Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 12

หน่วยที่ 12

Published by ครูเกตุ, 2020-07-06 02:51:58

Description: หน่วยที่ 12
การจัดอาหารสำหรับบุคคลในครอบครัว
การจัดอาหาร
การเลือกซื้อและเก็บรักษาประเภทเนื้อสัตว์
การเลือกซื้อและเก็บรักษาประเภทผักและผลไม้
การเตรียมอาหารหาร
การปรุงอาหาร
การเสิร์ฟอาหาร
การจัดเก็บ

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 12 การจัดอาหารสาหรบั บคุ คลในครอบครวั คาสั่ง จงศกึ ษาและปฏิบตั ติ ามคาสงั่ ดงั ต่อไปน้ี 1. อา่ นบทความ ( 120 นาท)ี 2. วเิ คราะห์ และศกึ ษาเพิ่มเติมจากส่อื ตา่ งๆ เช่น หนังสอื เว็บไซต์ หรือสอื่ ออนไลน์ตา่ งๆ (120 นาที) 3. จดั ทาสมุดภาพ เร่ือง เครื่องมอื และอปุ กรณใ์ นการเตรยี ม (ปรุง)อาหารและเสริ ฟ์ อาหาร (120 นาท)ี (20 คะแนน)

การจดั อาหารสาหรบั บคุ คลในครอบครวั อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ท่ีสาคัญของมนุษย์ อาหาร เม่ือบริโภคเข้าไปและหลังจากย่อยแล้วจะไปหล่อเลี้ยงอวัยวะ ตา่ งๆ ของร่างกายดงั นัน้ คุณภาพของอาหารจงึ เป็นสิง่ สาคญั อาหารนอกจากสนองความต้องการทางด้านร่างกาย ของมนุษย์แล้ว อาหารยังสนองความต้องการทางด้านจิตใจ สังคม และวัฒนธรรม เราใช้อาหารเป็นสัญลักษณ์ในพิธีกรรม ทาง ศาสนา หรือใช้อาหารเป็นสัญลักษณ์ประจาชาติ เช่น พิซซา่ เป็นอาหารจากประเทศอิตาลี อาหารประเภทข้าว หรือ เคร่ืองเทศเป็นอาหารจากเอเชีย นอกจากนี้ในการเลือกหรือ

จัดการอาหาร ยังข้ึนอยู่กับครอบครัว ประเพณีและวัฒนธรรม ในท้องถนิ่ น้นั ๆ ดว้ ยเช่นกนั 1. การจัดอาหารสารบั สาหรบั ครอบครวั การจัดอาหารสารับสาหรับครอบครัว ควรจัดเป็นมื้อตาม ช่วงเวลาในการรับประทานอาหารตามปกติ 3 มื้อ ได้แก่ มื้อเช้า ม้ือกลางวัน และมื้อเย็น การจัดอาหารแต่ละม้ือต้องคานึง ถึง สารอาหารที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน และควรรับประทาน อาหารให้ครบ 5 หมู่ ซง่ึ ควรพจิ ารณาตอ่ ไปนี้ 1.1 จานวนสมาชิกในครอบครัว ควรพจิ ารณาวา่ มีกี่คน เป็นบคุ คลวยั ใดบ้าง เชน่ เด็ก วัยเรียน วัยรนุ่ หญงิ ต้ังครรภ์ วัยชรา หรอื มีโรคประจาตัว

เพอ่ื ที่จะไดจ้ ดั หาอาหารให้เพียงพอและเหมาะสมต่อการ บรโิ ภคของสมาชกิ ในครอบครวั 1.2 คุณคา่ ทางโภชนาการ ผทู้ มี่ ีหน้าท่จี ดั อาหารใหส้ มาชิกในครอบครัว ควรจะมี ความรดู้ า้ นโภชนาการและหลกั การประกอบอาหารพอสมควร เพอ่ื ที่จะสามารถจัดอาหารหลกั 5 หม่ไู ดอ้ ยา่ งครบถว้ น มี ปริมาณเพยี งพอ อาหารสะอาด ถูกหลักอนามัย น่ารบั ประทาน และมีคุณคา่ ทางโภชนาการ 1.3 งบประมาณหรอื ค่าใชจ้ ่าย ควรกาหนดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาหารให้แน่นอน หรือ ซือ้ อาหารเท่าจานวนงบประมาณที่มีอยู่ เช่น ซื้ออาหารท่ีหาได้ ง่ายในท้องถ่ินหรือมีตามฤดูกาล ซ่ึงจะทาให้ได้อาหารราคาถูก และมีคณุ คา่ ทางโภชนาการ

1.4 ความสะดวกรวดเร็ว ควรประกอบอาหารแบบงา่ ยๆ เพ่อื ประหยดั เวลา และสงวนคุณคา่ ของอาหารไว้ 1.5 กาหนดรายการอาหารล่วงหน้า โดยจัดทารายการอาหารเป็นรายสัปดาห์ และ วางแผนการซ้ืออาหารพร้อมกัน เพราะการซื้ออาหารรวมเป็น จานวนมาก จะทาให้มีราคาต่อหน่วยท่ีถูกขึ้น แต่ก็ไม่ควรซ้ือ มากเกินความจาเป็นเพราะจะเป็นภาระในการดูแลเก็บรักษา และยงั สามารถแบ่งใช้วัตถุดิบที่ซือ้ มาได้อย่างคุ้มค่า (ใช้หมดไม่ เหลือท้ิง) อีกทั้งยังมีเวลาในการวิเคราะห์เลือกสรรเมนูให้ เหมาะสมกับบคุ คลในครอบครวั อีกด้วย การกาหนดรายการอาหารสารับ เป็นการวางแผนเพื่อ กาหนดรายการอาหารไว้ล่วงหน้า เพ่ือสะดวกในการจัดเตรียม วัตถุดิบในการประกอบอาหารและประหยัดเวลา โดยอาจ กาหนดเป็นม้ืออาหารรายวัน รายสปั ดาห์ หรอื รายเดือน 2. การจัดการอาหาร (Food Management) การจัดการอาหารคือ กระบวนการท่ีเกี่ยวข้องกับข้ันตอน ตา่ งๆ ของการบรโิ ภคอาหารทมี่ ีผลตอ่ ผบู้ ริโภค

2.1 การเลอื กซ้ืออาหาร เม่ือจัดรายการอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว แม่บ้าน หรือผู้รับผิดขอบในการจัดอาหารสาหรับคอรบครัวจะมีหน้าท่ี ในการซ้ืออาหาร ในการซื้ออาหารต้องมีการวางแผนอย่าง รอบคอบเพื่อจะได้ประหยัดทรัพยากรของครอบครัวในด้าน ตา่ งๆ อาทิ เวลา แรงงาน และงบประมาณ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร เ ลื อ ก ซ้ื อ อ า ห า ร ค ว ร ค า นึ ง ถึ ง องค์ประกอบทีส่ าคญั ตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ 1)คุณสมบตั ิของผ้ซู ้ืออาหารสาหรับครอบครวั ผู้ซ้ืออาหารสาหรับครอบตัวต้องเป็นผู้ท่ีช่างสังเกต จดจา และละเอียดรอบคอบ เช่น จาได้ว่าสมาชิกคนใดชอบ อาหารประเภทใด หรือไม่ชอบอะไร เพ่ือจะได้จัดอาหารท่ีชอบ มารับประทานหรือประกอบอาหาร และจะได้ไม่เหลือท้ิงหรือ เป็นการส้ินเปลือง นอกจากน้ีผู้ซ้ืออาหารควรมีความรอบคอบ ในการเลือกซ้ือ มีความละเอียดถี่ถ้วน ก่อนซ้ือควรจดบันทึก รายการอาหารเพื่อง่ายต่อการซ้ือและยังสะดวกประหยัดเงิน เวลา แรงงาน และงบประมาณอาหารของครอบครัว นอกจากนี้ผู้ซื้ออาหารของครอบครัวยังต้องหมั่นศึกษาและ สนใจในอาหารใหม่ๆ อยู่เสมอเพื่อให้สมาชิกของครอบครัวได้ บรโิ ภคอาหารที่ดีและมีประโยชน์ 2) ความต้องการในการซ้ือ

ความต้องการในการซ้ือจะเก่ียวข้องกับระยะเวลา ในการซ้ือบ่อยมากหรือน้อยเพียงใด เช่น ซื้อหน่ึงคร้ังในหน่ึง สัปดาห์ หรือซ้ือทุกวัน ซ้ืออาหารสาเร็จรูปหรือซื้ออาหารสด หรือซ้ือจากแหล่งต่างๆ เช่น ตลาด ร้านใกล้บ้าน ร้านสะดวก ซื้อ ซุปเปอร์มารเกต หรืออ่ืนๆ นอกจากนี้ในการซื้อควร คานึงถึงคุณภาพของสินค้าว่ามีความเหมาะสมกับสินค้าที่ ต้องการเช่นไร 3)การเลอื กซอ้ื ในการเลอื กซอ้ื มีองค์ประกอบดงั นี้ - จดรายการ ในการเลือกซ้ือควรจดรายการ อาหารและปริมาณในการซอ้ื โดยขึ้นอยู่กับจานวนมื้อที่ต้องทา และควรคานึงถึงปริมาณของอาหารที่มีสารอง และที่เก็บ อาหาร หากซ้ือมาปริมาณมากแล้วขาดที่เก็บที่เหมาะสม อาจ

ทาให้อาหารเสื่อมคุณภาพได้ ในการซ้ือควรมีความรู้เก่ียวกับ อาหารชนิดนั้นๆ เช่น อาหารที่ปรุงสาเร็จจะมีราคาสูงกว่า อาหารสดท่ีปรุงเอง หรืออาหารบางชนิดจะมีราคาแพงในบาง ฤดู นอกจากน้ีการจดบันทึกรายการจะช่วยทาให้ประหยัด งบประมาณในการซ้อื ได้ - ซื้อในปริมาณท่ีต้องการ การซื้อสินค้าใน บางคร้ังหากซื้อในปริมาณท่ีน้อยจะมีราคาแพง แต่หากซ้อื มาก จะได้ในราคาที่ถูกกว่า แต่ผู้ซ้ือควรพิจารณาถึงความจาเป็นว่า จะใช้ในปริมาณท่ีมากหรือน้อยเพียงใดเพื่อจะได้ซ้ือได้อย่าง เหมาะสม - ความสะดวกสบาย อาจขึ้นอยกู่ ับอาหารท่ีซ้ือ เช่น ซ้ืออาหารสาเร็จรูปแทนการปรุงอาหารด้วยตนเอง หรือ ความสะดวกของแหล่งที่ซื้อ เช่น ซุปเปอร์มารเกตซ่ึงมีความ สะดวกสบายในการซื้อ บริการดี สะอาดปลอดภัยและถูก สขุ ลกั ษณะ - ฤดูกาลและเทศกาล การเลือกซื้ออาหารตาม ฤดูกาลจาทาให้ได้สินค้าราคาถูกกว่าสินค้านอกฤดูกาล ดังนี้จึง ควรมีการศึกษาถึงฤดูกาลใดมีผลผลิตเช่นใด เพ่ือจะได้วาง แผนการจัดอาหารให้เหมาะสมกับผลิตผลในฤดูกาลน้ัน ส่วน เทศกาลจะมีผลต่อการซ้ือสินค้าเช่นกัน หากมีเทศกาลจะทาให้ สินค้ามีราคาสูง เช่น เทศกาลกินเจ ทาให้ผักมีราคาสูงข้ึนกว่า

ปกติ หรอื เทศกาลตรุษจนี อาหารสดและผลไม้จะมีราคาท่ีสูงข้ึน เชน่ กัน - การเลือกตลาดในการซ้ือสินค้า ควรเลือก ตลาดให้เหมาะสมกับการซ้ือ เช่น หากซ้ือของอาทิตย์ละคร้ัง ควรซ้อื ปริมาณที่มาก การเลือกตลาดควรเป็นตลาดสดที่ขายส่ง เพราะจะไดร้ าคาถกู กว่าตลาดสดที่ขายปลกี - ช่วงเวลาในการซ้ือ ควรเลือกช่วงเวลาท่ีมีคน ซ้ือน้อย เพื่อจะได้มีเวลาในการเลือกซ้ือสินค้าได้มากกว่า ช่วงเวลาท่ีมีคนมาก เพราะช่วงเวลาท่ีมีคนมากจะแย่งกัน จับจา่ ย - ลาดับข้ันตอนในการซื้อ ควรพิจารณาถึงการ ซื้อ ควรซ้ือสินค้าชนิดใดก่อน หรือหลังเพื่อป้องกันการวางทับ กัน เพราะอาจทาให้ของช้าหรือแตกหักได้ นอกจากน้ียัง ปอ้ งกันการปนเป้อื นของสินค้า เชน่ อาหารสดกบั อาหารแหง้

3. การเลอื กซ้อื และการเก็บรกั ษา การเลือกซ้ือและการเก็บรักษาอาหารประเภทต่างๆ จะมี ข้อควรพจิ ารณาดังน้ี 3.1 การเลือกซ้ือและการเกบ็ รักษาอาหารประเภทสตั วบ์ ก อาหารประเภทสัตว์บกแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ สัตว์ไม่มีปกี สัตว์มีปีก และสัตว์นา้ และการพิจารณาซอ้ื อาหาร ประเภทสตั ว์บก คือ เน้ือหมู เป็นเนื้อสัตว์ที่มีคุณค่าทางอาหารสูง โดยเฉพาะเน้ือแดงจะมีวิตามินบีหน่ึง เน้ือหมูแต่ละส่วนจะ เหมาะกับการปรงุ อาหารชนดิ ตา่ งๆ ไม่เหมอื นกัน ได้แก่ 1) เนอ้ื สนั ใน เปน็ เนื้อที่มีความนุ่มมากท่ีสุด เหมาะ สาหรับการอบ หรือย่าง

2) เนอ้ื สะโพก เปน็ เน้ือท่มี ีความน่มุ ปานกลาง เหมาะ สาหรบั การผัดหรือทอด 3) เน้ือสนั นอก เป็นเนื้อท่มี คี วามนุ่มเหมาะสาหรับ การทาอาหารท่ตี อ้ งหั่นเปน็ ชน้ิ ใหญ่ๆ 4) เนือ้ หมูสามช้ัน เป็นชั้นเนือ้ สลับกบั มนั หมู เหมาะ สาหรับทาหมกู รอบ หรือหมสู ับ การเลอื กซ้ือ ควรเลอื กเน้ือหมทู ี่มสี ีชมพู มีมนั สีขาว หนังเกลี้ยงและขาว ถา้ เป็นหมูแช่เย็นค้างคืนเน้อื หมูจะมีสีซดี สว่ นหมูสามชัน้ ควรเลอื กทีม่ ีชั้นมันบาง และมีเนื้อหลายชัน้ หนงั บาง ไมม่ ีพังผดื ระหวา่ งชน้ั และหนังหมสู ะอาด เนอื้ หมูทกุ ส่วนต้องไมม่ เี ม็ดสาคหู รือไข่พยาธิตวั ตดื การเก็บรกั ษา เมื่อซ้ือเนอ้ื หมูมา ควรลา้ งใหส้ ะอาด ห่นั เปน็ ช้นิ ตามลักษณะการปรุงอาหาร แล้วใส่ถุงพลาสติกแยก

เปน็ ใส่กล่องพลาสตกิ ปดิ ฝา แชใ่ นช่องแชแ่ ขง็ เมอ่ื จะนามาปรุง อาหารจึงนาออกมาใชท้ ล่ี ะส่วนตามท่แี บง่ ไว้ เน้ือววั เป็นเน้ือสัตว์ที่มีราคาแพงและจะมีราคาที่ แตกต่างกันของเนื้อในแต่ละส่วน เนื้อวัวแต่ละส่วนจะเหมาะ กับการปรุงอาหารชนิดต่างๆไม่เหมอื นกัน ซึง่ แบ่งได้ ดังนี้ 1) เนื้อสันในและเน้อื ซ่ีโครง เป็นเนอื้ ที่มคี วามนุ่มมาก ทีส่ ุด เหมาะสาหรับการทอด ย่าง หรอื อบ 2) เนื้อสะโพก เรียกอกี อยา่ งหนงึ่ ว่าเนอ้ื ลูกมะพร้าว เปน็ เนือ้ ส่วนท่ีติดกบั คอ มีความนุ่มปานกลางเหมาะสาหรบั การต้ม ทาสตู ทอด หรือผดั 3) เน้ือสขี ้าง เน้ือหน้าท้อง เน้ืออก เนือ้ น่อง เปน็ เนอ้ื ทม่ี ีความนมุ่ นอ้ ยทีส่ ุด เหมาะสาหรบั นามาตุ๋น เคี่ยว หรือต้ม เปอื่ ย

การเลือกซ้ือ เลอื กเนื้อทมี่ ีสแี ดงมันมสี ีเหลือง ถ้าเนอ้ื ไมส่ ดจะมสี เี ขียวคล้า เน้ือ ควายแตกตา่ งจากเน้ือววั สังเกตดู จากมันของเนอ้ื ควายจะมสี ขี าวและเน้อื จะหยาบมากกว่า เมอื่ ซือ้ เน้ือมาแต่ละคร้งั จะต้องเก็บไว้ ในตู้ เย็น ดงั นัน้ ควรล้างเนอื้ ให้สะอาดแล่พังผดื ออกหรอื เลาะเน้ือออกจากกระดูก แล้วห่นั เปน็ ชนิ้ ตามลักษณะการปรุงอาหารเกบ็ ไว้ ในกล่อง พลาสตกิ ปิดฝาเกบ็ ไว้ในช่องแช่แขง็ เมอ่ื ต้องการนามาประกอบอาหาร น้าทีล่ ะลายไมค่ วรทิง้ ควรนาไปปรุงอาหารด้วยเพอ่ื เปน็ การ รกั ษาคณุ ค่าของอาหารไว้ นอกจากนี้อาจะมเี นือ้ สตั ว์อื่น ซง่ึ นามาบริโภคไดต้ าม ทง้ิ ถ่นิ นัน้ ๆ เช่น เนอื้ แกะ เนือ้ แพะ ฯลฯ เป็นต้น 3.2 การเลอื กซื้อและการเก็บรกั ษาอาหารประเภทสตั ว์ปกี เน้ือไก่ มีคุณค่าอาหารเท่ากบั เนื้อสัตว์ ชนิดอ่นื ๆและ เปน็ เนอ้ื สัตว์ ทไี่ ด้ รบั ความนยิ ม มากชนิดหน่ึง เพราะนอกจาก

เปน็ แหลง่ โปรตนี เกลือแร่ และวิตามนิ แล้ว ยังมีปรมิ าณของ ไขมนั ตา่ งๆอกี ดว้ ย ไก่ท่ีขายในปัจจุบนั ได้ตดั แยกเป็นส่วนตา่ งๆ เช่น เนอ้ื อก เนื้อน่อง ปีกไก่ เครอ่ื งใน เพอื่ ความสะดวกในการปรงุ อาหาร 1) อกไก่ หรือสันในไก่ เลือกซื้อเน้ือท่ีมีสีชมพูเนื้อใส เนื้อจะออ่ นนุ่มสามารถ นามาปรุงอาหารได้ หลายชนิด เช่น ผัด ทอด และอนื่ ๆ 2) ปีกไก่ ควรเลือกซ้ือปีกขนาดกลาง มีหนังบางใส เหมาะสาหรบั อาหารประเภทต้ม ตุ๋น 3) น่องไก่ คือส่วนขาถึงสะโพก จะมีความเหนียว มากกว่าอกไก่ เหมาะ สาหรับนามาย่าง หากน่องไก นิ่มมีหนัง ซีด มีน้าเลือดแดง คล้าซึมออกมา แสดงว่าน่องไก ไม่สด 4) กระดกู (โครงไก่) ใช้ต้มทาเปน็ นา้ ซปุ ใส ผดั เป็น น้า ตนุ๋ และอื่นๆจะช่วยให้ อาหารมรี สชาตดิ ีขึน้ การเลือกซ้ือ นอกจากดูความสดแล้ว ควรพจิ ารณา ว่าเป็นไก่ แก่ หรอื ไกอ่อน เพราะ จะเหมาะกับการปรงุ อาหาร แต่ละชนิดซึง่ ไม่ เหมือนกัน ข้อสังเกตว่าเป็นไกอ่ อ่ นหรือไก่แก่ ไก่แก่ ปลายเล็บมน หนงั ใต้ องุ้ เท้าจะหนาและแข็ง เดือยจะ ยาว ไก่ออ่ น เลบ็ แหลม หนังใต้องุ้ เท้าบาง เดอื ยสน้ั ถ้าเป็นไก่ สาวจะไม่มีเดือย ไก่ ที่สมบูรณ์ เน้ืออกจะหนาและนุ่ม

การเก็บ นาเน้ือไก่ส่วนต่างๆ ล้างให้สะอาดแยก เครื่องในต่างๆออก ใส่กล่องปิดฝา นาเขา้ ชา ในช่องแช่แขง็ การหุงต้ม เนอ้ื ไก่ แต่ละส่วนเหมาะกบั อาหารแต่ละ ชนิด การทาให้ เนอ้ื ไก่ นุ่มและหวานมีวิธกี ารดงั นีใ้ ช้ นา้ มะนาว ราดให้ ทั่วเน้อื ไก่ หมกั ท้งิ ไว้ ประมาณ 30 นาที เปด็ เป็ดเปน็ เนื้อสตั ว์ ทส่ี ่วนใหญ่ เดมิ จะขายทง้ั ตัวไม่ ตัดแยกออกเป็นส่วนๆ แตป่ ัจจุบันจะมเี น้ือเป็ดท่ีแพ็คสาเร็จรปู ขายอยตู่ ามซุปเปอร์มาเกต เนอ้ื เป็ดมีอยู่หลายชนดิ ซงึ่ แต่ละ ชนดิ เหมาะสาหรบั การทาอาหารท่แี ตกต่างกันตามความ เหมาะสม การเลอื กซื้อ เลือกเป็ดท่ีอ้วนและสงั เกตดูว่าเปน็ เป็ด แก่ หรอื เป็ดอ่อน สังเกตจาก ปากและเท้า ถ้าปากและเท้าเป็น

สเี หลืองแสดงว่าเป็นเป็ดออ่ น แต่ถ้าเปน็ เป็ดแก่ เทา้ จะมีสีดา เนอ้ื จะเหนยี วและมกี ลนิ่ สาบมาก 3.3 การเลอื กซ้ือและการเก็บรกั ษาอาหารประเภทสัตว์น้า กุ้ง ในปัจจบุ ันมที ้งั กุ้งเล้ียงและกุ้งโตตามธรรมชาติ กงุ้ เป็นอาหารท่ีมีราคาแพงกุ้งมีอยหู่ ลายชนิดท้งั กุ้งนา้ จดื และกุ้ง ทะเล โดยสามารถเลอื กซ้ือไดด้ งั น้ี 1) กงุ้ ชีแฮ เปลือกใสสีขาว หางสีชมพขู าเป็นสีชมพู และมีเน้อื สชี มพูอ่อน 2) กงุ้ ตะเขบ็ เปลือกสดี าออกเทา เนอื้ สีขาว

3) กุ้งก้ามกราม เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ มีอยู่ 2 ชนิด คือ กุ้งเปลือกสีน้าเงินเนื้อจะนุ่ม ส่วนกุ้งเปลือกสีเทาปนน้าเงิน หรอื ชมพูเน้ือจะแขง็ เม่อื นาไปย่างหรืออบ 4) กงุ้ มังกร เปลือกสีเทามีความแข็งมาก เนอื้ สีขาว ตวั หนึ่งจะมีนา้ หนัก ตวั ประมาณ 400-500 กรัมขน้ึ ไป 5) กงุ้ กุลาดา มีเปลือกสนี า้ เงนิ เนอ้ื แขง็ เมอื่ สุกและจะ เปน็ สชี มพูถา้ ต้มนาน การเลอื กซ้ือ เลือกกุ้งทม่ี หี วั ติดแน่นกับตัวไม่หลดุ ง่าย เนื้อแขง็ ตาใส เปลือกใส ตวั โต การเกบ็ รักษา กุง้ สามารถเก็บไว้รบั ประทานได้ ทงั้ สปั ดาห์ และทาอาหารได้อยา่ งรวดเรว็ การเก็บรกั ษาสามารถ เก็บได้ ทัง้ เปลือกและแช่เยน็ หรือแกะเปลือกนงึ่ หรือรวนพอสกุ เก็บได้ โดยไม่ต้องแช่เยน็ หอย มีทั้งหอยน้าจืดและหอยน้าเค็ม หอยน้าจืด เช่น หอยขม หอยโขง หอยน้าเค็ม เช่น หอยแมลงภู่ หอยแครง หอยลาย หอยนางรม และหอยอ่ืนๆ หอยมีสิ่งสกปรกอยู่มาก โดยเฉพาะหอยแมลงภู่ ฉะน้ันก่อนรับประทานต้องล้างให้ สะอาด การเลือกซ้ือ เลือกหอยท่ีหุบปากแน่น เม่ือวางไว้จะ อ้าและหุบอย่างรวดเร็วหากถูกสัมผัส ไม่มีกลิ่นเหม็น หอยท่ี แกะเปลอื กแล้วต้องมสี สี ดใสและนา้ ทแี่ ช่ต้องไม่มีเมือกและกลิ่น เหม็น

การเก็บรักษา หอยส่วนใหญ่เม่ือซื้อมาแล้วไม่นิยม เกบ็ จะนามาปรุงอาหารจนหมด ฉะนั้นหากซ้ือหอยมาแล้วใช้ไม่ หมดควรทาให้สุกแล้วแกะเนอ้ื หอยใส่ตู้เย็น ปู มีหลายชนิดท้ังปนู ้าจืดและปูทะเล ปนู ้าจดื เช่น ปู นา ซ่งึ มกั ทาเป็นปูดองมคี ณุ ค่า ทางโภชนาการต่างๆ ปทู ะเล เช่น ปูแสม ปูม้า และปทู ะเล ปมู ีน้าอยู่ มากและน้าจะระเหยไป เมอื่ ถกู จับขึ้นมาทาให้ มีนา้ หนกั ลดลงเนื้อปูมคี ณุ ค่าทางอาหาร ใกล้ เคยี งกบั เน้ือสตั ว์ชนิดอ่นื แต่มีธาตุไอโอดนี อยกู่ ว่า อาหาร ทะเลชนิดอน่ื การเลอื กซือ้ เลอื กซือ้ ปูที่ยงั ไม ตายโดยเฉพาะปูทะเล ดูน้าหนักและความแน่นโดย การกดดูตรงส่วนอกถ้าเน้ือแน่น กดไม่บุ๋มแสดงว่าเป็นปูใหม่ และควรเลือกซ้ือปูตัวผู้ เพราะจะ มีเนอื้ มากกว่าปตู ัวเมียซึ่งมีขอ้ สังเกต ดงั น้ี

ปูตวั เมยี ฝาปิดหนา้ อกใหญ่ จะมีรูปร่างคลายกลบี ดอกไม้ ใช้นิ้วดีด กระดองจะมีเสียงแน่นทึบ ปตู ัวผู้ จะมกี ้ามใหญ่ ฝาปิดหนา้ อกเรียวเล็กมีรปู คล้ายใบพาย ปูม้า ควรเลือกปูท่ีมกี ระดองสีเท้าอ่อน มีจดุ ขาว เม่ือ สุกแล้ว กระดองจะเป็นสชี มพู การนาปูมาประกอบอาหารบางชนิดก็ใช้ท้ังตัวโดย แกะฝาปูดอกและกระดองออก สับเป็นช้ินใหญ่ และบางชนิดก็ ใช้ แต่ เน้ือ วิธีแกะเนื้อปูให้ หงายตัวปูค่อยๆใช้มือท้ังสองดัน ตรง ส่วนท้องท่ีเป็นฝาก่อนท่ีจะเอาเน้ือออกต้องล้างปูและ กระดองใหส้ ะอาดเสียก่อน ปลาหมึก หรือหมึกมีอยู่หลายชนิดที่รับประทานได้ เชน่ หมึก กล้วย หมึกกระดอง หมกึ หอม หมกึ สาย เปน็ ต้น

ปลาหมึกกระดอง ลักษณะตัวแบนใหญ่ สีขาว เอา กระดอง เยื่อหมุ้ ถงุ หมึกและลูกตาออก ล้างให้ สะอาด ปลาหมึกกล้วย ตัวกลม มีเย่ือหุ้มตัวออกสีน้าตาล โดยเฉพาะส่วน ด้านข้างท่ีเป็นปู ก็จะมีสีเข้ม ก่อนนามาปรุง อาหารตอ้ งล้าง ปลาหมึกให้ สะอาดโดยลอกเยอื่ ขาวบางและดึง หวั พร้อม กระดองสีขาวท่ีอยู่ ข้างในออก ล้างน้าโดยใช้ น้าไหล ผ่านเอา ถุงหมกึ และลกู ตาออก ล้างอกี ครัง้ ใหส้ ะอาด การเลือกซ้ือ ควรเลือกซื้อปลาหมึกขนาดกลางโดย เลอื กให้ เหมาะสาหรับ อาหารแต่ละชนิด ปลาหมกึ แตล่ ะชนดิ เหมาะทจี่ ะนามาปรุงอาหารชนิด ต่างๆได้หลายชนิด ทั้งทอดและย่างควรบ้ังตัวปลาก่อนทุกคร้ัง

เพื่อให้เครื่องปรุงซึมเข้าในเน้ือเพราะเนื้อปลาหมึกจะแน่น ถ้า ไมบ่ ัง้ ก่อน เครอ่ื งปรุงจะไม่ ซมึ เขา้ ในเน้ือ ปลา เป็นอาหารท่มี ีราคาปานกลางและราคาถูก มีทั้ง ปลาน้าจืดและปลาทะเล ปลา แต่ละชนดิ จะมปี ริมาณไขมนั ท่ี แตกตา่ งกนั ดังนั้นรสชาติจงึ แตกต่างกนั ด้วย ปลาที่ไม่มหี รอื มีไขมนั น้อย หรือมไี ขมนั ต่ากว่า 2 เปอรเ์ ซน็ ต์ เนอ้ื ปลาจะ มสี ขี าว เช่น ปลากะพง ปลาจะละเมด็ ปลาสาลีปลาเนอื้ อ่อน ปลากราย ปลาทมี่ ไี ขมนั ปานกลาง หรือมีไขมันต้งั แต่ 2-5 เปอรเ์ ซ็นต์ เช่น ปลาอินทรี ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาหมอ ไทย ปลาที่มไี ขมันสูง หรอื มีไขมนั มากกว่า 5 เปอร์เซน็ ต์ ส่วนมากเนอื้ จะมีสีเหลอื ง ชมพูหรือเทาอ่อน เช่น ปลาเทโพ ปลาสวาย ปลาไหลทะเล

ปลามีโปรตีนใกล้เคียงกับเนื้อสัตว์ ชนิดอ่ืนๆ แต่เน้ือ ปลาเป็นโปรตีนท่ีย่อยง่ายและมี กรดอะมิโนที่จาเป็นต่อ ร่างกายมไี ขมนั ทยี่ อ่ ยง่ายเช่นเดียวกับกรดไขมันท่ีไม่อิ่มตัว ปลา จะมีวิตามินสูงโดยเฉพาะวิตามินเอและวิตามินดีซงึ่ อยู่ ในน้ามัน ในเน้ือปลามีวติ ามินบี2 และ วติ ามนิ บี6 ดังน้นั ปลาจงึ เหมาะกับ ผู้สูงอายุ เด็ก และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจ เหมาะที่จะได รบั สารอาหารจากปลามากกว่าเนือ้ สตั ว์ อื่นๆ การเลือกซ้ือ สังเกตดูตาต้องใส เกล็ดและหนังไม่ ขุ่น เนอื้ แนน่ เมอื่ กดดูไม่บุ๋มตามรอยน้ิวมือ เน้ือไม่แข็งทื่อ ไม่มีกล่ิน เหม็นเนา่ เหงอื กมสี ีสดใส การเกบ็ รกั ษา ควรทาความสะอาดปลาก่อนนาไปเก็บ ต้องขอดเกล็ดออกให้หมด ถ้าไม่มีเกล็ดให้ขูดเมือกออก ดึง

เหงือกและควักไส้ออกล้างให้สะอาด ห่ันเป็นชิ้นใส่กล่อง พลาสติกปิดฝานาไปแช่ในช่องแช่แขง็ 4. การเลือกซ้ืออาหารประเภทผกั และผลไม้ การเลือกซ้ือผักและผลไม้ จะพิจารณาจากสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้ 4.1 ผลไม้ 1) สีของผลไม้ สีเป็นสัญญาณแรกท่ีควรตระหนัก เพราะว่า สีของผลไม้เป็นสิ่งแรกท่ีเห็นได้ชัดเจน สีบ่งบอกถึง ความใหม่-เก่า สุก-ดิบ ของตัวผลไม้ สีของผลไม้ยังบ่งบอกเป็น นัยๆ ว่า รสชาติของผลไม้น้ันอร่อยหรือไม่ ฉะนั้นเวลาเลือกซื้อ ผลไม้ ควรนาสีของผลไม้มาเป็นปัจจัยช่วยในการตัดสินใจ

ดังนั้นก่อนจะเลือกซ้ือผลไม้ ควรจะรู้จักสีของผลไม้ชนิดน้ันอยู่ แล้ววา่ สมี ันเป็นอย่างไร ลักษณะสีน้ีดีหรือไม่ มีลายสีเป็นเส้นๆ เป็นสัญญาณที่ดรี ึเปล่า 2) ก้านหรือขั้วของผลไม้ ก้านหรือขั้วท่ีโดยส่วนใหญ่ มีตาแหน่งอยู่ท่ีส่วนหัวของผลไม้ เป็นสัญญาณของการสุก-ดิบ ของผลไม้ โดยปกติแล้วก้านผลไม้จะถูกตัดเพ่ือความสะดวก ของการลาเลียงและจัดส่งผลไม้ แต่หากสังเกตเห็นก้านผลไม้ เพียงแค่ตรวจสอบสีหรือรูปทรงของก้านคุณก็สามารถบอกได้ แทบจะทนั ทีเลยวา่ ผลไมล้ ูกน้คี วรซือ้ หรือไม่ 3) กลิ่นของผลไม้ กล่ินของผลไม้สามารถได้ว่า รสชาติหวาน-หวานจางๆ สุก-ดิบ เน่า-ไม่เน่า เวลาเรา รับประทานผลไม้เราจะได้กลิ่นของมัน ผลไม้ที่สุกอาจจะมีกลิ่น หอมกว่าผลไม้ที่ยังดิบอยู่ ผลไม้ท่ีใกล้เน่าอาจจะส่งกล่ินหรือ กลิ่นแรงออกมา 4) ผิวของผลไม้ บ่งบอกถึงเหตุการณ์ท่ีผลไม้ลูกน้ัน พบเจอมา ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพของผลไม้ที่จะได้รับ ผิว ของผลไม้ ไม่ควรมีรอยเห่ียว รอยด่าง ช้า เน่า หรือถูกแมลง หรอื สตั วก์ ดั แทะ และมีผลไม้บางชนิดที่ถูกเคลือบผิวให้สวยงาม เพ่ือเหตุผลทางการตลาด และเพ่ือช่วยลดการคายน้าระหว่าง

การขนส่ง ท้ังนี้เพื่อช่วยยืดอายุให้สามารถเก็บรักษาผลไม้ชนิด น้ันๆ ให้อยู่ได้นานยงิ่ ข้ึน เช่น แอปเป้ิลถูกเคลือบผิวเพ่ือลดการ คายนา้ ส้ม เคลอื บผิวเพือ่ ความเงางาม เป็นต้น 5) ขนาดและน้าหนักของผลไม้ ขนาดและน้าหนัก ของผลไม้เป็นปัจจัยท่ีสาคัญมากเช่นกัน ผลไม้ท่ีดีควรจะมี น้าหนักที่เข้ากับขนาดของมัน หรือ หนักกว่า ผลไม้บางชนิดมี เปลือกหนา หรือมีเม็ดใหญ่ จึงทาให้มีน้าหนักมาก ผู้ซ้ือควร เลือกพิจารณาถึงราคาของผลไม้เมื่อเทียบกับ สัดส่วนของเน้ือ ผลไม้เม่ือปอกแล้วด้วยว่า คุ้มค่าหรือไม่ เช่น มังคุด ทุเรียน สละ เปน็ ต้น 6) ฤดูกาลของผลไม้ การซ้ือผลไม้ในช่วงฤดูกาล โดยเฉพาะต้นฤดูกาลน้ัน สามารถช่วยให้ได้รับผลไม้ท่ีดีที่สุด มี คุณภาพท่ีสุด และได้รสชาติท่ียอดเย่ียมที่สุดของผลไม้ชนิด น้ันๆ เพราะว่า ในช่วงฤดูกาลของผลไม้ อุณหภูมิ ความชื้น และปริมาณแสงแดดจะอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมกับของผลไม้ แตล่ ะชนดิ ซง่ึ ทาให้ผลไมส้ ร้างผลลพั ทท์ ีด่ ีทีส่ ดุ สาหรับตัวมันเอง มากไปกว่าน้ันปัจจุบันความต้องการของผลไม้ตามฤดูกาลของ ผู้บริโภคน้ันสูงข้ึน ส่งผลทาให้ผู้ผลิตขยายการผลิตให้ใหญ่ขึ้น ซ่ึงบางครั้งทาให้ ผู้บริโภคได้ซื้อผลไม้คุณภาพท่ีดีในราคาถูก

ในทางกลับกัน การซื้อผลไม้นอกฤดูกาลส่งสัญญาณบอกถึง การเก็บผลไม้ก่อนสุก และ การกักเก็บผลไม้อยู่ในตู้เย็นท่ีกิน เวลายาวนาน ซ่ึงสองอย่างนี้ผนวกรวมกันทาให้คุณภาพของ ผลไม้ถดถอยและรสชาติเปลย่ี นแปลงไป การเลือกซือ้ ผัก มดี ังนี้ - เผือก มัน เลือกทมี่ นี า้ หนักมากเนอื้ แน่นผิวเรียบ - ผกั กาดหวั เลือกหวั อ่อนๆผิวเรียบไม่งอ ผวิ ใสขาวไม่มี รอยตาหนิ - กะหล่าปลีเลือกหวั แน่นๆและมนี ้าหนกั มาก มสี ีเขียว มากกว่าสีขาว - หอมใหญ่เลอื กหวั แน่นๆ เปลือกแข็งไม่น่มิ หรือเละ

- ถว่ั ฝักยาว ถั่วแขก ถ่ัวพถู ัว่ ลันเตา เลอื กฝักอ่อนๆ สี เขียว แน่น ไม่พอง อ้วนและมีเมล็ดเลก็ ๆข้างในไม่คดงอ การเลอื กซ้ือผักท่ีเป็นใบ - ผักกาดหอม ผักกาดขาว ผกั บุ้ง ฯลฯ เลือกทม่ี สี เี ขยี ว สด ไม่ เหี่ยว ไม่ มรี อยช้า ต้นใหญ่ อวบใบแน่นติดกบั โคน การเลือกซื้อผักที่เป็นผล - มะเขือเปาะ เลือกท่ขี ว้ั ติดแน่น สด มนี ้าหนักมาก ไม่ เห่ียว - แตงกวา แตงร้าน ลกู ทม่ี ีนา้ หนกั สีเขยี วอ่อน ลูกยาว ผิวนวล ไม่มีรอยชา้ - มะนาวเลอื กผวิ บางเรยี บ ไม่เห่ียว - ฟกั ทอง ผลหนัก แน่น เนื้อเหลอื งอมเขียว ผิวเปลือก แขง็ ขรุขระ การเลอื กซ้อื ผลไม้

ควรเลือกซ้ือโดยมีน้าหนักมากกว่าจานวน และควรซื้อ ผลไม้ในฤดกู าล จะได้ราคาทถี่ ูกกว่า ผิวของผลไม้ ต้องสดไม่ ช้า หรือเน่า ผิวเรียบไม่มีรอยบบุ หรอื ถลอก การเลือกซ้ือผลไม้ จะต้องดูลักษณะเฉพาะของผลไม้ น้ันๆ ควบคู่ กันด้วย การเลอื กซอื้ และการเก็บรกั ษาอาหารสาเร็จรปู อาหารสาเร็จรูปคือ อาหารที่ปรุงสาเร็จและพร้อมที่จะ รับประทาน หรืออุ่นก่อน รับประทาน ประเภทของอาหาร สาเรจ็ รูป แบ่งได้ ดังนี้ - อาหารแช่ แข็ง อาหารแช่ แข็งคืออาหารที่ต้องผ่าน กรรมวิธีในการทาให้สุก แล้วนามาอุ่นก่อนรับประทาน เช่น ซาลาเปา ขนมจีบ - อาหารถุงรวมถงึ อาหารปิ่นโต - อาหารตามร้านอาหารตา่ งๆและรวมถงึ อาหารจานด่วน - อาหารกระป๋อง - เครอ่ื งดื่ม - เครื่องปรุงรสต่างๆ เช่น ซีอว้ิ ซอส นา้ ปลา - ขนมตา่ งๆ อาหารกระป๋อง (Canned food) คือ อาหารที่ได้ผ่าน กรรมวิธีทาให้สุกโดยความร้อนและบรรจุลงในกระป๋อง โดยดูด อากาศในกระปอ๋ งออก

วธิ ีการเลอื กซ้ืออาหารกระป๋อง อาหารกระป๋องทด่ี ีควรมี ลกั ษณะภายนอกเป็นโลหะมันวาว (ยกเวน้ กระป๋องทใี่ ชเ้ คลือบ สีแทนฉลาก) ลกั ษณะกระป๋องคงรปู ไม่บวม บบุ เบี้ยว มีสนิมท่ี ผวิ นอกของกระป๋อง หรอื รั่ว การบวมของกระป๋อง อาจมีสาเหตุมาจาก การมี เช้ือจุลินทรีย์ ประเภทท่ีสร้างแก๊ส เมื่อปริมาณแก๊สมากขึ้นก็จะ ดันกระป๋อง ให้มีลักษณะบวม เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีของ อาหารกับภาชนะท่ีบรรจุเกิดแก๊สไฮโดรเจนขึ้นจึงดันกระป๋อง ให้บวม หรอื บรรจุอาหารแนน่ จนเกนิ ไป การบบุ เบ้ียวของกระป๋อง อาจมสี าเหตุมาจาก การบรรจุ และการเคลอื่ นย้ายกระป๋องในระหวา่ งการผลิต หรอื เกิดการ บุบในระหวา่ งการบรรจลุ งหบี

สนิมทผ่ี ิวนอกของกระป๋อง อาจมีสาเหตมุ าจาก การทาให้ กระป๋องเย็นเร็วลงมากเกินไป ภายหลงั จากการให้ความร้อนสงู ในการ ฆา่ เชอ้ื จลุ ินทรยี ์ การเก็บรักษาอาหารกระป๋อง ควรเก็บไว้ในห้องที่มี ความชื้นสูง เพอื่ ป้องกันการ สญู เสียคุณสมบตั ภิ ายใน อาหารแช่แข็ง (Frozen food) ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ อาหารแช่แข็ง ให้เลือกมากมายตามตู้ แช่ แข็งในซูเปอร์มาร เกตท้ังประเภทที่พร้อมบริโภคและที่พร้อมปรุง สิ่งสาคัญคือ อาหารแช่แข็งเหล่านั้นต้องระบุวันที่ หมดอายุให้ เห็นชัดเจน บนฉลาก หลังจากวันที่หมดอายตุ ามกาหนดแล้วอาหารแช่แข็ง จะหมด คุณภาพ อาหารแช่แข็งประเภทเน้ือวัว เน้ือหมูปลา และเป็ดไก่ แทบจะไม่มีการสูญเสีย คุณค่าทางโภชนาการเลย เนื่องจากโปรตีน วิตามินเอ วิตามินดีธาตุเหล็ก และธาตุสังกะสี ท่ี อยใู่ นอาหารไม่ได้รับผลกระทบจากการแช่แขง็

วิธกี ารเกบ็ รกั ษาอาหารแช่แข็ง - เกบ็ ที่อณุ หภูมิ–18 องศาเซลเซียส - ควรเกบ็ อาหารแช่แขง็ ในช่องแช่แขง็ ใหอ้ ยชู่ ดิ กนั มากทสี่ ุด เพราะจะทาให้การเก็บ มีประสิทธิภาพมากข้ึน - ไมค่ วรนาอาหารแช่แขง็ ทลี่ ะลายแล้วกลบั ไปแช่ใหม่ ประโยชน์ของการแช่แข็งอาหาร - ยังคงรกั ษาสารอาหารส่วนใหญ่ไว้ได้ - อาหารยงั คงมสี ีเน้อื อาหาร และรสชาตติ ามธรรมชาติ ขอ้ ควรระวงั - ผักแช่แขง็ อาจจะสูญเสยี วิตามนิ บางอย่างเมอื่ นาไปลวก - อาหารท่ีมีน้าอยู่มากอาจสญู เสียความแน่นของเนื้อ อาหารเม่อื นามาละลายน้าแข็ง - เวลารับประทาน ควรสงั เกตด้วยว่าหมดอายหุ รือไม่ มิ เช่นนนั้ อาจเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพได้ อาหารจากร้านอาหารเป็นอาหารท่ีส่ังรับประทานตาม ร้านอาหารควรทาสุกใหม่ๆ และยกมารับประทานได้ทันทีโดย ไมต่ อ้ งรอนาน ในการเลอื กร้านอาหารจะพจิ ารณาดงั น้ี - ร้านอาหาร ดูจากความสะอาดของร้าน พ้ืน เก้าอ้ี และอุปกรณ์ เคร่ืองใช้ ทีส่ าคญั - ผู้ทาอาหาร ควรแต่งตัวสะอาด มีผ้าคลุมผมและผ้า กนั เปื้อนไม่เปน็ โรคต่างๆ เช่น วณั โรคหรือโรคผวิ หนัง

- อาหาร อาหารและภาชนะอุปกรณ์ต้องสะอาด ผัก ต้องล้างก่อนนามาปรุงและภาชนะท่ีใส่อาหารต้องสะอาดไม มี คราบมันหรือคราบอาหารเก่าเหลืออยู่ ช้อน และส้อมต้อง สะอาด เม่อื ออกไปรบั ประทานอาหารนอกบ้านไม่ว่าในร้านอาหาร ไทย อาหารจีน หรืออาหาร ต่างประเทศควรเลือกรายการ อาหารท่ีเป็นประโยชน์ ต่อสุขภาพ หลีกเล่ียงอาหารที่มีไขมัน มาก เช่น ของทอดและเน้นอาหารท่ีมีผักเปน็ ส่วนประกอบหลกั อาหารถงุ มีวธิ กี ารเลือกร้านเหมือนกบั การรับประทาน อาหารตามร้านอาหารแต่ที่ควรให้ความสนใจเพิ่มเตมิ คอื - ถงุ พลาสตกิ ทใ่ี ส่อาหาร ถา้ เป็นอาหารร้อนควรใส่ใน ถุงพลาสตกิ ทเ่ี ป็นถุงทใ่ี สอ่ าหารร้อนโดยเฉพาะ

- ดลู ักษณะของอาหารต้องไม่ทามานานจนเกนิ ไปและ ดสู ะอาด - กอ่ นท่ีจะรับประทานต้องอุ่นทกุ คร้ัง 4. การเตรยี มอาหาร เมื่อกาหนดรายการอาหารเรียบร้อยแล้ว ข้ันตอนต่อไปคือ การเตรียมอาหาร อาหารท่ีดีย่อมมีความสวยงาม น่า รับประทาน มีรสชาติอร่อย มีคุณค่าทางโภชนาการ ประหยัด และ สะอาดถูกอนามัย ในการเตรียมอาหารจะคานึงถึง องค์ประกอบใหญๆ่ ดงั นี้ 1) การดึงดูดสายตา ก่อนที่จะรับประทานอาหารสิ่ง แรกท่ีเลือกคือ สีสันของอาหารหรือการตกแต่งให้สวยงาม ดงึ ดดู ใจ มกี ารจดั ภาชนะให้ดูสวยงามและไม่ตกแต่งมากหรือรก รงุ รังจนเกนิ จะทาให้ ขาดจุดสนใจได้

2) รสชาติของอาหาร แต่ละบุคคลจะมีรสนิยมท่ีต่างกัน บางคนอาจชอบรสเค็มหรือบางคนอาจชอบรส หวาน การปรุง อาหารเพอื่ ตามใจปากของทุกคนนัน้ เป็นเรื่องยาก ดังนั้นรสชาติ ของอาหารควร เป็นรสชาติท่ีกลางๆและกลมกล่อมเพ่ือเหมาะ กับทกุ คน 3) ความต้องการทางโภชนาการ ผู้จัดการอาหารควร เลือกรายการอาหารท่ีมีคุณค่าครบหลักโภชนาการในแต่ละวัน และเหมาะสมกับเพศ และวยั ของสมาชกิ ด้วยเช่นกัน 4) ตาราอาหารการเลือกสูตรอาหารเพ่ือให้สมาชิกใน ครอบครัวได้ บริโภคอาหารที่หลากหลาย สูตร อาหารอาจ นามาจากตาราอาหารซึ่งมีอยู่มากมาย ตาราอาหารหมายถึง รายละเอียดของวธิ ี ทาอาหารและการปรุงอาหารอย่างถูกวิธีซงึ่

สามารถปรับให้ เหมาะสมกับจานวนของสมาชิก ในครอบครัว ได้ 5) อุปกรณ์เครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ ครอบครวั ควรมอี ุปกรณ์ เคร่ืองมือ หรือเครอื่ งใช้ ทีช่ ่วยทุ่นแรงหรือแบ่งเบาภาระในการ ทาอาหาร ในการทาอาหารแต่ละครัง้ ควรสารวจดูวา่ ต้องใช้ เคร่ืองมือหรือเครอื่ งใช้ใดบา้ ง เช่น ทัพพีกระทะ ช้อน ฯลฯ เพื่อ จะได้ เตรียมไว้ ล่วงหน้าและสะดวกในการใช้งาน 6) ความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย ความ สะอาดของผู้ทาอาหารเป็นส่งิ สาคญั ควรมผี ้ากนั เป้ือนและ เสื้อผา้ ท่ีสะอาด เรียบร้อย ไมร่ ุงรงั เพราะจะทาให้ติดไฟได้งา่ ย

5. การปรุงอาหาร ในการปรงุ อาหารควรมีการวางแผนหรอื เตรยี มการให้ เหมาะสมกับเวลาในการปรงุ และอุณหภูมิในการเสิร์ฟอยา่ ง เหมาะสม ซ่งึ มีขั้นตอนทีส่ าคัญดังน้ี 1) การรวบรวมเครอ่ื งปรงุ และอปุ กรณ์ทต่ี อ้ งการ ในการปรุงอาหาร ควรจัดเตรียมเครื่องปรุงและอุปกรณ์ในการ ทาอาหารทกุ อยา่ งก่อน ปรุงเพอื่ สะดวกต่อการใช้ 2) ผู้ปรงุ ต้องทราบถงึ ขั้นตอนและกระบวนการปรุง โดย ต้องรู้ ว่าอะไรใส่ก่อนใส่หลัง เช่น ผัดผักควรใส่หมูก่อนผัก เพอ่ื ใหห้ มูสุกและผักยังคงคุณค่าอาหาร 3) การเชื่อมต่องานเข้าด้วยกัน ในการปรุงอาหารผู้ปรุง ควรทราบถึงเวลาในการปรุง หากอาหารบางประเภทใช้

เวลานาน เช่น การอบ หรือน่ึง ผู้ปรุงอาจใช้เวลาที่ว่างจากการ รอทางานส่วนอื่นไปด้วย เช่น การจัดโต๊ะอาหาร หรือเตรียม จาน หรือในการปรุงอาหารอาหารบางประเภทสามารถ เตรียมการล่วงหน้าได้ จะทาให้ ประหยัดเวลาในการปรุง อาหาร 4) การแบ่งงาน ในการปรุงอาหารของครอบครัวควรให้ สมาชิกได มีส่วนร่วม โดยการแบ่งงานกันทา เพ่ือช่วยประหยัด เวลา แรงงาน และยังเพ่ิมความสนุกสนาน สร้างความสัมพันธ์ อันดีของครอบครัว แต่ ก็ต้องข้ึนอยู่ กับภาระหน้าท่ีของบุคคล ในครอบครัว ความสนใจ และระยะเวลา ในการปรงุ ด้วย

6. การเสริ ฟ์ อาหาร เมื่อปรุงอาหารเสร็จแล้วข้ันต่อไปคือการเสิร์ฟ ในการเสิร์ฟ อาหารบางอย่างควรเสิร์ฟ หลังจากที่ปรุงเสร็จใหม่ๆ ดังน้ันจึง ควรปรุงอาหารท่ีต้องใช้ เวลามากที่สุดก่อน นอกจากนี้ควร เขียนตารางเวลาในการปรุงอาหารแต่ละชนิดรวมไปถึงการ เช่ือมงานเข้าด้วยกัน ในการเสิร์ฟควรหาวิธีที่ใช้เวลาและ แรงงานน้อย เช่น การใช้ถาดในการใส อาหารหรือจาน นอกจากน้ีเพื่อ ประหยัดเวลาในการล้างอาจเสิร์ฟอาหารจาน เดียวแทนอาหารเป็นชุด หรือใช้แก้วพลาสติก แทนแก้วเพ่ือ ความสะดวกในการเก็บและล้าง

7. การทาความสะอาดและจัดเกบ็ อาหาร หลังจากรับประทานอาหารเสร็จ ควรมีการเก็บล้างหรือทา ความสะอาดภาชนะและ บริเวณเตรียม ควรขอความร่วมมือ จากสมาชิกช่วยกันเก็บล้างและทาความสะอาด เพ่ือเป็น การ ฝึกระเบียบวินัย และความรับผิดชอบ ในการล้างควรใช้ กระดาษทิชชูกวาดเศษอาหาร ออกจากจานและล้างด้วยน้า สะอาดก่อนหนึ่งครั้งจึงล้างด้วยน้ายาล้างจาน คว่าภาชนะให้ แห้ง เมื่อแห้งแล้วควรเช็ดแล้วเก็บเข้าตู้ให้เรียบร้อย โดยเก็บ รวมกันตามแต่ละประเภท เพ่ือความเป็นระเบียบ เรียบร้อย และใช้ได้อย่างสะดวก เช่น ครกกับสากควรอยู่ด้วยกัน หม้อ และ กระทะควรอยู่ ด้วยกัน ส่วนมีดควรแยกเก็บและมีที่เก็บ อยา่ งมดิ ชิดปลอดภยั และควรมถี ังขยะ เตรยี มไว ในครัวเสมอ

8. สรุป จะเห็นว่าจากกระบวนการจัดการอาหารที่กล่าวมาทั้งหมด น้ันไม่ใช่เรอ่ื งยาก ดังน้ัน หากต้องการให้สมาชิกในครอบครัวได้ อยู่ ดีกินดีและมีสุขภาพแข็งแรง จึงควรมีการจัดการอาหาร สาหรับครอบครัวที่ดีเพื่อให้ เหมาะสมกับคาว่า คุณจะเป็น เหมอื นอยา่ งท่คี ุณรบั ประทาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook