Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3

หน่วยที่ 3

Published by ครูเกตุ, 2020-06-03 04:08:02

Description: หน่วยที่ 3
ระบบทางเดินอาหาร

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 3 ระบบทางเดนิ อาหาร คาสง่ั จงศึกษาและปฏบิ ตั ติ ามคาสัง่ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. อา่ นบทความ ( 60 นาที) 2. วเิ คราะห์ และศกึ ษาเพิ่มเตมิ จากส่ือตา่ งๆ เช่น หนังสือ เว็บไซต์ หรือสื่อออนไลน์ต่างๆ (90 นาที) 3. ทาแบบทดสอบ 55 คะแนน ( 30 นาที) https://forms.gle/Yqu2zR2HuYB3n4iT6

ระบบทางเดินอาหาร กระบวนการยอ่ ยอาหารเป็นกระบวนการท่สี าคัญในการ เปลีย่ นอาหารเปน็ พลังงานเพ่อื ใชใ้ นการดาเนินชีวิต การย่อย อาหารและการดูดซึมอาหารเป็นกระบวนการทีเ่ กดิ ขน้ึ รว่ มกัน ระหวา่ งกายภาพ เคมีและจุลินทรีย์ เร่ิมจากทางกายภาพเพ่ือ ลดขนาดอาหารให้เปน็ ชิน้ เลก็ ๆ ปฏิกิรยิ าเคมขี องเอนไซม์ ไป จนถงึ เชื้อจลุ ินทรียใ์ นลาไสส้ งั เคราะหว์ ิตามนิ

1. กระบวนการย่อยอาหาร ระบบการย่อยอาหารประกอบด้วยสว่ นทเ่ี ปน็ ทางเดิน อาหารและอวัยวะท่ีช่วยในการย่อย โดยระบบยอ่ ยอาหาร เพือ่ เปล่ียนอาหารท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ่เปน็ ขนาดเล็ก เพอื่ ดูด ซึมไปใช้ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย 1.1 การเปลย่ี นแปลงทเี่ กิดข้ึนหลงั จากการบริโภค เม่อื รับปะทานอาหาร อาหารจะเกิดการเปลีย่ นแปลงที่ แบ่งออกไดเ้ ป็น 5 ลกั ษณะ คอื 1.1.1 การย่อย (Digestion) การย่อยอาหารเร่ิมเกดิ ข้นึ ตง้ั แตอ่ าหารอยู่ในปาก กระเพาะอาหาร และลาไส้เลก็ การ ย่อยอาหารจะเกิดขึ้นอย่างสมบรู ณท์ ีล่ าไสเ้ ลก็ กระบวนการ ย่อยอาหารเกิดได้ 2 ลกั ษณะคอื 1) การย่อยเชิงกล (Mechanical Process) เกิดจาก การเคล่ือนไหวของระบบทางเดินอาหาร แบ่งออกไดเ้ ปน็ การ เคี้ยวบดอาหาร การกลืน และการเคลื่อนไวของกระเพาะ อาหารและลาไส้ สภาวะอารมณ์ของร่างกายมผี ลตอ่ กระบวนการยอ่ ยเชิงกล เช่น ตนื่ เตน้ ตกใจ ดีใจ เสยี หรอื เร่ง รบี ซง่ึ สง่ ผลต่อกระบวนการย่อยอาหาร

2) การย่อยทางเคมี () เป็นการเปลี่ยนโครงสร้างทาง เคมีของอาหารโดยอาศัยเอนไซม์ย่อยสารอาหารให้มีโมเลกุลท่ี เล็กลงพอท่ีร่างกายสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ค า ร์ โ บ ไ ฮ เ ด ร ต จ ะ ต้ อ ง ย่ อ ย ใ ห้ เ ป็ น น้ า ต า ล เ ชิ ง เ ดี่ ย ว (Monosaccharide) ไขมันจะย่อยเป็นกลีเซอรอล (Glycerol) และกรดไขมนั (Fatty Acid) 1.1.2 การดูดซึม () เมื่ออาหารท่ีผ่านการย่อยจนเป็น โมเลกลุ ที่มขี นาดเล็ก ได้แก่ น้าตาลโมเลกุลเดี่ยว กรดอะมิโน กรดไขมัน และกลีเซอรอล น้าและอ่ืน สารอาหารเกือบ ท้ังหมดจะถูกดูดซึมท่ีผนังลาไส้เล็กและน้าบางส่วนจะถูกดูด กลบั ในลาไส้ใหญ่ เพื่อนาสารอาหารทีไ่ ด้ไปเปล่ยี นเปน็ พลังงาน

1.1.3 การลาเลียงสารอาหาร กรดอะมิโนและกลูโคสจะ ลาเลียงเข้าสตู่ ับ ซ่งึ ตบั ทาหน้าท่คี วบคมุ ปริมาณกรดอะมิโนและ กลูโคส หากปริมาณกรดอะมิโนมากเกินไปตับจะเปล่ียนไปเป็น ยูรกิ และถา้ กลูโคสมากเกนิ ไปจะเปลย่ี นเป็นไกลโคเจน 1.1.4 เมตาบอลิซมึ (Metabolism) เป็นข้ันตอนการสร้าง และการสลายสารประกอบสารประกอบอินทรีย์ซึ่งเกิดข้ึน ภายในเซลล์และเน้ือเย่ือต่างๆ ของร่างกาย กระบวนการ เหลา่ นี้เริ่มตงั้ แตเ่ ม่ือสารอาหารท่ีมีขนาดเล็กที่สุดมีการดูดซมึ มี การเปลี่ยนแปลงนาไปสร้างเน้ือเย่ือใหม่ ซอ่ มแซมเนื้อเยื่อเดิม ที่ชารุด นาไปเปลี่ยนให้เกิดพลังงาน นาพลังงานที่ได้ไปใช้ใน การควบคุมอุณหภูมิ ควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ ใช้ใน การทางานรวมถึงการกาจัดสารที่ร่างกายใช้ประโยชน์ไม่ได้ ออกไป ปฏิกิริยาต่างๆ ที่เกิดขึ้นน้ีต้องอาศัยเอนไซม์เป็นตัวเร่ง ปฏกิ ิรยิ าและอาจมีวติ ามินร่วมด้วย 1.1.5 การขับถ่าย (Excretion) เป็นการกาจัดอาหารส่วน ท่ีร่างกายไม่ใช้แล้วออกมาจากร่างกายทางใดทางหน่ึง เช่น ลม หายใจ ปัสสาวะ และอุจจาระ

1.2 องค์ประกอบการยอ่ ยอาหาร การยอ่ ยอาหารจะมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ 5 ประการ ได้แก่ ฮอร์โมน เอนไซม์ กรดเกลือ น้าดีและการหดรีดหรือบีบ รดู ดงั นี้ 1.2.1 ฮอร์โมน (Hormone) เป็นโปรตีนชนิดหน่ึงท่ีผลิต โดยต่อมไร้ท่อ ทาหน้าที่เป็นตัวเร่งและควบคุมาการทางานของ ต่อมและอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดในร่างกาย เช่น ฮอร์โมนแกสต ริน(Gastrin) และซเี ครติน(Secretin) ที่พบในกระเพาะอาหาร และลาไส้เล็กตามลาดับฮอร์โมนเหล่านี้ถูกสร้างข้ึนเม่ืออาหาร เป็นตัวกระตุ้น แล้วฮอร์โมนจะไหลเข้าสู่กระแสโลหิตเพื่อไป กระตุ้นให้ผนังกระเพาะ ผนังลาไส้เล็กและตับอ่อนผลิตเอนไซม์ ออกมา

1.2.2 เอนไซม์ (Enzyme) เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่สามารถ เร่งปฏิกริ ยิ าเคมีในสง่ิ ทชี่ วี ิตได้อยา่ งมีประสิทธิภาพสูงกว่าตัวเร่ง ปฏิกิริยาสังเคราะห์ เปลี่ยนอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้เป็น โมเลกลุ เล็กพอที่จะดูดซึมเขา้ สู่รา่ งกายได้ 1.2.3 กรดเกลือ (Hydrochoric, HCI) ทาหน้าที่ปรับ สภาวะความเป็นกรดให้เหมาะสมต่อการทางานของเอนไซม์ โดยกรดเกลือจะหลังออกมาจากสว่ นกลางของกระเพาะอาหาร 1.2.4 น้าดี (Bile) เป็นสารที่ตับสร้างข้ึนและเก็บไว้ท่ีถุง น้าดี เม่ือได้รับการกระตุ้นฮอร์โมนซีเครติน จะเกิดการบีบตัว และหลังน้าดีไปท่ีลาไส้เล็กส่วนต้น น้าดีจะทาหน้าท่ีแตกตัว โมเลกุลของไขมันให้มีลักษณะเป็นอิมัลชัน ทาให้เอนไซม์เข้า ยอ่ ยได้ 1.2.5 การหดรีดหรือบีบรูด (Peristalsis) ของอวัยวะใน ระบบทางเดินอาหาร การบีบรูดท่ีเกิดขึ้นทาให้อาหารเกิดการ เคลื่อนตัวไปตามส่วนต่างๆ ของทางเดินอาหาร ทาให้น้าย่อย หรอื เอนไซมเ์ ข้าทาปฏิกิรยิ าได้

2. โครงสรา้ งระบบทางเดนิ อาหาร (Gastrointestinal Tract) ระบบทางเดินอาหารหรืออวัยวะท่ีเกี่ยวข้องกับทางเดิน อาหาร ยาวประมาณ 30 ฟุต หรือ 9 เมตร ต้ังแต่ปากถึงทวาร หนัก โดยท่ีปากและทวารหนักเป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ภายใต้การ ควบคุมของจิตใจ (Volumtary Muscle) ส่วนท่ีเหลืออยู่ ภายนอกการควบคุมของจติ ใจ (Involumtary Muscle)

ทางเดินอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ เรียงตามลาดับ คือ ปาก (Mouth) คอยหอย( pharynx) หลอดอาหาร (Esophagus) กระเพาะอาหาร(Stomach/Gaster) ลาไส้เล็ก (Small Intestine) ลาไส้ใหญ่(LargeIntestine) และทวารหนัก (Anus)

2.1 ปาก(Mouth) เริ่มจากริมฝีปากถึงบริเวณที่ติดกับคอหอย ส่วนบน ตอนหน้าจะมีเพดานแข็ง และส่วนท้ายเป็นเพดานอ่อน ซึ่งจะ ทาหน้าทกี่ ระดกข้ึนลงเม่ือกลืนอาหารและลิ้นปิดกล่องเสียง จะ ทาหน้าที่ปิดหลอดลมเพ่ือป้องกันอาหารตกลงไป ป้องกันการ สาลักอาหาร และมีต่อมทอมซิลอยู่ท่ีด้านข้างกระพุ้งแก้มทา หน้าทีด่ กั จบั เชอ้ื โรค

2.1.1 ฟัน (Teeth) ทาหน้าท่ีบดย่อยอาหารให้มี ขนาดเล็กเพื่อเพิ่มพ้ืนท่ีหน้าตัดของอาหารให้เอนไซม์เข้าสัมผัส กับอาหารและเกิดการย่อยได้มากท่ีสุด การเค้ียวอาหารเป็น การกระตุ้นให้มกี ารผลิตน้าลายออกมา 2.1.2 ลิ้น (Tongue) เป็นอวัยวะท่ที าหน้าท่คี ลุกเคล้า อาหารให้สัมผัสกับน้าลาย รับรสและช่วยในการพูด ลิ้นทา หน้าท่ีรับความรู้สึกเกี่ยวกับรสของสารต่างๆ ท่ีผ่านเข้าสู่ปาก ผิวล้ินมีเน้ือเยื่อที่มีปุ่มรับรสจานวนมากทาให้เราสามารถรับรส

อาหารได้ การรับรสของล้ินเม่ืออาหารเข้าสู่ปาก ลิ้นจะมีต่อม ลิ้มรสทาหน้าที่เป็นตัวรับรส ต่อมลิ้มรสมี 4 กลุ่ม ตามบริเวณ ตา่ งๆของลิ้น แก่ รสเปรีย้ ว รสเค็ม รสหวาน รสขม ตอ่ มล้มิ รสแตล่ ะรสจะมีความเข้มขน้ ข้นั ตา่ แตกตา่ ง กันโดยทร่ี สขมจะมรี ะดบั ต่าทีส่ ดุ หรอื มกี ารรับรไู้ ด้สงู สดุ คือ มี รสขมเพียงเล็กน้อยกร็ ู้สกึ ได้ ระดบั ต่อมาคือรสเปรี้ยว เคม็ และ หวาน รสเผ็ดไม่จดั ว่าเปน็ รสชาติแตเ่ ป็นความรู้สกึ ระคายเคืองท่ี บริเวณนน้ั ๆ

2.1.3 ต่อมน้าลาย (Salivary Gland) ร่างกายผลิต น้าลายประมาณ 1.5 ลิตรต่อวัน หน้าท่ีของน้าลายคือช่วยใน การหล่อล่ืนอาหารเพื่อให้กลืนสะดวก ทาหน้าท่ีย่อยแป้งที่สุก แล้ว ช่วยในการพูด หล่อลื่น นอกจากนี้ยังช่วยกาจัดสารพิษ บางชนดิ เช่น โลหะหนัก น้าลายแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ น้าลายชนิดใส (Serous) และน้าลายชนิดเหนียว(Mucous) ซ่ึงน้าลายชนิดใด จะมีเอนไซม์ ไทอะนิน(Ptyalin) และมอลเทส(Maltase) ซึ่ง เป็นกลุ่มเอนไซม์อะไมเลส(Amylase) และน้าลายชนิดเหนียว ทาหน้าที่สร้างสารเมือก(Mucin) ซ่ึงเป็นไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) ทาหน้าที่เคลือบอาหรให้กลืนได้สะดวก บางส่วนของน้าลายยังถูกกลืนลงสู่กระเพาะอาหารและลาไส้

เล็กทาให้เอนไซม์ไม่สามารถยอ่ ยผนังกระเพาะอาหารและลาไส้ เลก็ ได้ 2.2 คอหอยและหลอดอาหาร (Pharynx and Esophagus) คอหอยเป็นทางเดินติดต่อระหว่างระบบทางเดินหายใจและ ระบบทางเดินอาหาร มีหน้าท่ีสาคัญเก่ียวกับการกลืน หลอด อาหารมีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร โดยเร่ิมจากคอหอยไป ส้ินสุดที่กระเพาะอาหาร ระหว่างทางเดินอาหารแต่ละส่วนจะมี ลักษณะเป็นรอยคอด มีกล้ามเน้ือท่ีทาหน้าท่ีก้ันไม่ให้อาหารไหล ยอ้ นกลับ อาหารจะเคลื่อนที่แบบบีบรูด เริ่มต้ังแต่อาหารอยู่ในคอ หอย และจะเกิดต่อเน่ืองจนกระทั่งถึงระยะสุดท้ายของหลอด อาหาร

2.3 กระเพาะอาหาร (Stomach) กระเพาะอาหารเป็นส่วนทางเดินอาหารท่ีมีขนาดใหญ่ ท่ีสุดมีลักษณะเป็นถุงอยู่ทางด้านซ้ายของร่างกาย อยู่ใต้กระบัง ลม กระเพาะอาหารมคี วามจุประมาณ 1,000-1,200 ลูกบาศก์ เซนติเมตร ขณะท่ีอาหารอยู่ในกระเพาะเต็มที่จะมีความยาว ประมาณ 10 น้ิว กว้าง 5 นิ้ว ข้างในกระเพาะมีลักษณะเป็นลูก คล่ืน เรียกว่ารูกี (Rugae) ทาให้ผนังกระเพาะอาหารยืดหดได้ การย่อยในกระเพาะอาหารน้ันมีท้ังแบบเชิงกล เช่น การบีบรัด ของกระเพาะอาหารทาใหอ้ าหารแตกออกผสมกับเอนไซม์ และ ทางเคมีโดยเอนไซม์

2.3.1 กระเพาะอาหารมีหน้าท่ีเป็นที่เก็บอาหาร ช่ัวคราวเพ่ือรอการย่อย ทั้งน้ีขึ้นอยู่กัปริมาณและชนิดของ อาหาร ไขมันอยู่นาน 4-5 ชั่วโมง โปรตีน 2-3 ช่ัวโมง คาร์โบไฮเดรต 1-2 ชั่วโมง และน้าอยู่ในกระเพาะอาหารสั้น ท่ีสุด กระเพาะอาหารมีหน้าท่ีเป็นอวัยวะย่อยอาหาร ให้สารท่ี จาเป็นตอ่ การดูดซึมวิตามินบี 12 สาหรับการสร้างเม็ดเลือด ถ้า เยื่อเมือกในกระเพาะอาหารไม่สร้างสารนี้จะทาให้เป็นโลหิต จางได้ 2.3.2 การย่อยในกระเพาะอาหาร การย่อยใน กระเพาะอาหารมที ัง้ การยอ่ ยทางกลและทางเคมี ประกอบด้วย 1) กรดเกลือ เป็นกรดท่ีหล่ังออกมา ประมาณวันละ 2-3 ลิตร/วัน ซ่ึงกรดเกลือเมื่อขับออกมาจากกระเพาะอาหาร ใหม่ๆจะมีความเป็นกรดสูง กัดกร่อนเนื้อเย่ือออย่างรุนแรงแต่ กระเพาะอาหารจะมีสารเมือกเคลือบอยู่ทาให้กระเพาะอาหาร ไม่ถูกกัดกร่อน หน้าท่ีหลักของกรดเกลือคือช่วยให้กระเพาะ อาหารมีสภาวะเหมาะสมต่อเอนไซม์ ช่วยดูดซึมแคลเซียม เหล็ก ทาให้น้าตาลโมเลกุลคู่(Disaccharide) แตกตัวและค่า แบคทเี รยี ท่ตี ดิ มากับอาหาร

2) สารเมือก เป็นสารเมือกหรือน้าเมือก ที่ถูกขับ ออกมาเพื่อเคลือบผิวกระเพาะอาหาร ลดความเป็นกรด ช่วย หลอ่ ลน่ื ป้องกันไม่ใหก้ ระเพาะอาหารถกู ทาลายจากกรดเกลือ 3) เอนไซม์ ในกระเพาะอาหารมีเอนไซม์ดังนี้ - เพปซิโนเจน (Pepsinogen) ต้องเปล่ียนเป็น เพป ซนิ (Pepsin) โดยอาศยั กรดเกลอื - เรนนิ (Renin) เปน็ เอนไซม์ท่ีพบในกระเพาะอาหาร ของเด็ก มีหน้าที่ช่วยย่อยโปรตีนในนมคือเคซีน(Casein) ซึ่ง เม่ือกระเพาะหลั่งเรนินออกมาจะยังไม่พร้อมใช้งาน ต้องอาศัย กรดเกลือเพ่ือปรับค่า ph จึงจะสามารถทางานได้ เมื่ออายมุ าก ข้ึนเรนินในกระเพาะอาหารจะลดลง ทาให้ผู้ที่ไม่ได้ด่ืมนมเป็น

ประจามีอาหารท้องเสียเน่ืองจากร่างกายไม่สามารถย่อยนมได้ ทาให้นมเกิดการหมักตวั เป็นกรดแลกตกิ ร่างกายจะต้องการขับ กรดแลกติกซ่ึงจาเป็นต้องใช้น้าจานวนมากจึงทาให้เกิดการ ท้องเสีย วิธีแก้คือค่อยๆรับประทานนมทีละน้อย เพ่ือปรับ ระดับของแบคทีเรียในลาไส้ให้มีปรมิ าณมากพอที่จะยอ่ ยนมได้ 2.4 ลาไสเ้ ลก็ (Small Intestine) เป็นทางเดินอาหารที่ต่อจากปลายกระเพาะอาหาร สาไล้ เล็กมีความยาวประมาณ 6 – 6.5 เมตร ทาให้อาหารอยู่ใน ลาไส้เล็กเป็นเวลาค่อนข้างนาน และสามารถที่จะย่อยได้อย่าง สมบูรณ์ ลาไส้เล็กตอนต้นยาวประมาณ 1.5 นิ้ว และค่อยๆเล็ก ลงจนตอนปลายของลาไสเ้ ล็กกวา้ งประมาณ 1 นวิ้

2.4.1 หน้าท่ีของลาไส้เล็ก 1) ทาหน้าที่ยอ่ ยอาหาร () และดดู ซึมสารอาหาร 2) รบั นา้ ดีจากตับ () และน้าตบั () มาจากตบั ออ่ น 3) ขบั เอนไซม์ () 2.4.2 การย่อย ลาไส้เล็กจะทาหน้าท่ีย่อยอาหารที่มี โมเลกุลใหญ่ท้ังหมดให้เป็นโมเลกุลเล็กจนร่างกายสามารถ นาไปใช้ได้ กระบวนการนี้จาเป็นต้องอาศัยการทางานของ เอนไซม์จากตับอ่อน น้าดีจากตับและเอนไซม์จากลาไส้เล็ก เอนไซมท์ ี่พบไดใ้ นลาไส้เลก็ ได้แก่ -เอนไซมท์ ีผ่ ลติ จากตบั ออ่ น 1) อะไมเลสหรืออะไมลอฟซิน (Amylase, Amylopsin) ทาหน้าทย่ี อ่ ยแป้งใหเ้ ปน็ มอลโทส 2) ทริปซิโนเจน+เอนเทดโรไคเนส =ทริปซนิ (Trypsin) ทา หน้าทย่ี ่อยโปรตีน โปรตโิ อส เพปโทน เปน็ พอลเิ พปไทด์ 3) ไคโมทริปซิโนเจน+เอนเทอโรไคเนส =ไคโมทริปซิน (Chymotrypsin) ทาหน้าที่เหมือนทริปซิน และทาให้นม ตกตะกอน

4) โปรคาร์บอกซิลเพปทิเดส+ทริปซิน =คาร์บอกซิเพปทิ เดส (Carboxypeptidase) ทาหน้าที่ย่อยพิลิเพปไทด์ให้เป็น เพปไทดโ์ มเลกลุ เล็กและกรดอะมโิ น 5) ไลเปสหรือสทีพซนิ อาศัยน้าดีทาให้ไขมันแตกตัวในรูป ของอิมัลชัน จากนั้นไลเปสจะย่อยให้เป็นกรดไขมันและกลีเซ อรอล 6 ) ไ ร โ บ นิ ว ค ลิ เ อ ส แ ล ะ ดี อ อ ก ซิ ไ ร โ บ นิ ว ค ลิ เ อ ส (Ribonuclease, Deoxyribonuclease) ทาหน้าท่ีย่อยกรด นิวคลิอิกในลาไสเ้ ลก็ - เอนไซม์ที่ผลิตจากลาไสเ้ ลก็ 1) ไดแซกคาเรส (Disaccharase) ได้แก่ ซูเครส(Sucrase) มอลเทส(Maltase) และแลกเทส(Lactase) ทาหน้าท่ีย่อย น้าตาลโมเลกุลคใู่ หเ้ ป็นโมเลกลุ เดย่ี ว ซูโครส Sucrase ฟรักโทส + กลโู คส มอลโทส Maltase กลูโคส + กลโู คส แลก็ โทส Lactase กาแลก็ โทส + กลโู คส 2) เอนเทอรโรไคเนส () ทาหน้าที่กระตุ้นการทางานของ เอนไซม์ โดยไปกระตุ้นให้ทริปซิโนเจนและโคไมทริปซิโนเจน เปลี่ยนไปในรปู ท่ีออกฤทธ์ิ

3) อะมิโนเพปทิเดส (Eipeptidase) ย่อยพิลิเพปไทด์ที่มี หมู่อะมิโนใหก้ รดอะมิโน 4) ไดเพปทิเดส (Dipeptidase) ย่อยไดเพบไทด์ให้เป็น กรดอะมโิ น 2.4.3 การดูดซึมในลาไส้เล็ก การดูดซมึ สารอาหารจาพวก โปรตีน ไขมันและคาร์โบไฮเดรตหลังจากการย่อยเป็นโมเลกุล เล็ก เช่น กรดอะมิโน กรดไขมัน น้าตาลกูลโคส วิตามิน เกลือ แร่ วิตามินบี 12 และเกลือน้าดี โดยในลาไส้เล็กจะมีพื้นที่ใน การดูดซึมสารอาหารประมาณ 250 ตารางเมตร(1 สนามเทส นิส) โดยพื้นผิวภายในของลาไส้เล็กจะประกอบไปด้วยปุ่มที่มี ลักษณะคล้ายน้ิวมือเล็กๆจานวนมาก(วิลลัส Villus) ซึ่งภายใน ปุ่มน้ีจะประกอบไปด้วยเส้นเลือดฝอยจานวนมาก ท่อทางเดิน น้าเหลืองซึ่งจะทาหน้าท่ีลาเลียงสารอาหารท่ีละลายจากไขมัน เขา้ สู่ร่างกาย เส้นประสาทเพื่อควบคมุ การเคลื่อนไหวของวิลลสั

2.5 ลาไสใ้ หญ่ (Large Intestine) ลาไส้ใหญ่เป็นส่วนล่างสุดของลาไส้ท่ีแทบจะไม่มีการย่อย อาหารภายใน อาหรในส่วนน้ีคือกากอาหารเกือบท้ังหมด ส่วน ต่อระหว่างลาไส้เล็กและลาไส้ใหญ่ ส่วนปลายมีไส้ติ่ง (Appendix) อยู่ด้านขวามือของช่องท้องคือลาไส้ใหญ่ส่วนต้น ต่อเนื่องไปยังลาไส้ใหญ่ส่วนกลางและส่วนปลาย จนออกสู่ ทวารหนกั (Anus) โครงสร้างภายในลาไส้ใหญ่จะไม่มีวิลลัส แต่ จะมกี ารสรา้ งเมอื กจากเซลล์โกเบลต(Goblet Cell)

ลาไส้ใหญ่จะบีบตัวประมาณวันละ 3-4 คร้ัง เพ่ือขับกาก อาหารไปสู่ลาไส้ใหญ่ท่ีมีลักษณะเป็นรูปตัว S (Sigmoid Colon) สู่ลาไส้ตรง (Rectum) การขับถ่ายเป็นกระบวนการ สุดท้ายของกาย่อยและการดูดซึมอาหารหลังจากการย่อยแล้ว อาหารที่เหลือจากการย่อยจะถูกขับออกเป็นอุจจาระทางทวาร หนัก (Anus) อาหารที่ไม่ย่อย เช่น แป้งและไขมันบางส่วน เซลลูโลสในผักและผลไม้ อุจจาระจะอ่อนหรือเหลวเม่ือผ่าน ผ นั ง ล า ไ ส้ ใ ห ญ่ จ ะ เ กิ ด ก า ร ดู ด ซึ ม น้ า ท า ใ ห้ อุ จ จ า ร ะ แ ข็ ง ข้ึ น หลังจากรับประทานอาหารแล้วเม่ือประมาณ 18-24 ชั่วโมง อาหารจะถูกขับออกจากร่างกาย โดยคนปกติจะขับถ่าย อจุ จาระประมาณ 100-400 กรัม หรอื 25-100 กรัมในลักษณะ ท่ีแหง้

3. สรปุ ระบบการย่อยอาหารประกอบด้วยส่วนท่ีเป็นทางเดิน อาหารและอวัยวะที่ช่วยในการย่อยโดยระบบย่อยอาหารจะ เปล่ียนอาหารโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กลง เพ่ือดูดซึมไปใช้ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย การเปลี่ยนแปลงท่ี เกิดข้ึนจากการบริโภคอาหารแบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะ คือ การย่อย การดูดซมึ เผาผลาญอาหาร และการขับถ่าย การย่อย อาหารมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ 5 ประการ ได้แก่ ฮอร์โมน เอนไซม์ กรดเกลือ น้าดี และการหดรดี หรอื บีบรูด ทางเดินอาหารของมนุษย์มีลักษณะเป็นท่อประกอบด้วย กลุ่มเซลล์และเน้ือเย่ือหลายชนิดด้วยกันเพื่อทาหน้าที่ต่างๆ ผนังทางเดินอาหารต้ังแต่หลอดอาหารจนถึงลาไส้ใหญ่ ระบบ ทางเดินอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ เรียงตามลาดับ คือ ปาก คอยหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ ใหญ่ และทวารหนัก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook