ าค และโลก เป้าหมายรวม เพ่ือให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ดังกลา่ ว ได้กำหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย 1. คนไทยมีคุณลกั ษณะเป็นคนไทยทีส่ มบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ ดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์มีความ รับผิดชอบและทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมีวิถี ชวี ติ ท่ีพอเพียง และมคี วามเป็นไทย 2. ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพอย่าง ท่วั ถึงและเป็นธรรม 3. ระบบเศรษฐกจิ มีความเขม้ แขง็ และแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรบั สู่เศรษฐกิจฐานบรกิ าร และดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กที่ เข้มแข็งสามารถใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล ในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการมีระบบการผลิต และให้บริการจากฐานรายได้เดิมท่ีมมี ูลค่าเพ่ิมสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้ช้ันสูง ใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตและการให้บริการสู่ภูมิภาคเพื่อลด ความเหลื่อมล้ำ โดยเศรษฐกจิ ไทยมเี สถียรภาพ 4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ สงิ่ แวดล้อม มคี วามม่ันคงทางอาหาร พลงั งาน และน้ำ 4. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทำ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เพื่อใช้เป็น แผนยุทธศาสตร์ระยะยาวสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ ได้นำไปใช้เป็นกรอบและ แนวทางการพัฒนาการศึกษาและเรียนรู้สำหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต โดย จุดมุ่งหมาย ที่สำคัญของแผน คือ การมุ่งเน้นการประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและ การศึกษาเพ่ือการมีงานทำและสร้างงานได้ ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมท้ังความเป็นพลวัตร เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถ ก้าว ข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซ่ึงภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ได้กำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity) คุณภาพการศึกษา
23 (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทที่เปล่ียนแปลง (Relevancy) ในระยะ 15 ปี ขา้ งหน้า ดังนี้ วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มคี ุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ 2. เพอื่ พฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ พลเมืองดี มีคณุ ลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคลอ้ ง กับบทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ 3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม รู้จักสามัคคี และ รว่ มมือผนึกกำลงั มงุ่ สกู่ ารพฒั นาประเทศอยา่ งยัง่ ยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้ำ ภายในประเทศลดลง ยุทธศาสตร์ 1. การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถใน การแขง่ ขนั ของประเทศ 3. การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา 5. การจัดการศึกษาเพอ่ื สร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม 6. การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา ปจั จัยและเงอ่ื นไขความสำเรจ็ การดำเนินการตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ตามท่ีกำหนดไว้ในแผนการศึกษา แห่งชาติจะประสบผลสำเร็จตามที่ระบุไว้ในแต่ละยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาหน่วยงานทั้งระดับ นโยบายและระดับปฏิบัติการ ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จังหวัด เขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาต้อง ยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนินงาน และมีการทบทวน ปรับปรุงมาตรการ เป้าหมายความสำเร็จให้ทันต่อ การเปล่ยี นแปลงท่เี กดิ ขึน้ ในแต่ละพน้ื ท่เี พื่อการพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียนในทุกชว่ งวยั ต้องดำเนนิ การ ดังน้ี 1. การสร้างการรบั รู้ ความเข้าใจและการยอมรบั จากผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสยี และประชาสังคม ในการสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาในลักษณะต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง มุ่งเน้นท่ีการจัดระบบ การศึกษาทมี่ ีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมุ่งเน้นการพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรียนในทกุ ระดบั 2. การสร้างความเข้าใจในเป้าหมายและยุทธศาสตร์การดำเนินงานของแผนฯ ของผู้ปฏิบัติทุก หน่วยงานทุกระดับ เพ่ือให้การขับเคลื่อนแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติ มีการบริหารจัดการและการเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายและวิสัยทัศน์ของการจัดการศึกษามีคณะกรรมการ กำกับดูแลแต่ละยุทธศาสตร์ให้เกิดการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบงบประมาณเป็นกลไกสนับสนุนให้บรรลุผล อย่างเปน็ รปู ธรรม 3. การปรับเปลย่ี นกระบวนทัศนข์ องการจัดการศกึ ษา จากการเป็นผจู้ ัดการศึกษาโดยรัฐมาเป็น การจัดการศึกษาโดยทุกภาคส่วนของสังคม ที่มุ่งการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive
24 Education) ตลอดจนการส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิตสำหรับทุกคน ซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ี ย่งั ยืน (Sustainable Development Goals) 4. การจัดให้แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นเสมือนแผนงบประมาณด้านการจัดการศึกษาของรัฐ ระบบการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้ยึดแผนงาน โครงการและเป้าหมายการพัฒนาท่ีกำหนดไว้ใน ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาของแผนฯ เป็นหลักในการพิจารณา เพื่อให้การดำเนินงานพัฒนา การศึกษาเป็นไปในทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช่วงวัย และการพัฒนากำลังคนตามความ ต้องการของตลาดงานและประเทศ เพื่อการจัดการศึกษาบรรลุผลตามยุทธศาสตร์ ตัวช้ีวัดในช่วงเวลาท่ี กำหนด 5. การปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดประสิทธิภาพ โดยปรับโครงสร้างการ บริหารงานให้มีความชัดเจนในด้านบทบาท หน้าท่ีและการกระจายอำนาจและการตัดสินใจจากส่วนกลางสู่ ระดับภูมิภาคและสถานศึกษา รวมท้ังการปรับระบบการบริหารจัดการ และการบริหารงานบุคคลในแต่ละ ระดับให้ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนได้รับบริการ การศึกษาทีม่ มี าตรฐานอยา่ งเสมอภาคและเท่าเทยี ม 6. การสร้างระบบข้อมูลและสารสนเทศท่ีบูรณาการและเช่อื มโยงกับระบบการประกันคุณภาพ ภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรายงานต่อสาธารณชนจะ เป็นกลไกในการสร้างการรับรู้ของผู้จัดการศึกษาและผู้เรียน เพ่ือการปรับประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผู้เรียน ผ่านระบบการกำกับ ตรวจสอบ ติดตามและประเมนิ ผล 7. การปฏิรูประบบทรัพยากรและการเงินเพ่ือการศึกษา เพื่อให้รัฐสามารถใช้เครื่องมือทาง การเงินในการกำกับการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการศึกษาแห่งชาตแิ ละนโยบายรฐั บาล 5. นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา) คำแถลงนโยบายของ คณะรัฐมนตรี พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีแถลงตอ่ รัฐสภา วนั พฤหสั บดีท่ี 25 กรกฎาคม 2562 โดยรฐั บาลไดก้ ำหนดโยบายในการบริหารราชการแผน่ ดนิ จำแนก เป็นนโยบายหลัก 12 ดา้ น และนโยบาย เร่งด่วน 12 เรอื่ ง นโยบายหลัก 12 ดา้ น ประกอบด้วย 1) การปกป้อง และเชิดชูสถาบนั พระมหากษัตริย์ 2) การสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศและความสงบสขุ ของประเทศ 3) การทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม 4) การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก 5) การพัฒนาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขันของไทย 6) การพัฒนาพืน้ ท่ีเศรษฐกจิ และการกระจาย ความเจริญส่ภู ูมิภาค 7) การพฒั นาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก 8) การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกชว่ งวยั 9) การพฒั นาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสงั คม 27 10) การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสง่ิ แวดล้อมเพือ่ สรา้ งการเติบโตอยา่ งย่ังยืน 11) การปฏริ ูป การบริหารจดั การภาครัฐ 12) การป้องกนั และปราบรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ และกระบวนการยตุ ิธรรม
25 นโยบายเร่งด่วน 12 เรอื่ ง ได้แก่ 1) การแก้ไขปัญหาในการดำรงชวี ิตของประชาชน 2) การปรบั ปรุง ระบบสวัสดิการและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน 3) มาตรการเศรษฐกจิ เพื่อรองรับความผันผวน ของเศรษฐกิจโลก 4) การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม 5) การยกระดบั ศักยภาพของแรงงาน 6) การวางรากฐานระบบเศรษฐกจิ ของประเทศสู่อนาคต 7) การเตรยี มคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี 21 8) การแกไ้ ข ปัญหาทจุ รติ และประพฤติมชิ อบในวงราชการทัง้ ฝา่ ยการเมืองและฝ่ายราชการประจำ 9) การแก้ไขปัญหา ยาเสพติดและสรา้ งความสงบสุขในพ้นื ที่ชายแดนภาคใต้ 10) การพฒั นาระบบการให้บริการประชาชน 11) การจดั เตรยี มมาตรการรองรบั ภัยแล้งและอุทกภัย 12) การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรบั ฟังความเห็น ของประชาชน และการดำเนินการเพือ่ แกไ้ ข เพ่มิ เติมรฐั ธรรมนญู 6. นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ด้วยกระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสำคัญยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา และเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชวี ิต การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วง การตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรยี น/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวยั แรงงาน รวมถึง การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย และประเด็นอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ หลกั การตามนโยบาย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กระทรวงศึกษาธิการมงุ่ มั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และ แผนย่อยท่ี 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา และ นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วน เร่ืองการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากน้ี ยังสนับสนุนการขับเคลื่อน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอ่ืน ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าดว้ ยความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) รวมทั้งนโยบาย และแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต จะได้รับการพัฒนาการ เรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ดังน้ัน ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเพื่อสร้างความเช่ือมั่นให้กับ
26 สังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ ปลดลอ็ ก ปรบั เปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการบริหารจัดการและการพฒั นากำลงั คน โดยมุ่งปฏริ ูป องค์การเพื่อหลอมรวมภารกจิ และบุคลากร เช่น ด้านการประชาสมั พนั ธ์ ด้านการต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมท้ังการนำเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เข้ามาชว่ ยใน การบรหิ ารงานและการจดั การศกึ ษา ปลดลอ็ ก ปรับเปลีย่ น และเปิดกวา้ ง ระบบการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ โดยมงุ่ ใหค้ รอบคลุมถึง การจดั การศกึ ษาเพื่อคุณวุฒิ และการเรียนรตู้ ลอดชีวิตท่ีสามารถตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 ปลดล็อก ปรบั เปลยี่ น เปิดกว้าง ทเี่ ป็นเง่อื นไขต่าง ๆ เพ่ือให้บรรลผุ ลตามนโยบายการศึกษายกกำลงั สอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศึกษาทีเ่ ข้าใจ Supply และตอบโจทย์ Demand โดย ใหท้ ุกหนว่ ยงานพจิ ารณาวเิ คราะหข์ ้อมลู รว่ มกนั อยา่ งรอบด้าน ครบถ้วน รว่ มกนั พิจารณาหาแนวทาง ข้นั ตอน และวิธกี ารดำเนนิ การร่วมกนั แบบบรู ณาการการทำงานทุกภาคสว่ น จุดเนน้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 1. ICT (Information and Communication Technologies) เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร ประกอบด้วย 7 เรือ่ งย่อย ได้แก่ (1) Data Center ศนู ย์ข้อมูลกลาง (2) Big Data ข้อมลู ขนาดใหญ่ (คลงั ข้อมลู การนำข้อมูลมารวมกนั ) (3) Platform (e-library e- learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5) e-office e-mail และ document (6) ระบบบริหารจดั การห้องเรียน School และ Classroom Management และ (7) โครงสรา้ งพ้นื ฐาน Infrastructure (Internet) 2. การจัดการองค์ความรูแ้ ละยกระดบั ทักษะทีจ่ ำเป็น เนน้ พัฒนาความรู้และสมรรถนะด้าน Digital Literacy สำหรบั ผู้เรยี นท่ีมคี วามแตกตา่ งกนั ตามระดบั และประเภทของการจดั การศกึ ษา เชน่ STEM Coding เป็นต้น 3. การศกึ ษาเพอ่ื ทกั ษะอาชีพและการมงี านทำ พฒั นา 3 ทักษะหลกั ไดแ้ ก่ โลกทัศนอ์ าชพี การเสริมทักษะใหม่ (Up Skill) และการเพิ่มทักษะใหม่ท่ีจำเป็น (Re-Skills) ให้แก่ กลุม่ เปา้ หมาย ประกอบด้วย (1) ผู้อยใู่ นระบบการศึกษา (การศึกษาข้ันพื้นฐาน และ อาชวี ศึกษา) (2) ผู้อยู่นอกระบบการศึกษา (3) วยั แรงงาน และ (4) ผ้สู งู อายุ เพ่ือให้มีทกั ษะ และสมรรถนะสอดคลอ้ งกบั การเปลีย่ นแปลงที่เกิดจากเทคโนโลยดี ิจิทัลและอาชีพท่เี กิดขึ้น ใหม่ (Digital Disruption) โดยเน้นเพม่ิ บทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ด้านอาชวี ศึกษา กับสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 4. การตา่ งประเทศ เน้นภารกิจทต่ี อ้ งใชค้ วามร่วมมือระดบั นานาชาติในการจัดหาครู ชาวต่างชาตใิ ห้แกส่ ถานศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภทของกระทรวงศึกษาธกิ ารเพ่ือจดั การศึกษาในสถานศึกษา 2 ด้านหลัก ๆ ได้แก่ (1) ด้านภาษาตา่ งประเทศ และ (2) ดา้ น วิชาการ โดยเฉพาะอาชวี ศกึ ษา 5. กฎหมายและระเบยี บ เนน้ แผนงาน 2 เรือ่ ง ท่บี รรจอุ ยู่ในแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษา ประกอบด้วย เรือ่ งที่ 1 : การปฏิรปู ระบบการศึกษาและการเรยี นร้โู ดยรวมของ
27 ประเทศ โดยพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติฉบบั ใหม่และกฎหมายลำดับรอง มปี ระเดน็ ปฏิรูป 5 ประเด็น ได้แก่ – การมพี ระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. …. และมกี าร ทบทวน จดั ทำ แก้ไข และปรับปรุงกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง – การสรา้ งความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นและเอกชน เพ่อื การจดั การศกึ ษา – การขับเคลือ่ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนาตนเองและการศึกษาเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตเพ่อื รองรับการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ – การทบทวนและปรับปรงุ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ – การจัดตัง้ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ เรื่องท่ี 6 การปรับโครงสรา้ งของ หน่วยงานในระบบการศึกษา ประกอบดว้ ยประเด็นปฏิรปู 3 ประเดน็ ได้แก่ สถานศึกษามี ความเป็นอิสระในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษา พ้ืนท่ีนวตั กรรมการศึกษา การปรบั ปรุง โครงสรา้ งของกระทรวงศกึ ษาธิการ 6. ระบบบรหิ ารจดั การและการพัฒนาบคุ ลากร โดยรวบรวมหลกั สูตรวชิ าการของแต่ละ หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดความซ้ำซ้อนในการจดั ฝกึ อบรมใหแ้ ต่ ละกลมุ่ เป้าหมาย และใชป้ ระโยชนจ์ ากสถาบันพฒั นาท่มี ีอยู่แล้ว เช่น สถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือเป็นหนว่ ยงานกลางในการจดั ฝึกอบรมพฒั นา ทกั ษะสมรรถนะให้แกบ่ ุคลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ผู้บริหารหนว่ ยงานทกุ ระดับ ผบู้ ริหารสถานศึกษาทุกระดบั ทกุ ประเภท ครู อาจารย์ และบุคลากรอืน่ ๆ) รวมทั้งพฒั นา ยกระดับให้เปน็ สถาบันฝึกอบรมระดบั นานาชาติ 7. การประชาสมั พนั ธ์ โดยจัดต้งั ศูนยป์ ระชาสมั พันธข์ องกระทรวงศกึ ษาธิการ เปน็ หนว่ ยงาน สงั กัดสำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ดำเนนิ การผลิตส่ือและจัดทำเนอ้ื หา (Content) เพือ่ เผยแพร่ผลงาน กจิ กรรมและการเขา้ รว่ มงานต่าง ๆ ของทุกหนว่ ยงานในภาพรวมของ กระทรวงศึกษาธกิ าร 8. การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ดำเนินการขบั เคล่ือนนโยบายและแนวปฏิบัตใิ นการจดั การศกึ ษาและ การเรยี นร้สู ำหรับเดก็ ปฐมวัย 9. การพฒั นาโรงเรียนขนาดเลก็ โดยการสง่ เสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ 10. การรับเรอ่ื งราวร้องทุกข์ทเ่ี กี่ยวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการนำเทคโนโลยีมาใช้ใน การบรหิ ารจัดการ เช่น การยกระดับตอบรับอัตโนมตั เิ พ่ือแกไ้ ขปัญหาเบอ้ื งต้น (Call Center ดา้ นกฎหมาย) การวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการการรบั เรื่องราวรอ้ ง ทกุ ข์ในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ 11. การปฏริ ูปองค์การและโครงสร้างกระทรวงศกึ ษาธิการ 12. การพัฒนาครู ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ เพื่อให้มีมาตรฐานวชิ าชีพท่ีสงู ข้นึ 13. การศกึ ษายกกำลังสอง โดย – พัฒนาครทู ุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ทจ่ี ำเปน็ เพื่อทำหนา้ ท่ี วทิ ยากรมอื อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พฒั นาศักยภาพ บคุ คลเพ่ือความเปน็ เลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) – จัดการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ผา่ นเว็บไซต์ http://www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปดิ กว้างให้ภาคเอกชน สามารถเข้ามาพฒั นาเน้อื หา เพื่อใหผ้ เู้ รียน ครู และผ้บู รหิ ารทางการศึกษามที างเลือกในการ เรยี นรู้ที่หลากหลาย และตลอดเวลาผา่ นแพลตฟอรม์ ด้านการศกึ ษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) – ใหผ้ ้เู รียน ครู ผู้บรหิ ารทางการ ศึกษามีแผนพัฒนารายบคุ คลผา่ นแผนพัฒนารายบุคคลสคู่ วามเป็นเลิศ (Excellence
28 Individual Development Plan : EIDP) – จดั ทำ “คมู่ อื มาตรฐานโรงเรยี น” เพ่ือ กำหนดให้ทุกโรงเรียนตอ้ งมีพื้นฐานทจี่ ำเปน็ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน • มุ่งเน้นการศกึ ษาเพอ่ื ทกั ษะอาชีพและการมงี านทำด้วยคุณภาพ โดยสรา้ งค่านยิ ม อาชวี ศกึ ษา และเติมเต็มช่องวา่ งระหวา่ งทักษะ (Full fill Skill Gaps) โดยขยายและ ยกระดบั อาชีวศกึ ษาทวิภาคสี ู่คุณภาพมาตรฐาน เน้นรว่ มมือกบั สถานประกอบการชน้ั นำ (Tailor-made Curriculum) ขับเคลอ่ื นความร่วมมือการจัดการอาชีวศึกษาระหวา่ งภาครัฐ และภาคเอกชนสมู่ าตรฐานนานาชาติ • มุ่งเน้น Re-Skills, Up Skill และ New Skill การฝกึ อบรมวิชาชพี ระยะส้นั รวมท้งั ผลติ กำลังแรงงานท่ีมีคุณภาพตามความเป็นเลศิ ของแตล่ ะสถานศึกษาและตามบรบิ ทของพืน้ ที่ เพ่ือตอบโจทย์การพฒั นาประเทศและสถานประกอบการ • มุ่งเน้นพัฒนาศูนยป์ ระสานงานกลางการผลิตและพฒั นากำลังคนอาชีวศกึ ษา (TVET Excellence Center) ส่มู าตรฐานสากล ผลติ อาชวี ะพันธุ์ใหม่ รวมถึงการนำนวัตกรรม Digital เพอ่ื มงุ่ สู่การอาชีวศกึ ษาดิจทิ ลั (Digital College) • มงุ่ เน้นพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียนอาชวี ศกึ ษา ใหเ้ ป็นผู้ประกอบการ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ ผเู้ รยี นเพือ่ การดำรงชวี ิตใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ละทักษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 (Technical Vocational Education and Training : TVET, Student Skill Set) รวมท้งั ให้ความร่วมมือในการพัฒนาขีดความสามารถของผเู้ รียนผ่านการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพใน ต่างประเทศและการแข่งขันในเวทีระดับนานาชาติ • มงุ่ เน้นการเพ่ิมปริมาณผเู้ รียนในหลกั สตู รอาชีวศึกษา สร้างภาพลกั ษณส์ ถานศกึ ษา อาชีวศึกษาเพื่อดงึ ดดู ใหผ้ ทู้ ีส่ นใจเขา้ มาเรียน • สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาบรหิ ารจดั การอยา่ งมีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอน ดว้ ยเคร่อื งมือปฏิบัติท่ีทนั สมัย การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา • ขบั เคลื่อนพน้ื ทนี่ วัตกรรมการศกึ ษา ให้สอดคล้องกับพระราชบญั ญัติพ้นื ทีน่ วัตกรรม การศกึ ษา พ.ศ. 2562 • สง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนทย่ี ุติการศึกษา ทัง้ ก่อนและหลงั สำเรจ็ การศึกษาภาคบงั คับใหไ้ ด้รบั โอกาส ทางการศกึ ษาจนสำเร็จการศึกษาภาคบงั คับ การจัดการศกึ ษาเพื่อสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม • เสรมิ สรา้ งการรบั รู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนัก และสง่ เสริมคณุ ลักษณะและพฤติกรรมท่ีพึง ประสงคด์ ้านส่ิงแวดลอ้ ม รวมทงั้ การปรับตวั รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศท่จี ะ เกิดขนึ้ ในอนาคต • ส่งเสรมิ การพัฒนาสงิ่ ประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีเปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพ และสร้างรายได้ การพัฒนาการศึกษาเพอื่ ความมนั่ คง • เฝา้ ระวังภยั ทกุ รูปแบบทีเ่ กิดขึ้นกบั ผู้เรยี น ครู และสถานศกึ ษา การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การ
29 • ปฏิรูปองค์การเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความเป็นเอกภาพของหนว่ ยงาน • ปรับปรงุ กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั ประกาศตา่ ง ๆ ทเี่ ป็นอุปสรรคและข้อจำกดั ในการ ดำเนินงาน โดยคำนงึ ถึงประโยชน์ของผูเ้ รยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยรวม • ยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร • พัฒนาระบบฐานข้อมูลดา้ นการศึกษา (Big Data) การขบั เคลอ่ื นนโยบายและจุดเน้นสูก่ ารปฏบิ ัติ 1. ใหส้ ว่ นราชการ หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร นำนโยบายและจุดเนน้ เปน็ กรอบ แนวทางในการวางแผนและจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามท่ีรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ให้แนวทางในการบริหารงบประมาณไว้ 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลอ่ื นนโยบายและจุดเน้นสู่การ ปฏบิ ัตริ ะดับพน้ื ที่ โดยใหผ้ ู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน สำนักงาน ศึกษาธิการภาคและสำนกั ตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผล สป. เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ ารและ ผชู้ ว่ ยเลขานุการตามลำดบั โดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลใน ระดบั นโยบาย และจัดทำรายงานเสนอต่อรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศกึ ษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลำดับ 3. กรณีมปี ัญหาในเชงิ พืน้ ทหี่ รอื ขอ้ ขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและ ดำเนินการแกไ้ ขปัญหาในระดับพืน้ ทีก่ ่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแกไ้ ขข้อขดั ขอ้ ง พร้อม ทั้งรายงานต่อคณะกรรมการตดิ ตามฯ ขา้ งต้น ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร และ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการตามลำดับ นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 นโยบายการจัด การศึกษา 12 ข้อ ดงั นี้ ขอ้ 1 การปรบั ปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรใู้ ห้ทนั สมัย และทนั การเปลยี่ นแปลง ของ โลกในศตวรรษท่ี 21 โดยม่งุ พัฒนาผเู้ รียนทุกระดับการศึกษาใหม้ คี วามรู้ ทักษะและคณุ ลักษณะ ทเี่ หมาะสม กับบริบทสังคมไทย ข้อ 2 การพฒั นาคุณภาพและประสิทธภิ าพครแู ละอาจารย์ในระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และ อาชีวศกึ ษาใหม้ ีสมรรถนะทางภาษาและดจิ ทิ ลั เพอื่ ให้ครูและอาจารย์ได้รับการพฒั นาใหม้ ีสมรรถนะ ทัง้ ด้าน การจดั การเรยี นรู้ ดว้ ยภาษาและดจิ ทิ ัล สามารถปรับวธิ ีการเรยี นการสอนและการใชส้ ่ือทันสมยั และมีความ รบั ผิดชอบต่อผลลพั ธ์ทางการศึกษาที่เกิดกับผ้เู รียน ข้อ 3 การปฏริ ปู การเรียนรดู้ ้วยดิจิทัลผา่ นแพลตฟอร์มการเรยี นรู้ดว้ ยดิจทิ ลั แหง่ ชาติ (NDLP) และการส่งเสรมิ การฝกึ ทกั ษะดจิ ิทัลในชีวติ ประจำวนั เพ่ือใหม้ ีหน่วยงานรับผดิ ชอบพฒั นา แพลตฟอร์มการ เรยี นรดู้ ้วยดจิ ิทัลแห่งชาติ ทส่ี ามารถนำไปใช้ในกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ท่ี ันสมัยและ เขา้ ถงึ แหล่งเรยี นรู้ได้ อยา่ งกวา้ งขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมลู กลำงทางการศกึ ษามาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนา ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา
30 ข้อ 4 การพฒั นาประสทิ ธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการสง่ เสรมิ สนับสนุน สถานศึกษาให้มีความเป็นอสิ ระและคลอ่ งตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้ จงั หวดั เปน็ ฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแหง่ ชาติท่ีได้รับการปรบั ปรุงเพ่ือกำหนดให้มีระบบ บรหิ ารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสรา้ งหนว่ ยงานให้เอือ้ ต่อการจัดการเรยี นการสอนให้มคี ุณภาพ สถานศึกษาใหม้ ีความเป็นอิสระและคล่องตวั การบรหิ ารและการจดั การศึกษาโดยใช้จังหวดั เปน็ ฐาน มีระบบ การบรหิ ารงานบุคคลโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล 28 ข้อ 5 การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกนั คณุ ภาพ พร้อมจัดทดสอบ วดั ความรู้ และทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดบั อุดมศกึ ษาทั้งสายวชิ าการและสายวิชาชพี เพ่ือใหร้ ะบบ การ ประเมนิ ผลการศึกษาทกุ ระดับและระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ไดร้ บั การปรับปรงุ ใหท้ ันสมัย ตอบสนองผลลพั ธ์ทางการศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม ขอ้ 6 การจดั สรรและการกระจายทรัพยากรใหท้ วั่ ถงึ ทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถงึ การระดม ทรัพยากรทางการศึกษาจากความรว่ มมอื ทุกภาคส่วน เพื่อให้การจดั สรรทรพั ยากรทางการศึกษา มีความเป็น ธรรมและสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายไดเ้ ข้าถึงการศึกษาท่ีมคี ุณภาพทัดเทียมกลุ่มอืน่ ๆ กระจายทรัพยากรทัง้ บุคลำกรทางการศึกษา งบประมาณ และส่ือเทคโนโลยีได้อยา่ งทว่ั ถงึ ข้อ 7 การนำกรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอา้ งอิงอำเซยี น (AQRF) สู่การ ปฏบิ ัติ เปน็ การผลิตและการพัฒนากำลงั คนเพื่อการพฒั นาประเทศโดยใชก้ รอบคณุ วฒุ ิแห่งชาติ เชอื่ มโยง ระบบการศึกษาและการอาชีพโดยใช้กลไกการเทยี บโอนประสบการณ์ด้วยนำคา่ หน่วยกิตและ การจดั ทำ มาตรฐานอาชีพในสาขาทสี่ ามารถอา้ งอิงอาเซยี นได้ ข้อ 8 การพัฒนาเด็กปฐมวัยใหไ้ ดร้ บั การดูแลและพัฒนาก่อนเขา้ รับการศึกษาเพื่อพัฒนา ร่างกาย จติ ใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญาให้สมกบั วัย เพือ่ เป็นการขับเคล่ือนแผนบูรณาการ การ พฒั นาเด็กปฐมวัยตามพระรำชบัญญตั ิการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒ สู่การปฏบิ ตั ิเปน็ รปู ธรรม โดย หน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้องนำไปเป็นกรอบในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการเพื่อพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และมีการ ตดิ ตาม ความกา้ วหน้าเป็นระยะ ขอ้ 9 การศกึ ษาเพื่ออาชีพและสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ เพ่ือให้ ผจู้ บ การศึกษระดับปรญิ ญาและอาชวี ศึกษามีอาชีพและรายได้ทเี่ หมาะสมกับการดำรงชีพและคณุ ภาพชีวิต ทีด่ ีมี สว่ นช่วยเพิ่มขดี ความสามารถในการแช่งขันในเวทีโลกได้ ขอ้ 10 การพลิกโฉมระบบการศกึ ษาไทยด้วยการนำนวตั กรรมและเทคโนโลยที ีท่ นั สมยั มาใชใ้ น การจัดการศกึ ษาทุกระดบั การศึกษา เพอ่ื ให้สถาบนั การศกึ ษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่ทันสมยั มาใชใ้ นการจัดการศึกษาผ่านระบบดิจทิ ัล ข้อ 11 การเพ่ิมโอกาสและการเข้าถงึ การศึกษาที่มคี ุณภาพของกล่มุ ผ้ดู ้อยโอกาส ทางการศกึ ษา และผู้เรยี นท่ีมีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ เพ่ือเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมี คุณภาพของกลมุ่ ผ้ดู อ้ ยโอกาสทางการศึกษา และผู้เรยี นทีม่ ีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ ข้อ 12 การจดั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยืดหลักการเรียนรู้ ตลอด ชวี ติ และการมีสว่ นรว่ มของผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้อง เพอื่ เพม่ิ โอกาสและการเข้าถงึ การศึกษาที่มีคุณภาพ ของกลุ่ม ผดู้ ้อยโอกาสทางการศึกษาและผเู้ รยี นท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ
31 นโยบายระยะเรง่ ด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศึกษาธิการ 1. ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดใหม้ รี ปู แบบ วิธีการ หรอื กระบวนการในการดูแล ช่วยเหลอื นกั เรยี น เพ่อื ให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ มคี วามสุข และไดร้ บั การปกปอ้ งคมุ้ ครอง 29 ความปลอดภัยทัง้ ดา้ นรา่ งกายและจิตใจ รวมถงึ การสรา้ งทักษะใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการดูแลตนเอง จากภัยอันตรำยตำ่ ง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม 2. หลกั สูตรฐานสมรรถนะ มงุ่ เน้นการจัดการเรยี นรู้ทหี่ ลำกหลำยโดยยดึ ความสามารถ ของ ผู้เรียนเปน็ หลกั และพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กิดสมรรถนะทตี่ ้องการ 3. ฐานข้อมลู Big Data พฒั นาการจดั เก็บขอ้ มูลอย่างเปน็ ระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพื่อให้ได้ ขอ้ มลู ภาพรวมการศึกษาของประเทศท่ีมีความครบถว้ น สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบนั และสามารถนำมาใช้ ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างแทจ้ รงิ 4. ขับเคลอ่ื นศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุน การ ดำเนินงานของศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลศิ ของ แตล่ ะ สถานศกึ ษาและตามบริบทของพนื้ ที่ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของประเทศทงั้ ในปจั จุบันและ อนาคต ตลอดจนมกี ารจัดการเรยี นการสอนด้วยเคร่อื งมอื ทีท่ นั สมยั สอดคล้องกับเทคโนโลยปี ัจจบุ ัน 5. พัฒนาทักษะทางอาชพี ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาทเ่ี นน้ พัฒนาทกั ษะอาชีพของผู้เรียน เพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวติ สร้างอาชีพและรายได้ทเ่ี หมาะสม และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 6. การศกึ ษาตลอดชวี ิต การจัดเรียนรู้ตลอดชวี ิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัยใหม้ ีคุณภาพ และ มาตรฐาน ประชาชนในแตล่ ะชว่ งวัยไดร้ บั การศึกษาตามความตอ้ งการอยา่ งมีมาตรฐาน เหมาะสมและ เต็ม ตามศกั ยภาพต้ังแต่วยั เด็กจนถงึ วัยชรำ และพัฒนาหลกั สตู รที่เหมาะสมเพ่ือเตรียมความพร้อมในการเขา้ สู่ สงั คมผู้สงู วยั 7. การจดั การศึกษาสำหรบั ผู้ที่มคี วามต้องการจำเปน็ พิเศษ ส่งเสรมิ การจดั การศึกษา ให้ผ้ทู ม่ี ี ความต้องการจำเป็นพเิ ศษได้รับการพฒั นาอยา่ งเต็มศักยภาพ สามารถดำรงชวี ติ ในสังคม อย่างมเี กียรติ ศักดิ์ศรเี ท่ำเทยี มกับผู้อนื่ ในสงั คม สามารถชว่ ยเหลือตนเอง และมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประเทศ 7. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานปีงบประมาณ 2565 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - พ.ศ. 2565 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ตระหนกั ถงึ นโยบายดา้ นการศึกษา ซึง่ ถือเปน็ ส่วนสำคญั ยง่ิ ใน การพัฒนาประเทศใหบ้ รรลุเป้าหมายอย่างยั่งยนื เปน็ ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ ในทุกดา้ น ดงั นนั้ เพ่ือให้การ ดำเนินการเกิดผลสัมฤทธ์แิ ละสอดคลอ้ งกบั แผนการปฏริ ปู ประเทศ โดยเฉพำะกจิ กรรม ปฏิรูปประเทศทจ่ี ะ ส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมนี ยั สำคัญ (Big Rock) ท่ีมคี วามสำคัญ เร่งด่วน และสามารถ ดำเนินการและวดั ผลได้อย่างเป็นรปู ธรรมในชว่ งปี พ.ศ. 2564 – พ.ศ. 2565 ซ่งึ เกีย่ วข้อง กับสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ได้แก่ (1) การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางการศึกษาตง้ั แตร่ ะดับปฐมวยั (2) การพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลยี่ นแปลง ในศตวรรษที่ 21 และ (3) การสรา้ งระบบการผลติ และพัฒนาครูและ 30 บุคลำกรทางการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ จึงกำหนด
32 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ด้านความปลอดภัย พฒั นาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภยั ใหก้ ับผู้เรียน ครู และบคุ ลำ กร ทางการศกึ ษาและสถานศึกษา จากภยั พบิ ัติและภยั คกุ คำมทุกรปู แบบ รวมถงึ การจัดสภาพแวดลอ้ มที่เอื้อ ตอ่ การมสี ุขภาวะที่ดสี ามารถปรับตวั ตอ่ โรคอุบัติใหมแ่ ละโรคอุบัติซ้ำ 2) ดา้ นโอกาส 2.1 สนบั สนุนใหเ้ ดก็ ปฐมวัยได้เขา้ เรียนทุกคน มีพัฒนาการทีด่ ี ทงั้ ทางร่างกาย จติ ใจ วนิ ัย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา ใหส้ มกับวัย 2.2 ดำเนนิ การ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน อยา่ งมี คณุ ภาพ ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่อ และ ประกอบอาชีพ ตรงตามศักยภาพและความถนดั ของตนเอง รวมทัง้ สง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรียนท่มี ี ความสามารถพเิ ศษ สู่ความเปน็ เลิศเพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 2.3 พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชนทีอ่ ยู่ในการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เพ่อื ป้องกัน ไมใ่ ห้ออกจากระบบการศึกษา รวมท้งั ชว่ ยเหลือเด็กตกหลน่ และเดก็ ออกกลำงคันให้ไดร้ บั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน อย่างเท่ำเทียมกัน 2.4 สง่ เสริมให้เด็กพิการและผูด้ ้อยโอกาส ให้ไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาทม่ี คี ุณภาพ มีทกั ษะ ในการดำเนนิ ชวี ิต มีพนื้ ฐานในการประกอบอาชพี พ่งึ ตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ดา้ นคุณภาพ 3.1 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาใหผ้ ้เู รยี นมีความรู้ มีทักษะการเรยี นรูแ้ ละทักษะท่ีจำเป็น ของ โลกในศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถว้ น เปน็ คนดี มีวินัย มีความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มที ัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง 3.2 พัฒนาผเู้ รยี นให้มสี มรรถนะและทักษะดา้ นการอ่าน คณติ ศาสตร์ การคดิ ขัน้ สูง นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และภาษาต่ำงประเทศ เพ่ือเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน และการเลือกศกึ ษาตอ่ เพ่ือการมงี านทำ 3.3 ปรับหลักสตู รเปน็ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ทเ่ี น้นการพฒั นาสมรรถนะหลกั ท่ีจำเป็น ใน แต่ละระดับ จดั กระบวนการเรยี นรแู้ บบลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ รวมทงั้ ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้ที่สร้างสมดุล ทกุ ดา้ น ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาพหุปญั ญา พฒั นาระบบการวัดและประเมนิ ผลผ้เู รยี นทกุ ระดบั 3.4 พัฒนาครแู ละบุคลำกรทางการศึกษา ใหเ้ ปน็ ครยู คุ ใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรยี น การสอน ตามหลักสตู รฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏบิ ัติหน้าท่ีได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มกี ารพฒั นาตนเองทางวชิ าชีพอยา่ งต่อเนื่อง รวมทัง้ มจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู 4. ดา้ นประสิทธิภาพ 4.1 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการโดยใช้พืน้ ท่ีเปน็ ฐาน มีนวตั กรรมเป็นกลไกหลกั ในการ ขบั เคลอื่ น บนฐานขอ้ มลู สำรสนเทศท่ีถูกต้อง ทนั สมัย และการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน 4.2 พฒั นาโรงเรียนมธั ยมดสี ีม่ ุมเมือง โรงเรยี นคุณภาพของชุมชน โรงเรยี นขนาดเลก็ และ โรงเรยี นทส่ี ามารถด ารงอย่ไู ด้อยา่ งมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มคี ณุ ภาพอย่างยง่ั ยนื สอดคล้องกับบริบท ของพ้ืนที่ 4.3 บรหิ ารจดั การโรงเรยี นขยำยโอกาสทางการศึกษา ที่มจี ำนวนนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 -3 นอ้ ยกวา่ 20 คน ให้ได้รับการศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน
33 4.4 ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพในสถานศกึ ษาท่ีมีวตั ถุประสงค์เฉพาะ และ สถานศึกษา ทีต่ งั้ ในพน้ื ทลี่ ักษณะพิเศษ 4.5 สนบั สนุนพื้นท่ีนวตั กรรมการศึกษาใหเ้ ปน็ ต้นแบบการพฒั นานวัตกรรมการศึกษา และ การเพิ่มความคล่องตัวในการบรหิ ารและการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน 4.6 เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มสี าระสำคัญภาพรวม ประกอบด้วย วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ ผลสมั ฤทธ์ิและเป้าหมาย การให้บริการหนว่ ยงาน และกลยุทธ์หนว่ ยงาน 4 เรื่อง ดงั นี้ วสิ ยั ทัศน์ “สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนษุ ย์ สสู่ ังคมอนาคตที่ยั่งยนื ” พนั ธกจิ 1. จดั การศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชำตแิ ละการปกครองใน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหำกษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเปน็ เลศิ ทำงวิชาการเพือ่ สรา้ งขีดความสามารถ ใน การแขง่ ขัน 3. พฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพผู้เรียนใหม้ สี มรรถนะตำมหลกั สตู รและคุณลักษณะ ใน ศตวรรษท่ี 21 4. สรา้ งโอกำส ความเสมอภาค ลดความเหล่อื มล้ ำ ใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนได้รับบริการทำง การศกึ ษา อย่ำงทวั่ ถึงและเท่ำเทียม 5. พัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบุคลำกรทำงการศึกษาให้เปน็ มืออำชีพ 6. จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ยึดหลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง และเปา้ หมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) 7. ปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาทุกระดบั และจัดการศึกษา โดยใช้ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ผลสมั ฤทธิ์และเปา้ หมายการให้บรกิ ารหน่วยงาน 1. ผู้เรยี นมีความพร้อมในการรบั มอื กับภัยคุกคำมรปู แบบใหมท่ กุ รปู แบบ รวมถึงผู้เรียน ใน เขตพฒั นาพิเศษเฉพำะกิจจงั หวดั ชำยแดนภาคใต้ได้รับการศึกษาสอดคล้องกับ อตั ลักษณ์ของจงั หวดั ชำย แดนภาคใต้ 2. ผเู้ รยี นได้รบั การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพชวี ติ ท่มี ีคุณภาพ และสง่ เสริมทกั ษะ ท่ีจ ำเป็นในศตวรรษที่ 21 3. ประชำกรทกุ กลุ่มเปา้ หมายได้รบั โอกำสในการเขา้ ถงึ บริหารการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ทีม่ ี คณุ ภาพและมีมาตรฐาน อย่ำงเสมอภาคและเทำ่ เทียมกนั 4. ผูเ้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาให้มีความรู้ มที กั ษะ ความเป็นเลิศทำงวชิ าการ เพอ่ื ตอบสนอง ความตอ้ งการของประเทศ 5. พฒั นาระบบบริหารจดั การเพ่ือเพิม่ ประสิทธิภาพใหส้ งู ข้นึ
34 กลยทุ ธห์ น่วยงาน กลยทุ ธ์ท่ี 1 ส่งเสริมการจดั การศึกษาใหผ้ เู้ รียนมีความปลอดภยั จำกภยั ทกุ รูปแบบ กลยุทธ์ท่ี 2 สรา้ งโอกำสและความเสมอภาคทำงการศึกษาใหก้ ับประชำกรวัยเรยี นทุกคน กลยุทธท์ ่ี 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 กลยทุ ธท์ ี่ 4 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการศึกษา 8. ทิศทางแผนพัฒนาการศกึ ษาสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสกลนคร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ กำหนดให้มีการทบทวนแผนพฒั นา การศกึ ษา (พ.ศ.2562 -2565) จังหวดั สกลนคร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อนำมาเปน็ กรอบในการ จัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวดั สกลนคร (ฉบบั จัดทำค่าของบประมาณรายจ่าย ประจำป)ี ประกอบกับค่าสัง่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตทิ ี่ 19/2560 เรือ่ ง การปฏิรปู การศึกษาใน ภูมภิ าคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน พทุ ธศกั ราช 2560 กำหนดให้มสี ำนักงานศึกษาธกิ าร ภาค ทำหน้าท่ีขบั เคล่ือนการศึกษาในระดบั ภาคและจังหวัด และสำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั ปฏบิ ัตภิ ารกิจ ของกระทรวงศกึ ษาธิการเกยี่ วกับการบริหารและการจัดการศึกษา โดยมีอำนาจหนา้ ที่ขอ้ 11 (2) จัดทำ แผนพฒั นาการศึกษาและแผนปฏิบัติราชการ จากความเปน็ มาดงั กลา่ วข้างตน้ สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สกลนคร จึงได้ดำเนนิ การวางแผน การทำงานทบทวนแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2562 -2565) จังหวัดสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพอื่ นำมาเป็นกรอบในการจัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวัดสกลนคร (ฉบบั จดั ทำคา่ ของบประมาณรายจ่ายประจำป)ี เพื่อใหส้ อดคล้องกบั แนวนโยบายของรฐั บาล เช่ือมโยงระหวา่ ง ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี(พ.ศ.2561 -2580) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560- 2579) ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ และยุทธศาสตร์ การศึกษาจงั หวดั สกลนคร 7 ยุทธศาสตร์ ใหบ้ รรลุเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา่ งยง่ั ยืน เป็น ระบบครอบคลุมภารกิจ โดยเน้นการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน ในการจดั การศึกษาแบบบูรณาการ ดำเนนิ การให้สอดรับกบั แนวทางการบรหิ ารงานโดยประชารฐั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปฏิรปู การศึกษา อันจะ ส่งผลในการพัฒนาประเทศท่ีย่งั ยนื โดยได้กำหนดทิศทางการพฒั นาการศึกษาของจังหวัดสกลนคร ดงั น้ี วิสัยทศั น์ “จังหวดั สกลนครมกี ารจดั การศึกษาท่มี ีคุณภาพอยา่ งทัว่ ถงึ ใหผ้ เู้ รียนเปน็ คนดี มีทักษะวิชาชพี โดยการมีส่วนรว่ มทกุ ภาคสว่ น” พนั ธกจิ 1. ส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การศึกษาให้มคี ุณภาพและมาตรฐานสู่ระดบั ชาติและสากล 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษา เพื่อพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการ ของชาตเิ พ่อื รองรบั สสู่ ากล 3. ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือปรบั ปรงุ พัฒนาท้องถิน่ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 4. ส่งเสรมิ สนับสนุนการทำงานแบบบรู ณาการและการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในการจัด การศึกษา
35 เป้าประสงค์ 1. นกั เรยี น นกั ศกึ ษา มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาตแิ ละมาตรฐานสากล 2. ประชาชน มีศักยภาพในการพัฒนาท้องถ่ินและพัฒนาประเทศตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. องคก์ ร และหน่วยงานทางการศึกษา มรี ะบบบริหารจดั การท่ีเขม้ แข็ง ในการขับเคลื่อนการศึกษา ไปสู่มาตรฐานสากล 4. องค์กรเอกชน ประชาชนและครอบครวั มีสว่ นรว่ มในการพฒั นาการศึกษา ทรพั ยากรมนษุ ย์ ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพ่ือความมัน่ คงของชาติ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ผลิต พฒั นาก าลงั คนรวมทั้งงานวิจัยและนวัตกรรมท่สี อดคล้อง กบั ความต้องการของการพฒั นาประเทศ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษยจ์ ังหวดั สกลนคร ใหม้ คี ุณภาพและมีความสามารถในการแข่งขนั ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4 สร้างโอกาสทางการศึกษาต่อเน่ือง ตลอดชีวติ อย่างทั่วถึงและเท่าเทยี ม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 จัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 สกลนครเมอื งแห่งการพฒั นาการเกษตร พชื สมนุ ไพร เกษตรปลอดภัย การคา้ การลงทุนและการท่องเทยี่ ว ด้วยวิธีผสมผสานตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 9. ทิศทางการดำเนินงาน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 ประจำปงี บประมาณ 2565 วิสัยทศั น์ “เป็นองคก์ รคุณภาพด้านการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานดว้ ยนวตั กรรม” พนั ธกจิ 1. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ จดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ และการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเปน็ ประมุข 2. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอ่ื มลาํ้ ใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอยา่ ง ทั่วถงึ เทา่ เทยี ม และมีคุณภาพ 3. ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นใหไ้ ด้รับการศึกษาอย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพตามหลักสตู ร มีความสามารถ เป็นคนดี มวี ินยั ภมู ิใจในชาติ มคี วามรบั ผิดชอบต่อครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 4. พฒั นานวตั กรรมเพ่อื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะตามหลกั สูตรและคุณลกั ษณะในศตวรรษที่ 21 ของ ผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพ
36 5. พฒั นาผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มสี มรรถนะตามมาตรฐานตําแหนง่ มคี วาม รับผดิ ชอบต่อการปฏิบัติงาน และน้อมนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารดํารงชวี ติ 6. พฒั นานวตั กรรมเพอ่ื ส่งเสริมประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การศกึ ษาทุกระดับโดยเน้นการมีสว่ น รว่ มและบรู ณาการการจัดการศกึ ษาเปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม เป้าประสงคห์ ลัก 1. ผ้เู รยี นไดร้ บั โอกาสและพฒั นาใหไ้ ดร้ ับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานอยา่ งทั่วถึง เท่าเทียม และมีคณุ ภาพ ตามหลกั สูตร มีความสามารถเป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 2. ผู้เรยี นได้รับการพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ มีสมรรถนะตามหลกั สูตรและคณุ ลกั ษณะ ในศตวรรษท่ี 21 3. ผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตามมาตรฐานตาํ แหนง่ และน้อมนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารดาํ รงชวี ิต 4. สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษามนี วตั กรรมในการบรหิ ารจัดการศึกษาที่มี ประสทิ ธิภาพโดยเน้นการมสี ่วนร่วมและบรู ณาการการจัดการศึกษาทเี่ ป็นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม จุดเน้นสาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 2 1. ไฉไล ปลอดภยั มีคุณภาพ ไฉไล คือความสวยงาม ดูดี ความสะอาดโดยใชห้ ลกั 5 ส ความปลอดภยั คือ ความปลอดภัยจากภัยทกุ รปู แบบ และมีคณุ ภาพในการปฏิบตั ิงานในทกุ ด้าน 2. นักเรยี นอา่ นออกเขียนได้ คิดเลขเปน็ เนน้ ความดี มีทักษะอาชีพ บูรณาการวชิ า ซึ่งในเด็กระดับ ประถมศึกษา เนน้ นักเรียนอ่านออกเขียนได้ คิดคาํ นวณเปน็ เน้นความดี ในเด็กระดับมธั ยมศึกษาเน้นใหม้ ี ทกั ษะอาชีพ บรู ณาการวชิ า 3. องคก์ รมาตรฐาน ยึดหลักธรรมาภบิ าล ประสานสามคั คีมีความสขุ ยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพ่อื ความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ กลยทุ ธ/์ แนวทางการพัฒนา 1.1 ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สรา้ งความจงรักภักดี ตอ่ สถาบันหลัก ของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 1.2 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศึกษาเพื่อป้องกนั และแก้ไขปัญหาภัยคุกคามรปู แบบใหม่ 1.3 สง่ เสริมและพฒั นาทกั ษะชีวติ ให้กับผเู้ รียนทุกช่วงวยั เพ่อื เปน็ ภูมิคมุ้ กนั ความเส่ยี งใน การดาํ เนินชีวติ ท้งั ปจั จบุ ันและอนาคต ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การจัดการศึกษาเพือ่ เพ่ิมความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ/์ แนวทางการพัฒนา 2.1 พัฒนาและยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษา 2.2 ผู้เรียนเป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ คิดริเร่มิ และสร้างสรรค์ มคี วามรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะ
37 ตามหลกั สตู ร และคุณลักษณะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 มีสขุ ภาวะท่ีเหมาะสมตามวยั มีความสามารถใน การพง่ึ พาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ/์ แนวทางการพัฒนา 3.1 พัฒนาผูบ้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา (การบริหารและจดั การศกึ ษาดว้ ยระบบ คณุ ภาพ การนิเทศติดตาม) ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ขยายโอกาสการในการเข้าถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาและการเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ กลยุทธ/์ แนวทางการพัฒนา 4.1 เพ่มิ โอกาสในการเข้าถึงการศกึ ษาและการเรยี นรูอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มและเสมอภาค 4.2 พัฒนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอื่ การศึกษา ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา 5.1 สรา้ งจติ สาํ นกึ ในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ยุทธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการศกึ ษาและสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ ม กลยทุ ธ/์ แนวทางการพัฒนา 6.1 พฒั นาระบบบริหารจัดการใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ 6.2 พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพ และตอบสนองความต้องการของผู้เรียน 10. ทศิ ทางการดำเนินงาน โรงเรยี นทรายมลู หนองกงุ ทรายศรพี ิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 วิสยั ทัศน์ “โรงเรยี นทรายมลู หนองกงุ ทรายศรีพิทยา พฒั นาผู้เรียนให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ดี ี มคี วามเปน็ ไทย มีความร้ไู ด้มาตรฐานการศกึ ษา มีความตระหนักรักทอ้ งถ่นิ และมคี วามเป็นสากล” พนั ธกิจ 1. สง่ เสริมการสรา้ งความตระหนกั ในด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ระเบยี บวินยั ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวมดว้ ยกิจกรรมท่หี ลากหลายตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ เี่ น้นทักษะการคดิ 3. สง่ เสรมิ การจัดแหล่งเรยี นรู้ ห้องปฏิบตั กิ าร และเทคโนโลยตี ่าง ๆ ให้เพียงพอตามความต้องการ และความสนใจของผเู้ รยี น 4. สง่ เสริมพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพ 5. ส่งเสริมพัฒนาหลักสตู รท้องถน่ิ ให้สอดคล้องกับสภาพของชมุ ชน และ ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม
38 เปา้ ประสงค์ 1. ผูเ้ รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวินัย ความรบั ผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม ดำเนิน ชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ผู้เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 3. สถานศกึ ษามแี หลง่ เรยี นรู้สอดคลอ้ งและเพียงพอตามความตอ้ งการและความสนใจของผูเ้ รยี น 4. ครูและบคุ ลากรได้รบั การพัฒนาส่มู าตรฐานวิชาชีพสถานศึกษามหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาทส่ี อดคล้อง กับทอ้ งถ่ิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 สรา้ งความเสมอภาคและโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้รบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานอยา่ งมีคณุ ภาพ กลยทุ ธ์/แนวทางการพัฒนา 1. สง่ เสรมิ เด็กปฐมวยั เขา้ รบั การเตรยี มความพร้อมการศกึ ษา 2. รณรงค์ สง่ เสริม การเกณฑเ์ ดก็ วัยเรียนเข้าเรยี นในปีการศกึ ษาภาคบงั คับ 100 % 3. รณรงค์ สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาให้กับเดก็ กลมุ่ เป้าหมายทุกระดับทุกพืน้ ที่ 4. เพิม่ อัตราการเรียนต่อหลังจบการศกึ ษาภาคบงั คบั ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 5. ดูแลให้ความชว่ ยเหลอื เดก็ ตกหล่นให้ไดร้ ับการศกึ ษาภาคบังคับ 6. พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศ เพื่อขยายโอกาสทางการศกึ ษา คดั กรองนกั เรียนรายบุคคล จำแนกประเภทเด็กเพ่อื การแก้ไข ชว่ ยเหลอื 7. ลดอัตราการออกกลางคนั ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความสำนกึ ในความเป็นชาตไิ ทย และวิถีชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยทุ ธ/์ แนวทางการพัฒนา 1. ปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ สอดแทรกคุณธรรม นำความรแู้ ละประยกุ ต์ใช้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2. พฒั นาครทู ุกกลุม่ สาระการเรียนรูไ้ ปส่กู ารจัดทำหลักสูตรท่ไี ด้มาตรฐานการจดั การศึกษา สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. พฒั นาบุคลากรทางการศึกษาส่กู ารสรา้ งสรรค์ ปรับกระบวนทัศน์ สอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมนำความรู้สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษา ให้เป็นแบบอย่างด้านคุณธรรมนำความรู้ ตามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพยี ง 5. สง่ เสริมให้สถานศกึ ษาจดั กิจกรรม คา่ ยคณุ ธรรม โดยเน้นลูกเสือ เนตรนารี และผู้บำเพ็ญประโยชน์ 6. สร้างเครือข่ายคณุ ธรรม บ้าน วัด โรงเรยี น ชมุ ชนท้องถ่นิ ใหเ้ กดิ ความร่วมมือ ร่วมคดิ ร่วมทำดว้ ยหวั ใจสมานฉนั ท์ 7. สร้างคน สรา้ งสงั คมส่คู วามพอเพยี ง
39 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมสนับสนนุ พฒั นาคุณภาพครูและนักเรยี นสสู่ ากล โดยบรู ณาการหลกั สตู ร สื่อ นวตั กรรมและ เทคโนโลยีแหล่งเรยี นรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ท่หี ลากหลาย กลยุทธ/์ แนวทางการพัฒนา 1. พฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สูตรสถานศึกษา 2. พฒั นาการเรียนการสอน ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม ภาษาองั กฤษ คอมพิวเตอร์ 3. พฒั นารปู แบบและวธิ ีการสอน คิดวเิ คราะห์ 4. พฒั นาทกั ษะการอ่าน การเขียน และการคดิ เลข 5. พัฒนารปู แบบการจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวยั และเด็กพิเศษ 6. พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 7. พฒั นารปู แบบการจัดการเรียนร้สู ำหรับเด็กทมี่ ปี ัญหาทางการเรยี น 8. สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ส่คู วามเปน็ เลศิ 9. ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยเี พอ่ื การจดั การศึกษา 10. ส่งเสริมพัฒนาการสรา้ งส่ือนวตั กรรมเพอ่ื การเรียนการสอน 11. สง่ เสริมการประเมินคณุ ภาพผู้เรียนทกุ ระดบั 12. สง่ เสริมการบริหารจดั การในระบบเครือขา่ ย / ดแู ลช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และกัน 13. ส่งเสริมการบรหิ ารจัดการในการแก้ปัญหาขาดแคลนครู 14. สร้างและขยายเครอื ข่ายโรงเรียนแกนนำโรงเรียนต้นแบบการจดั การศึกษา 15. พฒั นาระบบงาน วดั และประเมินผลการจัดการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 16. พฒั นาครู บคุ ลากรทางการศึกษาสมู่ ืออาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสรมิ สนับสนุนและสรา้ งความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอน่ื ๆ ในการจดั และพัฒนาการศกึ ษา กลยุทธ/์ แนวทางการพัฒนา 1. เสริมสรา้ งโรงเรยี น ให้มคี วามเขม้ แข็ง พร้อมในการขบั เคลื่อน การกระจายอำนาจ การ บรหิ ารจัดการ และการจดั การศกึ ษา 2. ส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การ รูปแบบโรงเรยี นเปน็ ฐาน (SBM) 3. จดั ระบบการกระจายอำนาจ ด้านวิชาการ ดา้ นงบประมาณ ด้านบรหิ ารงานบุคคลและ ด้านบริหารทว่ั ไป 4. พฒั นาผนู้ ำการเปล่ยี นแปลงเพอ่ื การขยายผล 5. สง่ เสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ไดม้ สี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา 6. สง่ เสรมิ สนบั สนุน การพัฒนาองค์กรนกั เรยี น เครือขา่ ยผ้ปู กครองและองค์กรชมุ ชนให้มสี ่วน ร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา ชว่ ยเหลอื ครแู ละนกั เรยี น 7. ส่งเสริมการจัดระบบดูแลช่วยเหลือโรงเรยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพ 8. สง่ เสรมิ ความเข้มแข็งให้องค์กร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาและ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน เพื่อเป็นกลไกนำนโยบายสกู่ ารปฏิบตั ิ
40 ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษาแบบมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ กลยทุ ธ์/แนวทางการพัฒนา 1. มงุ่ เนน้ การทำงานทยี่ ดึ ประชาชนเป็นศนู ยก์ ลางและมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกัน 2. ใช้การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตรแ์ ละเชงิ รกุ ในการทำงาน ( Strategic and Proactive Planning) 3. จดั ต้ังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจดั การศึกษา 4. สำรวจงานบรกิ ารที่เป็นกระบวนงานหลกั 5. ค้นหาและนบั ขนั้ ตอนและระยะเวลาการปฏบิ ัติราชการปจั จบุ ัน 6. คดั เลอื กกระบวนงานเพ่อื ลดข้นั ตอนและระยะเวลาการปฏิบตั ริ าชการ 7. พฒั นานวตั กรรม การบริหารจัดการแบบองคร์ วม เชิงบูรณาการ 8. พัฒนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีเพอ่ื เพิ่มขีดสมรรถนะ และสร้างความเป็นเลิศ ดา้ นการใหบ้ รกิ าร
41 ส่วนท่ี 3 รายละเอยี ดของแผนงาน โครงการ/กจิ กรรมและประมาณการ งบประมาณ โรงเรียนทรายมูลหนองกงุ ทรายศรีพทิ ยา สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 ไดร้ บั งบประมาณ สนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษาตงั้ แตอ่ นบุ าลจนถึงการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน จำแนก เปน็ 5 หมวด ดังน้ี 1. ค่าจัดการเรยี นการสอน ระดับชน้ั จำนวน นร. จำนวนเงนิ /คน/ปี รวมเปน็ เงนิ 52,700 กอ่ นประถมศกึ ษา 31 1,700 305,900 633,500 ประถมศกึ ษา 162 1,900 992,100 40,370 มธั ยมศึกษา 177 3,500 1,032,470 รวม 370 รวมเป็นเงิน เงนิ คงเหลือจากปีการศึกษา 2564 6,200 17,056 รวมเป็นเงิน 16,250 16,978 2. คา่ หนงั สอื เรยี น 23,331 24,534 ระดบั ช้ัน จำนวน นร. จำนวนเงิน/คน/ปี 19,757 57,370 ก่อนประถมศกึ ษา 31 200 54,339 ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 26 656 46,812 ประถมศึกษาปีท่ี 2 25 650 282,625 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 26 653 170,383 ประถมศึกษาปีที่ 4 33 707 453,008 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 29 846 ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 23 859 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 71 808 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 59 921 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 47 996 รวม 370 เงินคงเหลอื จากปกี ารศึกษา 2564 รวมเปน็ เงิน
42 3. คา่ อุปกรณ์การเรียน ระดบั ชน้ั จำนวน นร. จำนวนเงิน/คน/ปี รวมเป็นเงนิ 6,200 กอ่ นประถมศกึ ษา 31 200 63,180 74,340 ประถมศึกษา 162 390 143,720 28,635 มัธยมศกึ ษา 177 420 172,355 รวม 370 รวมเป็นเงนิ 9,300 เงินคงเหลอื จากปกี ารศึกษา 2564 58,320 79,650 รวมเป็นเงนิ 147,270 44,040 4. ค่าเครอื่ งแบบนักเรยี น 191,310 ระดับชน้ั จำนวน นร. จำนวนเงนิ /คน/ปี รวมเป็นเงิน 13,330 กอ่ นประถมศกึ ษา 31 300 77,760 155,760 ประถมศึกษา 162 360 246,850 194,085 มัธยมศึกษา 177 450 440,935 รวม 373 เงินคงเหลือจากปกี ารศึกษา 2564 รวมเป็นเงนิ 5. ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดบั ช้ัน จำนวน นร. จำนวนเงิน/คน/ปี กอ่ นประถมศึกษา 31 430 ประถมศกึ ษา 162 480 มธั ยมศกึ ษา 177 880 รวม 373 เงนิ คงเหลือจากปีการศึกษา 2564 รวมเปน็ เงิน
43 การแบ่งสดั สว่ นของงบประมาณ งบประมาณอดุ หนนุ รายหวั ของโรงเรียนทรายมลู หนองกุงทรายศรีพิทยา จำนวนเงิน 1,032,470 บาท ซงึ่ เป็นเงินสำหรับเปน็ คา่ จดั การเรยี นการสอน ในปกี ารศกึ ษา 2565 แบ่งสดั ส่วนของงบประมาณได้ ดังน้ี 1. งานวชิ าการ 722,720 บาท คิดเป็น 70 % 2. งานบรหิ ารทวั่ ไป 258,100 บาท คิดเปน็ 25 % 3. งบสำรองจา่ ย 51,650 บาท คิดเปน็ 5 % รวมงบประมาณทงั้ สน้ิ 1,032,470 บาท คดิ เป็น 100 %
44 แผนงาน / โครงการ
45 แผนงาน / โครงการ ปกี ารศึกษา 2565 การจัดสรรงบประมาณตามฝ่าย ฝ่ายบรหิ ารงานวิชาการ ที่ โครงการ งบ ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ ประมาณ ดำเนนิ การ 31,200 1 โครงการส่งเสริมและพฒั นา ตลอดปี นางอจั ฉราวรรณ สงิ หแ์ ก้ว การจัดประสบการณ์ระดบั ปฐมวัย 50,000 นางสาวอภญิ ญา ฮมแสน 50,000 นายอำนาจ สีสุด 2 โครงการพฒั นางานวิชาการ 20,000 ตลอดปี นางจุฑามาศ สุวรรณเจรญิ 1,000 นางบำเพ็ญ พงษ์ไทย 10,000 นางสาวธัญญารัตน์ แว่นแค้น 20,000 นายอำนาจ สีสดุ 3 โครงการแข่งขันวชิ าการ 1,000 ตลอดปี นางจฑุ ามาศ สวุ รรณเจริญ 2,000 นางบำเพ็ญ พงษ์ไทย 20,000 2,000 นางสาวธัญญารตั น์ แวน่ แคน้ 4 โครงการห้องสมุดมชี วี ิต ตลอดปี นางถิรนันท์ เมืองบาล นางทรงพร ช่างสอน โครงการพัฒนาการเรยี นรู้สู่ประชาคม นายอำนาจ สสี ุด อาเซยี น 5 ตลอดปี นางบุษรนิ ทร์ ศรีเพ็ชร นางสาวปัณณรตั น์ โพธติ า นายอำนาจ สีสุด 6 โครงการโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ตลอดปี นางจฑุ ามาศ สวุ รรณเจรญิ นางบำเพญ็ พงษ์ไทย นางสาวธญั ญารตั น์ แวน่ แค้น นางอนงค์ โพธศ์ิ รี 7 โครงการพัฒนาห้องปฏบิ ตั ิการ ตลอดปี นางบำเพญ็ พงษ์ไทย นางสาวสุรีรัตน์ เช้ือแกว้ นางมาลยั ประดับศิลป์ 8 โครงการนิเทศภายในโรงเรียน ตลอดปี นายเดชา สารมานติ ย์ นายอำนาจ สีสุด 9 โครงการประกนั คุณภาพภายใน ตลอดปี นางบำเพญ็ พงษ์ไทย 10 โครงการส่งเสรมิ อนุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรม ตลอดปี นายเทิดทูล สัพโส ไทย นางสาวโสภดิ า ไชยทะ นางอนงค์ โพธ์ิศรี 11 โครงการแนะแนวการศึกษา ตลอดปี นางสาวปณั ณรตั น์ โพธติ า นางสาวโสภดิ า ไชยทะ
46 ฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการ (ตอ่ ) งบ ระยะเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ ท่ี โครงการ ประมาณ ดำเนินการ 20,000 12 โครงการแข่งขันกีฬา 10,000 ตลอดปี นายเทดิ ทลู สัพโส นายจารุวฒั น์ สพั โส งบ ประมาณ นายอำนาจ สสี ดุ 100,000 13 โครงการสวนพฤกษศาสตรใ์ นโรงเรยี น ตลอดปี นายบุญสนิ ธ์ุ พงษไ์ ทย 50,000 นายเทดิ ทูล สัพโส 50,000 นายจารุวัฒน์ สัพโส ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป โครงการ 50,000 ระยะเวลา ผู้รบั ผิดชอบ ท่ี ดำเนนิ การ 3,000 นายประสาท วรรณพัฒน์ 2,000 14 โครงการจดั หาและซอ่ มแซมครุภัณฑ์ ตลอดปี นายบุญสินธ์ุ พงษ์ไทย นายเทดิ ทลู สพั โส นายจารุวัฒน์ สัพโส นายประสาท วรรณพฒั น์ 15 โครงการปรับปรุง ซ่อมแซม อาคารเรียน ตลอดปี นายบญุ สินธ์ุ พงษ์ไทย อาคารประกอบ นายเทิดทลู สพั โส นายจารุวัฒน์ สพั โส นายประสาท วรรณพัฒน์ 16 โครงการสรา้ งถนนไร้ฝุ่น ตลอดปี นายบุญสนิ ธุ์ พงษ์ไทย นายเทดิ ทลู สพั โส นายจารุวฒั น์ สพั โส นายประสาท วรรณพัฒน์ 17 โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ัศน์และสภาพแวดลอ้ ม ตลอดปี นายบญุ สินธุ์ พงษไ์ ทย ในโรงเรียน นายเทิดทูล สพั โส นายจารุวัฒน์ สพั โส นายประสาท วรรณพฒั น์ 18 โครงการเศรษฐกิจพอเพยี ง ตลอดปี นายบญุ สินธ์ุ พงษ์ไทย นายเทิดทูล สัพโส นายจารุวฒั น์ สัพโส นายประสาท วรรณพฒั น์ 19 โครงการโรงเรยี นสขี าว ตลอดปี นายบญุ สินธุ์ พงษไ์ ทย นายเทดิ ทลู สัพโส นายจารวุ ัฒน์ สพั โส
47 ฝ่ายบรหิ ารทั่วไป โครงการ งบ ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ ที่ ประมาณ ดำเนินการ 10,000 2,000 นายบญุ สินธุ์ พงษไ์ ทย 20 โครงการเสยี งตามสาย 15,000 ตลอดปี นายเทดิ ทูล สพั โส 10,000 นายจารุวัฒน์ สพั โส 2,000 นายประสาท วรรณพัฒน์ 21 โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ตลอดปี นายบญุ สินธ์ุ พงษ์ไทย นายเทิดทูล สพั โส นายจารุวัฒน์ สพั โส นายทรงพร ช่างสอน นางถิรนันท์ เมืองบาล 22 โครงการสว้ มสขุ สนั ต์ ตลอดปี นายเทดิ ทูล สัพโส 23 โครงการโรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ นายจารุวฒั น์ สัพโส 24 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย นางสาวโสภิดา ไชยทะ 25 โครงการวันสำคญั นางบุญชื่น ศรเี พชร วนั ไหว้ครู วนั สนุ ทรภู่ / วนั ภาษาไทย ตลอดปี นางสาวปณั ณรตั น์ โพธิตา นางสาวโสภิดา ไชยทะ นายประสาท วรรณพฒั น์ ก.ค.-ต.ค. นายบญุ สนิ ธ์ุ พงษ์ไทย 2565 นางสาวปณั ณรตั น์ โพธติ า นายเทดิ ทูล สพั โส นายจารุวัฒน์ สพั โส นางบญุ ชนื่ ศรีเพชร 1,000 มิ.ย. 2565 นางสาวปณั ณรตั น์ โพธติ า นางสาวโสภดิ า ไชยทะ นางบรรทม อุดมเดช 1,000 ก.ค. 2565 นางถริ นันท์ เมืองบาล นางทรงพร ชา่ งสอน นางมาลัย ประดับศิลป์ นางบรรทม อดุ มเดช นางเปรมฤดี จงรู้ธรรม วนั เขา้ พรรษา 6,000 ก.ค. 2565 นางบุษรนิ ทร์ ศรเี พ็ชร นางมาลัย ประดับศิลป์ นางสาวอภญิ ญา ฮมแสน นางสาวสุรรี ตั น์ เช้ือแกว้
48 ฝ่ายบริหารทั่วไป (ต่อ) งบ ระยะเวลา ผ้รู บั ผดิ ชอบ ที่ โครงการ ประมาณ ดำเนนิ การ 1,000 วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ นางพศิ วาส วรรณพัฒน์ พระเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 10 1,000 นางนวลจันทร์ กุมภวงศ์ วนั แมแ่ หง่ ชาติ 4,000 ก.ค. 2565 นายเทดิ ทูล สพั โส วนั วิทยาศาสตร์ 1,000 25 นางสาวโสภดิ า ไชยทะ 10,000 วนั พ่อแหง่ ชาติ นายจารุวฒั น์ สพั โส 10,000 วันเด็กแห่งชาติ นางพศิ วาส วรรณพัฒน์ 2,000 ส.ค. 2565 นางนวลจนั ทร์ กุมภวงศ์ 1,000 หนุ้ ของ นางสาวสรุ ีรัตน์ เช้ือแก้ว สมาชกิ นางอนงค์ โพธ์ศิ รี นางบำเพ็ญ พงษ์ไทย ส.ค. 2565 นางสาวธญั ญารัตน์ แวน่ แคว้น นางสาวอภิญญา ฮมแสน นางสาวสรุ ีรตั น์ เชือ้ แก้ว นายบุญสนิ ธ์ุ พงษ์ไทย ธ.ค. 2565 นายเทิดทลู สพั โส นายจารวุ ฒั น์ สัพโส นางเปรมฤดี จงรธู้ รรม นางบุษรินทร์ ศรีเพ็ชร ม.ค. 2566 นางมาลัย ประดับศิลป์ นางสาวอภิญญา ฮมแสน นางสาวสุรรี ตั น์ เชื้อแก้ว นายอำนาจ สีสุด วนั อำลาสถาบัน เม.ย.2566 นางจุฑามาศ สวุ รรณเจริญ นางบำเพญ็ พงษ์ไทย นางสาวธัญญารัตน์ แวน่ แคว้น นางเปรมฤดี จงรู้ธรรม 26 โครงการประชุมผู้ปกครองสานสมั พันธ์ ตลอดปี นางบษุ รินทร์ ศรีเพ็ชร กบั ชมุ ชน นางสาวอภญิ ญา ฮมแสน นางสาวสรุ ีรตั น์ เชอ้ื แก้ว นายบญุ สนิ ธุ์ พงษไ์ ทย 27 โครงการโรงเรียนสุจริต ตลอดปี นายเทิดทลู สัพโส 28 โครงการจัดกจิ กรรมสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน นายจารวุ ัฒน์ สัพโส นางสาวสรุ รี ตั น์ เชือ้ แก้ว ตลอดปี นางอนงค์ โพธิศ์ รี นางสาวปณั ณรตั น์ โพธิตา
49 ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป (ต่อ) งบ ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ ท่ี โครงการ ประมาณ ดำเนินการ 29 โครงการประชุมกรรมการสถานศึกษา ตลอดปี นายประสาท วรรณพัฒน์ 4,000 นางบรรทม อุดมเดช 30 โครงการปจั จยั พืน้ ฐานยากจน ตลอดปี นางเปรมฤดี จงรู้ธรรม ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณ ไดร้ ับ นางบุษรินทร์ ศรเี พช็ ร ท่ี โครงการ จัดสรรจาก นางมาลัย ประดับศิลป์ นางสาวอภญิ ญา ฮมแสน 31 โครงการการเงิน บัญชแี ละพัสดุ สพฐ. นางสาวสรุ รี ัตน์ เชอ้ื แกว้ ฝ่ายบริหารบุคคล งบ ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ ที่ โครงการ ประมาณ ดำเนนิ การ นางอจั ฉราวรรณ สิงห์แก้ว 32 โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาบุคลากร 240,800 ตลอดปี นางเปรมฤดี จงรธู้ รรม นางบุษรินทร์ ศรเี พช็ ร งบบรหิ าร/สำรองจ่าย 5% นางมาลัย ประดบั ศลิ ป์ รวมเงินงบประมาณทั้งหมด นางสาวอภญิ ญา ฮมแสน นางสาวสุรีรัตน์ เชอ้ื แก้ว งบ ระยะเวลา ผูร้ ับผิดชอบ ประมาณ ดำเนนิ การ นางพิศวาส วรรณพฒั น์ 166,870 ตลอดปี นางนวลจนั ทร์ กมุ ภวงศ์ นางอนงค์ โพธ์ศิ รี นางบญุ ชน่ื ศรีเพชร นางทรงพร ช่างสอน นางถิรนันท์ เมืองบาล 51,600 ตลอดปี นายเสงยี่ ม นรสาร นายเดชา สารมานิตย์ 1,023,250
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172