Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ซีเมนต์

ซีเมนต์

Published by pile_1207, 2017-09-21 06:06:22

Description: (unit2)

Search

Read the Text Version

คอนกรตี เทคโนโลยีซเี มนต์ นายอคั เนตร ยศสมบตั ิ หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู

72 ใบความรู้ชอ่ื วิชา คอนกรีตเทคโนโลยี หนว่ ยที่ 2ชอื่ หนว่ ย ซีเมนต์จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพือ่ ใหเ้ ข้าใจในชนดิ และประเภทของปนู ซีเมนต์ 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ความหนาแน่นและความถว่ งจาเพาะของปูนซีเมนต์ 3. เพอ่ื ใหส้ ามารถทดสอบสรุปผลและวเิ คราะหห์ าความข้นเหลว 4. เพอ่ื ให้สามารถหาระยะการกอ่ ตัวของปนู ซีเมนต์ 5. เพ่อื ใหส้ ามารถทดสอบความตา้ นทานแรงอดั ของมอรต์ าหวั ข้อเรือ่ ง 1. ซเี มนต์ 2. การทดสอบความหนาแนน่ และความถ่วงจาเพาะของปนู ซเี มนต์ 3. การทดสอบความขน้ เหลว 4. การทดสอบหาระยะการก่อตัวของปูนซเี มนต์โดยใช้เขม็ ไวแคต 5. การทดสอบหาความต้านทานแรงอดั ของมอร์ตาสาระสาคญั ปนู ซเี มนตห์ มายถึงสารประกอบอยา่ งหน่งึ ซง่ึ เม่ือได้ผสมกับน้าตามส่วนแลว้ ทง้ิ ไวร้ ะยะหนึ่งจะแข็งตัวปูนซีเมนตธ์ รรมชาติเป็นหนิ พอซโซลานา ซึง่ ชาวโรมันได้คน้ พบและใชใ้ นงานผสมคอนกรีต ซึง่ มีธาตุเหล็กมาผสมกนั โรงงานผลติ ปูนซีเมนตก์ ่อต้ังขนึ้ ครง้ั แรกในประเทศไทยเมอื่ ปี พ.ศ. 2456

73 ใบความรู้ชอ่ื วชิ า คอนกรีตเทคโนโลยี หน่วยท่ี 2ช่อื หนว่ ย ซเี มนต์ สอนครัง้ ที่ 7ชื่อเรือ่ ง ซีเมนต์ จานวนชวั่ โมง 4สาระการเรียนรู้ ปูนซีเมนต์ เปน็ ผงผลติ ภัณฑท์ ่ไี ด้จากการบดปนู เม็ด ซง่ึ เปน็ ผลกึ ท่เี กดิ จากการเผาสว่ นผสมตา่ งๆ (หนิ ปนูหรอื ดนิ ปูนขาว กบั ดนิ เหนียว หรอื หินดาน) จนรวมตวั ผสมกันสุกพอดี มีสว่ นประกอบทางเคมที ส่ี าคญั คือคลั เซียมและอลมู เิ นยี มซลิ ิเกต ปนู ซีเมนตท์ ก่ี ลา่ วนจ้ี ะหมายถึงปนู ซีเมนต์ปอรต์ แลนด์ (Portland Cement)ซึง่ เป็นปนู ซีเมนต์ไฮดรอลิก (Hydraulic Cement) ทเ่ี มอื่ ผสมกบั น้าตามสว่ นแลว้ สามารถก่อตวั และแข็งตวั ในนา้ ได้เน่ืองจากปฏิกริ ิยาระหวา่ งนา้ กบั ส่วนประกอบของปนู ซเี มนต์นน้ั การทาปฏิกิรยิ าดังกลา่ วเรยี กว่า ปฏิกิริยาไฮเดรชนั (Hydration) อัตราการก่อตวั และแขง็ ตวั ตลอดจนปริมาณความร้อนทีเ่ กดิ ขึน้ อยู่กบั ความละเอยี ดและสว่ นประกอบของผงปูน ความแข็งแรงและความทนทานเมื่อแขง็ ตวั แล้วขน้ึ อยู่กบั สัดส่วนการผสมและการให้ความชน้ื ในขณะเริม่ แข็งตวั ตารบั ของชื่อปูนซีเมนต์ทเ่ี รยี กกันในทางวชิ าการว่า “ปูนซีเมนตป์ อร์ตแลนด์(Portland Cement)” ได้มาจากการตงั้ ช่ือของนายโจเซฟ แอสปดิน โดยในปี ค.ศ.1824 นายโจเซฟ ได้ทาการจดทะเบียนลขิ สทิ ธิ์ของวิธีการผลิตปูนซีเมนต์อย่างหนง่ึ ซ่ึงได้จากการเผาสว่ นผสมระหว่างหินปนู และดนิ เหนียว เม่อืนามาบดจะไดผ้ งปูนซเี มนต์ หลงั จากผสมรวมกับนา้ และแข็งตวั จะมีสเี หลือง–เทา คลา้ ยกับหินในเกาะของเมืองปอร์ตแลนด์ ประเทศองั กฤษ นายโจเซฟจงึ ตงั้ ชือ่ วา่ ปนู ซเี มนต์ปอร์ตแลนด์ ปูนซเี มนต์ท่ผี ลิตไดใ้ นขณะน้นั ยังมีคุณภาพต่ามาก ทั้งน้เี น่อื งจากการ เผาสว่ นผสมดงั กลา่ วใช้ความร้อนตา่ ซึง่ ทาให้หนิ ปนู กับดินเหนยี วยงั รวมตัวกนัไม่ดี ปูนซีเมนตป์ อร์ตแลนด์ เปน็ วสั ดุก่อสร้างท่ีสาคัญท่ีสุดในการก่อสรา้ งทางวศิ วกรรมในปัจจุบัน เพราะเมือ่นาไปผสมรวมกบั ทราย และน้า จะได้เป็นมอรต์ า (Mortar) ซึง่ จะนาไปใชเ้ ปน็ ปนู ก่อ สาหรับงานก่ออิฐ หรอื หินหรือ ปูนฉาบ สาหรบั งานฉาบปนู เปน็ ต้น หากนาไปผสมรวมกับ หิน กรวด ทรายและน้าดว้ ยอัตราท่ีเหมาะสมจะได้เปน็ คอนกรตี ซ่งึ เมื่อแข็งตวั แลว้ จะแข็งและทนทานคล้ายหนิ ตัวอย่างสิง่ ก่อสรา้ งคอนกรตี ได้แก่ ฐานรากตอม่อ เขื่อน กาแพงกนั ดนิ พื้นและถนน ซึง่ เมือ่ เสรมิ ดว้ ยเหล็กเส้นจะเป็นคอนกรตี เสริมเหล็ก สาหรับพืน้หลังคา สะพาน อาคาร อุโมงค์ และอื่น ๆ1. ชนดิ ของปนู ซเี มนต์ ปนู ซีเมนตแ์ บง่ ออกเป็นชนิดต่างๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1.1 ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ (Portland Cement) พบครงั้ แรกทีเ่ มอื งปอร์ตแลนด์ในประเทศอังกฤษ หินปนู ท่เี มอื งนี้มีดนิ ปนมาก เมอื่ นาดินที่นี่ไปเผาจะได้ปนู ซีเมนตป์ อร์ตแลนดท์ ันที ปูนซีเมนตป์ อร์ตแลนด์แข็งตวั ในน้าได้ ซิลิกา อะลูมินา และเหล็กออกไซด์ปูนซีเมนต์ชนิดนท้ี าโดยเอาปูนขาวและดินเหนยี วมาผสมกันใหถ้ กู ส่วนแลว้ เผาใหร้ อ้ นจัดจนเปน็ กอ้ นๆ แลว้ จงึนาเอาก้อนเหล่าน้นั มาบดให้ละเอยี ดจนเปน็ ผงโดยไมเ่ ติมวัสดุใดๆ ลงไป ยกเวน้ นา้ และยิปซมั การเตมิ ยปิ ซมั เขา้ไปเพ่ือชว่ งใหป้ ูนซเี มนต์แข็งตัวช้าลง เพราะถา้ ไม่ผสมยปิ ซัม ปูนซีเมนตจ์ ะแข็งตัวเร็ว ทาใหท้ างานไมส่ ะดวก อาจเทลงแบบหล่อคอนกรีตไมท่ ัน ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์แบง่ ออกเป็นชนดิ ตา่ งๆ ดงั นี้

74 ใบความรู้ ชื่อวิชา คอนกรตี เทคโนโลยี หน่วยท่ี 2 ชอ่ื หนว่ ย ซีเมนต์ สอนครั้งที่ 7 ช่ือเร่ือง ซีเมนต์ จานวนช่วั โมง 4ประเภทหนึ่ง ปนู ซีเมนต์ปอรต์ แลนดธ์ รรมดา (Ordinary Portland Cement) สาหรบั ใชใ้ นการทาคอนกรีต หรอื ผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรมใดที่ไม่ต้องการคุณภาพพเิ ศษกวา่ ธรรมดาและสาหรับใช้ในการก่อสร้างตามปกติท่ัวไป ท่ีไม่อยใู่ นภาวะอากาศท่ีรุนแรง หรือในท่ีมีอันตรายจากซลั เฟตเป็นพิเศษ หรือความร้อนท่เี กิดจากการรวมตวั กบั น้าจะไม่ทาให้อณุ หภูมิเพ่ิมข้ึนถงึ ขน้ั อนั ตรายทีค่ อนกรตี จะแตกรา้ วเสยี หาย ไดแ้ ก่ ปูนซเี มนต์ปอรต์ แลนด์ตราชา้ ง ตราพญานาคสเี ขียวและตราเพชรเม็ดเดียวประเภทสอง ปนู ซเี มนต์ปอร์ตแลนด์ดดั แปลง (Modified Portland Cement) สาหรบั ใช้ในการทาคอนกรีตหรือผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรมใดทเี่ กิดความร้อนและทนซัลเฟตได้ปานกลาง เชน่ งานสร้างเข่อื นคอนกรีตกาแพงกันดินหนา ๆ หลอ่ ท่อคอนกรีตขนาดใหญ่ ตอม่อสะพาน เป็นต้น ปนู ซเี มนตป์ ระเภทนใ้ี ห้กาลงั รังแรงชา้กวา่ ปูนซีเมนต์ประเภทหนึง่ ไดแ้ ก่ ปนู ซเี มนต์ตราพญานาคเจด็ เศยี รประเภทสาม ปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนดแ์ ข็งเรว็ (High-early Strength Portland Cement) หรอื ท่ีเรียกวา่ ซูเปอร์ซเี มนต์ ปูนซีเมนตป์ อร์ตแลนด์ประเภทนี้ใหก้ าลงั รบั แรงสูงในระยะแรก เรว็ กวา่ ปนู ซีเมนต์ประเภทหนงึ่ มเี น้อื เป็นผงละเอียดกวา่ ปนู ซีเมนต์ปอรต์ แลนดธ์ รรมดา ผลติ โดยการเปลี่ยนสัดส่วนผสม(เพ่ิม C๓S และลด C๒S) หรือโดยการเตมิ สารอน่ื โดยการบดใหล้ ะเอียดย่ิงข้นึ หรือโดยการเผาใหด้ ีข้ึน มีประโยชน์สาหรับทาคอนกรีตทีต่ อ้ งการจะใชง้ านเร็ว หรือรื้อแบบเรว็ เช่น เสาเข็มคอนกรตี ถนน พื้นและคานที่ต้องถอดแบบเร็ว เป็นต้น ปนู ซีเมนตป์ ระเภทนย้ี ังเหมาะกับการทาคอนกรีตในอากาศหนาว คอนกรตี ทีห่ ล่อลน่ืด้วยปนู ซเี มนต์ประเภทนเ้ี พียง 3 วัน จะมกี าลงั เท่ากบั คอนกรตี ทีผ่ สมด้วยปูนซเี มนตธ์ รรมดาทีห่ ลอ่ แล้วได้ 28วนั ไดแ้ ก่ ปนู ซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ตราเอราวณั ตราพญานาคสีแดงและตราสามเพชรประเภทส่ี ปนู ซเี มนต์ปอรต์ แลนด์ประเภทเกิดความรอ้ นต่า (Low-Heat Portland Cement) เป็นปูนซีเมนตท์ ่ีให้ความร้อนต่าสุด อัตราการเกดิ กาลงั ของคอนกรตี เปน็ ไปอย่างชา้ ๆ ปูนซีเมนตช์ นดิ น้ีใช้มากในการสร้างคอนกรตี หนา เชน่ เข่อื น เนอื่ งจากให้อุณหภูมิของคอนกรตี ตา่ กว่าปูนซีเมนตช์ นิดอื่นขณะก่อตัวและแขง็ ตัวประเภทห้า ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ทนซลั เฟตได้สูง (Sulfate-Resistant Portland Cement) เป็นปนู ซเี มนต์ชนดิ ทีต่ า้ นทานซลั เฟตได้สูงกว่าปนู ซเี มนตป์ ระเภทอ่ืน ๆ (มี C๓A ตา่ สดุ ) สาหรบั ใช้กบั โครงสรา้ งที่อยู่ในที่ท่มี ีการกระทาของซลั เฟตรนุ แรง เชน่ น้าหรอื ดนิ ท่มี ีด่าง (Alkaline) สูง ปูนซีเมนตป์ ระเภทน้ีมีระยะเวลาการแขง็ ตัวชา้ กว่าประเภทหนึ่ง ไดแ้ ก่ ปนู ซีเมนต์ตราช้างฟ้า ตราปลาฉลาด ในต่างประเทศ ปูนซเี มนต์แต่ละประเภทดงั กล่าวข้างต้นอาจมีทั้งชนดิ กระจายกักฟองอากาศ หรอื ไม่กระจายกกั ฟองอากาศ ปูนซีเมนตช์ นดิ กระจายกักฟองอากาศจะมีสารสาหรับกระจายกกั ฟองอากาศผสมอยู่ด้วย สารดังกล่าวทาใหเ้ กดิ ฟองอากาศขนาดเล็กจานวนมากกระจายอย่ใู นเนอื้ คอนกรตี ชว่ ยตา้ นทานมใิ หน้ า้ในคอนกรีตแข็งตัวก่อนทีค่ อนกรตี ก่อตัว จึงเหมาะกับงานหลอ่ คอนกรตี ในภูมิประเทศทม่ี ีอากาศหนาวจดันอกจากนยี้ ังทาให้ใชน้ ้าผสมนอ้ ยลง เพราะฟองอากาศทเ่ี กิดข้นึ จะช่วยให้เทคอนกรีตงา่ ย ลดการแยกตัว เป็นผลให้กาลังคอนกรตี ดตี ามไปด้วย สมาคมทดสอบวัสดอุ เมริกนั ใหข้ ้อกาหนดสาหรบั ปนู ซเี มนต์ชนดิ กระจายกกัฟองอากาศไว้ 3 ประเภทคือ ประเภท IA, IIA และ IIIA ซึ่งตรงกบั ประเภทหน่ึง สอง และสาม ตามลาดับ

75 ใบความรู้ชอ่ื วชิ า คอนกรตี เทคโนโลยี หน่วยที่ 2ชือ่ หนว่ ย ซเี มนต์ สอนคร้ังท่ี 7ชอ่ื เร่อื ง ซีเมนต์ จานวนช่วั โมง 4 1.2 ปนู ซเี มนต์ธรรมชาติ (Natural Cement) ปนู ซีเมนตช์ นิดนท้ี าจากหินท่ีขดุ ได้ในดนิ ซ่ึงมสี ว่ นผสมคล้ายๆ ปนู ซเี มนตป์ อรต์ แลนด์อยู่แล้ว โดยเอาหนิมาเผา แตก่ ารเผาไมใ่ ชค้ วามร้อนสงู แบบเผาทาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เมื่อเผาแลว้ เอามาบดเปน็ ผง ปนู ซเี มนต์ชนดิ น้ีมคี ณุ ภาพแขง็ ในน้าได้เหมือนกนั แต่มกี าลังตา่ กวา่ ปูนซเี มนต์ปอรต์ แลนด์มากและมีส่วนผสมไม่แน่นอนเพราะแลว้ แต่คณุ สมบัติของหินท่ีได้จากธรรมชาติ 1.3 ปูนซเี มนตพ์ อชโซลานา (Pozzolana Cement) บางครงั้ เรียกว่า ปูนซีเมนตส์ แลก็ (slag cement) ทาโดยเอาปนู ขาวและกาก จากเตาเผาเหล็กหรอืพอซโซลานาซึ่งเกิดจากธรรมชาตแิ ละพวกหินภูเขาไฟมาผสมกันแล้วบดให้ละเอียด ปูนซีเมนตช์ นดิ น้ีไม่แข็งเท่าปนู ซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ แต่เม่ือผสมเปน็ ปนู ก่อหรอื คอนกรีตแล้วจะเหนียวดีและแตกยากกวา่ ปนู ก่อหรือคอนกรตีทผ่ี สมดว้ ยปนู ซเี มนต์ปอร์ตแลนด์ ใช้ได้ดีในงานท่อี ยู่ในนา้ เค็มและเหมาะสาหรบั ใช้ในน้าทะเลหรอื ในที่ชน้ื แฉะเชน่ ฐานราก ท่อน้า และงานใตด้ นิ ทว่ั ๆ ไป 1.4 ปนู ซีเมนตอ์ ะลมู ินัส (Aluminous Cement) ผลติ จากแรท่ ี่มีอะลูมินามากและราคาแพงมาผสมกนั ปูนขาวแลว้ เผา หลังจากนน้ั นามาบดให้ละเอียดเช่นเดียวกนั การทาปูนซเี มนต์ปอรต์ แลนด์ ปูนซีเมนต์ชนดิ นใี้ หก้ าลังเรว็ คอนกรีตท่ีผสมด้วยปูนซเี มนตช์ นิดน้ีเมือ่ หล่อแลว้ ได้ 24 ชั่วโมง และมกี าลังเท่ากับคอนกรตี ซึ่งหลอ่ ด้วยปูนซเี มนตป์ อรต์ แลนด์ 3 เดอื น เช่น เสาเข็มคอนกรีตสาเร็จรูปซงึ่ หล่อดว้ ยปนู ซเี มนตช์ นิดนี้อาจนาไปใช้ตอกได้เม่ือหลอ่ ไดเ้ พยี ง 24 ช่ัวโมง 1.5 ปูนซีเมนต์ซิลิกา (Silica Cement) เปน็ ปูนซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ซง่ึ นามาผสมกบั ทรายเพื่อให้ราคาถกู ลง โดยบดปนู ซีเมนตป์ อร์ตแลนดช์ นดิเม็ด 70 เปอร์เซน็ ตผ์ สมทราย 30 เปอรเ์ ซ็นตแ์ ละผสมยปิ ซัมลงไปด้วยเล็กน้อย มาตรฐานของปูนซีเมนตซ์ ลิ ิกาส่วนมากกาหนดสว่ นต่าสุดของปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนดซ์ ึ่งใช้ผสมไว้ 50 เปอร์เซน็ ต์ ปูนซีเมนตซ์ ิลกิ าในประเทศไทย คือ ปูนซีเมนตต์ ราเสือของบริษทั ปูนซเี มนต์ไทยจากดั ปูนซเี มนต์ตรางเู ห่าของบริษัทชลประทานซีเมนต์จากดั และปนู ซีเมนต์ตรานกอินทรีของบริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวงจากดั2. กรรมวิธกี ารผลิตปูนซีเมนต์ (Manufacture of Portland Cement) 2.1 วตั ถดุ บิ วตั ถดุ บิ ทส่ี าคัญซง่ึ ใชใ้ นการผลิตปนู ซเี มนต์อาจจาแนกเปน็ 2 ประเภท คือ 2.1.1. ประเภทใหธ้ าตุแคลเซียมเปน็ ส่วนใหญ่ (Calcareous Materials) ซ่ึงอยใู่ นรปู ของCaCO๓ ได้แก่ หนิ ปูน (Limestone) ดินสอพองหรอื ชอรค์ (Chalk) ดนิ ปนู ขาว (Marl) 2.1.2. ประเภททใ่ี ห้ออกไซด์ของธาตซุ ลิ ิกอน (SiO๒) และอลูมิเนยี ม ( Al๒O๓) เป็นส่วนใหญ่(Argillaceous Materials) ได้แก่ ดินดานหรอื หินเชล (Shale) ดินดาหรือดนิ เหนยี ว (Clay) หินชนวน (late ) แตใ่ นบางคร้ัง วตั ถดุ บิ ทง้ั สองประเภทข้างต้นอาจมปี ริมาณของธาตุท่ีต้องการน้อยไป หรอื มีปริมาณของธาตุอ่ืนเพิ่มเติมมากเกนิ กว่าท่ีจาเปน็ จึงจาเป็นต้องปรับสว่ นผสมให้พอเหมาะเพื่อใหไ้ ดป้ ูนซีเมนตท์ ม่ี ีคุณสมบัติตามต้องการ เช่น

76 ใบความรู้ชอื่ วชิ า คอนกรตี เทคโนโลยี หน่วยที่ 2ชอื่ หน่วย ซเี มนต์ สอนครง้ั ท่ี 7ชอ่ื เรื่อง ซเี มนต์ จานวนชั่วโมง 4  เพิ่มปรมิ าณแร่เหล็ก (Iron Ore) ซงึ่ มอี ยู่มากในศิลาแรง (Laterite) เม่ือหนิ เชลหรือดนิ เหนียวท่ีจะใช้มี ปรมิ าณของเหลก็ ต่า  เลอื กใช้วัตถุดบิ ท่ีมธี าตุเหลก็ น้อยลง เพ่ือผลิตปูนซีเมนต์ขาว  เติมยิปซมั (Gypsum) เพ่ือใชเ้ ปน็ สารหนว่ งการก่อตัวโดยผสมรวมกบั ปูนเมด็ จากเตาเผา3. กรรมวิธีการผลิต กรรมวิธีในการผลิตอาจเป็นแบบแห้ง (Dry Process) หรือการผลิตแบบเปียก (Wet Process)ดังแสดงในรูป 2.1 กล่าวคือ วัตถุดิบก่อนการเผาอาจให้ผ่านกระบวนการแห้งหรือเปียก ในกระบวนการแห้งวัตถุดิบ ซ่ึงได้แก่ หินปูน ดินดาน แร่เหล็ก ได้รับการทาให้แห้งก่อนการบดและการผสม ส่วนในกระบวนการเปียก วัตถุดิบซึ่งได้แก่ ดินสอพอง ดินเหนียว ไดร้ ับการบดและการผสมเปียก การเลือกกระบวนการผลิตจะต้องคานึง ถึงปริมาณน้าท่ีมีอยู่ในวัตถุดิบ น้าท่ีจะจ่ายให้โรงงาน ราคาของเชื้อเพลิง แหล่งกาลังไฟฟ้า วิธีเก็บฝุ่นตลอดจนความสม่าเสมอของวัตถุดิบก่อนที่จะป้อนเข้าสู่เตาเผา ถ้าวัตถุดิบที่มีอยู่เป็นหินซีเมนต์และหินปูนซึ่งแห้งตามธรรมชาตหิ รือมีความชื้นอยนู่ ้อยก็อาจทาให้แห้งก่อนโดยใช้ความร้อนท่ีออกจากเตาเผา แล้วจึงนาไปบดและ ผสมกัน ในภาวะแห้งโดยมีราคาการผลิตต่าซ่ึงในลักษณะนี้กระบวนการผลิตแบบแห้งเสียค่าใช้จ่ายน้อยอย่างไรก็ดีถ้าส่วนผสมหนึ่งของสารผสมอยู่ในสภาวะเปียก ค่าใช้จ่ายในการทาวัตถุดิบให้แห้งในการผลิตแบบแห้งจะเพ่ิมขึ้นและอาจสูงกว่าค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตแบบเปียก ในด้านการควบคุมส่วนประกอบของวัตถุดิบทางเคมี กระบวนการท้ังสองจะไม่แตกต่างกันนัก กระบวนการผลิตแบบเปียกจะซับซ้อนน้อยกว่าและเหมาะกว่า แต่ในการปรับปรุงคุณภาพ และการเพิ่มชนิดของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์จากวัตถุดิบท่ีมีอยู่กระบวนการผลิตแบบแห้งสามารถควบคมุ ให้มปี ระสิทธภิ าพดีกว่ากระบวนการผลิตแบบเปียก เมื่อนาวัตถุดิบมาบดละเอียดและผสมเข้าด้วยกันในอัตราส่วนท่ีพอเหมาะแล้ว ส่วนผสมน้ีจะถูกป้อนเข้าทางด้านบนของเตาเผา (Kiln) เตาเผาเปรียบเสมือนหัวใจของโรงงานผลิตปูนซีเมนต์ เป็นเคร่ืองจักรที่ใหญ่และแพงที่สุด ทางานตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่มีการหยุดพัก เตาเผาส่วนใหญ่ในปัจจุบันน้ีใช้เตาเผาแบบหมุน (Rotary Kiln) ซึ่งเป็นเหล็กกล้ามีลักษณะรูปทรงกระบอกยาวประมาณ 50 ถึง 150 เมตร มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ถึง 4 เมตร ภายในบุด้วยอิฐทนไฟเพื่อเก็บความร้อนไว้ภายใน หมุนรอบตัวในแนวเอียงอย่างช้าๆ ประมาณนาทีละ 1.3 รอบ อุณหภูมิท่ีใช้เผาประมาณ 1400-1600C วัตถุดิบท่ีผสมรวมกันและถูกเผาท่ีอุณหภูมิสูงจะทาปฏิกิริยาทางเคมี เกิดการรวมตัวของออกไซด์ของธาตุต่างๆ และจับกันเป็นเม็ดเล็กๆเรียกว่าปูนเม็ด (Clinker) ถูกสง่ ออกมาข้างนอกทางด้านล่างของเตา ตารางที่ 2.1 แสงปริมาณออกไซด์หลักของธาตตุ า่ ง ๆ ท่ีมีในปูนเมด็ ซึง่ จะเห็นวา่ มปี รมิ าณรวมกนั ประมาณ 90 % ของปริมาณท้งั หมด

ใบความรู้ 77ชอื่ วิชา คอนกรตี เทคโนโลยี หน่วยท่ี 2ชอ่ื หนว่ ย ซเี มนต์ สอนคร้งั ท่ี 7ชอ่ื เร่ือง ซเี มนต์ จานวนชว่ั โมง 4รูปท่ี 2.1 กรรมวธิ ีการผลิตปูนซีเมนต์

78 ใบความรู้ชอ่ื วชิ า คอนกรีตเทคโนโลยี หน่วยท่ี 2ช่ือหนว่ ย ซีเมนต์ สอนครง้ั ที่ 7ช่ือเรื่อง ซเี มนต์ จานวนช่วั โมง 4 สีและรปู รา่ งของปูนเม็ดจะบ่งถึงการเผาวา่ เปน็ ไปอย่างถูกต้องหรือไม่ ถ้าเผาได้ทีด่ ีปูนเม็ดจะมสี ีดาปนเขียวเหมือนแก้วใส เมื่อเย็นตัวจะแวววาวเป็นจุดๆ ก้อนใหญ่ส่วนมากจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 25มม. (1 น้วิ ) ปนู เม็ดท่ียังเผาไม่ไดท้ ่ีจะมสี ีน้าตาล หรอื สนี า้ ตาลเป็นหยอ่ มๆไม่เปน็ มันเหมือนทเ่ี ผาได้ทแ่ี ลว้ ปูนเม็ดท่ีเผาเกินพอจะมีสีน้าตาลแข็งเป็นหย่อม ๆ การเผาเกินพอไม่เป็นการเสียหายแต่อย่างใด เพียงแต่ส้ินเปลืองเชือ้ เพลงิ และเพ่มิ คา่ ใช้จ่ายในการบดปูนเม็ดทงั้ นเ้ี พราะปนู เม็ดที่เผาเกนิ พอมีความแขง็ มาก ปูนเมด็ ทีไดจ้ ากการเผาจะร้อนมาก ตอ้ งได้รับการลดอุณหภูมิใหเ้ หมาะสมก่อนนาไปบด การลดอุณหภูมิกระทาโดยพ่นลมหรอื น้าเขา้ ไปในยงุ้ ลดความเยน็ (Clinker Cooler) ซงึ่ อาจจะเปน็ แบบหมุน (Rotary Cooler)หรือแบบตะแกรง การทาให้ปูนเม็ดเย็นลงต้องมีการควบคุมอย่างดีเพราะมีผลต่อคุณภาพของซเี มนต์ ถา้ ปูนเม็ดถกู ทาใหเ้ ยน็ ตัวเร็วจะบดงา่ ย และความแขง็ แรงภายใน 7 วันดีข้ึน แต่ถ้าปนู เมด็ ถูกทาให้เย็นลงอย่างช้า ๆ ความแขง็ แรงในระยะหลงั จะสูงขึ้น ปูนเม็ดท่เี ย็นตัวจะถกู นาไปบดละเอียดในหมอ้ บดปูน (Grinding Mill) หากปูนเม็ดมีปริมาณของยิปซัมผสมอยู่น้อย ก็ต้องใส่ยิปซัมเพ่ิมเข้าไปด้วย โดยให้มีปริมาณของยิปซัมผสมรวมอยู่ประมาณ5% ปูนเม็ดท่ีบดละเอียดแล้วส่วนมากจะผ่านตะแกรงร่อนมาตรฐานเบอร์ 200 ได้เกือบหมด การผสมยิปซัมลงไปด้วยเพือ่ ทาให้ปนู ซเี มนต์มคี ณุ สมบัติก่อตวั ชา้ ลงเม่ือผสมกับน้า เพราะถา้ ไม่มยี ิปซมั เม่ือปูนซเี มนต์ไดผ้ สมกบั น้าจะก่อตัวเร็วเกินไป จนไม่มีเวลานานพอท่ีจะเอาไปเทลงแบบได้ ปูนซีเมนต์ท่ีมีความละเอียดมากกว่า จะทาปฏิกิริยากับน้า ก่อตัวและแข็งตัวใหก้ าลังรับแรงได้เร็วกว่าส่วนปูนซีเมนต์ท่ีหยาบอาจทาให้เกิดการเยิ้มหรือการคายน้าได้มากกว่าปูนซีเมนต์ที่ละเอียด ผงปูนซีเมนต์ท่ีผลิตได้น้ีจะถูกปั๊มโดยลมนาไปเก็บไว้ในยุ้งเก็บปูนซีเมนต์(Bulk Storage) ซึ่งเป็นถังทรงกระบอกใหญ่ตั้งมีผนังปกคลุมมิดชิดกันความช้ืน เพื่อนาไปบรรจุใส่ถุงและจาหน่ายต่อไป ในประเทศไทยจะบรรจุในถุงกระดาษมเี น้อื ปนู จรงิ 50 กิโลกรัมตารางท่ี 2.1 สัดสว่ นออกไซดข์ องธาตุ ๆ ในปูนเม็ดของปูนซเี มนต์ปอรต์ แลนด์ ออกไซด์ของธาตตุ า่ ง ๆ เปอร์เซน็ ตโ์ ดยน้าหนกัปูนขาว (CaO) 60-65ซิลิกา้ (Sio๒) 20-24อลมู นิ า่ (Al๒O๓) 4-8เหลก็ (Fe๒O๓) 2-5

79 ใบความรู้ชอ่ื วิชา คอนกรีตเทคโนโลยี หน่วยที่ 2ชื่อหนว่ ย ซีเมนต์ สอนคร้งั ที่ 7ชื่อเรือ่ ง ซีเมนต์ จานวนชัว่ โมง 44. สารประกอบของปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เม่ือเผาวัตถุดิบของปูนซีเมนต์ ซึ่งได้แก่ สารออกไซด์ของธาตุแคลเซียม ซิลิกอน อลูมิเนียม และเหล็กสารเหล่าน้ีจะทาปฏิกิริยาทางเคมีและรวมตัวกันเป็นสารประกอบอยู่ในปูนเม็ดในรูปของผลึกละเอียดมากสารประกอบท่ีสาคัญ 4 อย่าง ท่ีมีอยู่ในปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ หลังจากการเผาแล้ว ได้แก่ ไตรคัลเซียมซิลิเกต(Tricalcium Silicate) ไดคัลเซียมซิลิเกต (Dicalcium Silicate) ไตรคัลเซียมอลมู ิเนต (Tricalcium Aluminate)และเทตราคลั เซยี มอลมู โิ นเฟอรไ์ รท์ (Tetracalcium Aluminoferrite) ดงั ตารางที่ 2.2ตารางที่ 2.2 สารประกอบสาคัญของปนู ซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ ชือ่ ของสารประกอบ สว่ นประกอบทางเคมี ชื่อย่อไตรคัลเซยี มซลิ ิเกต ๓ CaO. SiO๒ C๓Sไดคลั เซียมซิลิเกต ๒ CaO. SiO๒ C๒Sไตรคลั เซียมอลูมิเนต ๓ CaO. Al๒O๓ C๓Aเทตราคลั เซียมอลมู โิ นเฟอร์ไรท์ ๔ CaO. Al๒O๓ .Fe๒O๓ C๔AF5. อทิ ธิพลของสารประกอบต่อคุณสมบตั ิของปนู ซเี มนต์ สารประกอบที่มอี ยใู่ นปนู ซีเมนต์ มผี ลกระทบต่อคุณสมบตั ิต่างๆของปนู ซีเมนต์เมื่อนาไปผสมกบั น้าเพ่ือทาเป็นมอร์ตาหรือคอนกรีต เช่น อัตราการทาปฏิกิริยากับน้าการให้ความร้อนจากปฏิกิริยาไฮเดรช่ัน กาลังรับแรงอัดในระยะแรก (Early Strength) และระยะหลัง (Ultimate Strength) ความทนทานต่อการกดั กร่อนของซัลเฟต เป็นต้น ตารางท่ี 2.3 แสดงการเปรยี บเทียบคุณสมบัติด้านต่างๆของสารประกอบที่สาคัญ ไตรคัลเซียมซิลิเกต (C3S) เป็นสารประกอบท่ีสาคัญของปูนซีเมนต์ ทาให้เกิดกาลังรับแรงอัดได้เร็วในระยะแรก (ประมาณ14 วันหลังจากการผสม) มีอัตราการทาปฏิกิริยา กับน้าปานกลาง ก่อตัวภายในไม่ก่ีชั่วโมง ให้ความร้อนปานกลาง (ประมาณ 120 คาลอรี ต่อกรมั ) เมอื่ เกิดปฏกิ ิรยิ าไฮไดรชัน และทนตอ่ การกดั กรอ่ นของซลั เฟต

80 ใบความรู้ชื่อวิชา คอนกรีตเทคโนโลยี หน่วยท่ี 2ช่ือหนว่ ย ซเี มนต์ สอนครง้ั ท่ี 7ช่อื เร่ือง ซเี มนต์ จานวนชั่วโมง 4ตารางท่ี 2.3 คุณสมบัติของสารประกอบที่สาคญั คณุ สมบัตดิ า้ นต่างๆ พฤติกรรมของสารประกอบแตล่ ะตัวอตั ราการทาปฏิกิรยิ า C๓S C๒S C๓A C๔AFความร้อนของปฏิกริ ยิ า ชา้การพฒั นากาลังรบั แรง : ปานกลาง ชา้ รวดเรว็ น้อย ระยะแรก ( Early ) ปานกลาง น้อย มาก ระยะหลงั ( Ultimate )ความทนทานต่อการกัดกรอ่ น เร็ว ช้า เรว็ ช้า สูง สูง ตา่ ตา่ ปานกลาง สูง นอ้ ย - ไดคัลเซียมซิลิเกต (C๒S) ทาให้เกิดกาลังรับแรงอัดเพ่ิมข้ึนในระยะหลัง (ตั้งแต่ 14-18 วันและเร่ือยไปเมื่อได้รับการบ่มช้ืน) ทาปฏิกริยากับน้าค่อนข้างช้า ให้ความร้อนน้อย (ประมาณ 60 คาลอรีต่อกรัม) เมื่อเกิดปฏกิ ริยาไฮเดรชนั มีความทนทานสูงตอ่ การกัดกรอ่ นของซัลเฟต และมกี ารหดตวั น้อย (drying shrinkage) ไตรคัลเซียมอลูมิเนต (C๒A) ทาให้เกิดกาลังรับแรงอัดได้เร็วมากในระยะแรก (ประมาณ 1 วันหลังการผสม) เพราะทาปฏิกริยากับน้าทันที ก่อตัวและแข็งตัวเร็ว ให้ความร้อนมาก (ประมาณ 210 คาลอรีต่อกรัม)เม่ือเกิดปฏิกริยาไฮเดรชัน แต่ไมช่ ่วยให้มีกาลังรบั แรงอัดในระยะหลัง ทาให้เกิดความไม่คงตัว (Unsoundness)และไม่ทนต่อการกดั กรอ่ นของซัลเฟต เทตราคลั เซียมอลมู ิโนเฟอร์ไรท์ (C๔AF) ไม่ค่อยมสี ว่ นในการพัฒนากาลังรับแรงอดั ท้งั ในระยะแรกและระยะหลัง เน่ืองจากทาปฏิกริยากับน้าอย่างช้า ๆ ให้ความร้อนน้อย (ประมาณ 100 คาลอรีต่อกรัม) เมื่อเกดิ ปฏิกริ ยิ า ไฮเดรชัน สารประกอบนีท้ าใหป้ นู ซีเมนต์มีสเี ทา-ดา มักเนเซียมออกไซด์ (MgO) หากมีอยู่ในปูนซีเมนต์เกินกว่า 5 % โดยน้าหนักทาให้เกิดความไม่คงตัวโดยมกี ารขยายตัวในมอร์ตาและคอนกรตี เกิดการแตกรา้ วเสียหาย ปูนขาวอิสระหรือ Free Lime (CaO) จะทาปฏิกิรยิ ากับน้าอย่างช้า ๆ หลังจากทีป่ ูนซีเมนต์แข็งตัวแล้วหากมีอยู่เกนิ กวา่ 3% จะทาใหเ้ กดิ ความไมค่ งตวั และกอ่ ตัวชา้ ยิบซัม (CaSO๔. 2H๒O) ทาให้ปูนซีเมนต์มีคุณสมบัติก่อตัวและแข็งตัวช้าลง หากมีอยู่มากจะทาให้เกิดความไม่คงตวั และทาใหก้ าลงั รบั แรงน้อยลง โปตัสเซียมออกไซด์ (K๒O) และโซเดียมออกไซด์ (Na๒O) ซ่ึงเป็นด่าง (Alkalies) ทาให้เพิ่มกาลังรับแรงอัดในระยะแรก แต่กาลังรับแรงอัดในระยะหลังลดลง ถ้าผสมใช้กับวัสดุผสมท่ีทาปฏิกริยากับด่าง อาจทาให้เกิดการขยาย ตัวในมอร์ตาหรือคอนกรีตเกิดการแตกร้าวเสียหาย นอกจากนี้ยังทาให้ปูนซีเมนต์ท่ีบรรจุอยู่ในถุง จบั ตวั เปน็ ก้อนเร็ว

81 ใบความรู้ ชือ่ วชิ า คอนกรีตเทคโนโลยี หนว่ ยที่ 2 ชือ่ หนว่ ย ซีเมนต์ สอนครงั้ ที่ 7 ชอื่ เรื่อง ซเี มนต์ จานวนชว่ั โมง 4 ในปูนซีเมนต์จะมีสารประกอบไตรคัลเซียมซิลิเกต (C๓S) และไดคัลเซียมซิลิเกต (C๒S) รวมกันเป็นปริมาณ ถึง 70-80% ของปริมาณทั้งหมด สารประกอบทั้งสองจะเป็นตัวควบคุมทาให้มอร์ตาหรือคอนกรีตมีกาลังรับแรงอัด ท้ังในระยะแรกและระยะหลัง หากต้องการให้เกิดกาลังรับแรงอัดเร็วในระยะแรก จะต้องใช้ปูนซีเมนต์ที่มีสารประกอบ C๓S ผสมอยู่มากเช่นกัน ส่วนในกรณีที่ต้องการให้คอนกรีตมีความทนทานต่อการกัดกร่อนของซัลเฟตทีม่ ีอยูใ่ นดินหรือน้า ก็ต้องใช้ปนู ซเี มนต์ทมี่ ีสารประกอบไตรคลั เซียมอลมู ิเนต (C๓A) ผสมอยู่น้อยตารางท่ี 2.4 ปริมาณร้อยละของสารประกอบในปูนซเี มนต์ปอร์ตแลนดป์ ระเภทต่าง ๆ สารประกอบ ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้าไตรคลั เซียมซิลิเกต : C๓Sไดคลั เซยี มซลิ ิเกต : C๒S 49 46 56 30 43ไตรคลั เซียมอลูมเิ นต : C๓A 25 29 15 46 36เทตราคัลเซียมอลมู ิโนเฟอร์ไรท์ : C๔AF 12 6 12 5 4 8 12 8 13 12 จากตารางที่ 2.2 และ ตารางท่ี 2.3 เมื่อนามาเปรียบเทียบกัน จะเห็นความแตกต่างของปริมาณสารประกอบทีม่ อี ยใู่ นปูนซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ แตล่ ะประเภทดงั น้ี ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทหน่ึงและประเภทสาม มีปริมาณของอลูมิเนตและเฟอร์ไรท์เท่ากัน แต่ปูนซเี มนตป์ ระเภทสามใช้ปริมาณ C๓S มากกว่า แตใ่ ชป้ ริมาณ C๒S น้อยกวา่ ปนู ซีเมนตป์ ระเภทหนึง่ ปูนซเี มนตป์ อร์ตแลนดป์ ระเภทสองและประเภทหา้ มปี รมิ าณ C๓A นอ้ ยทาใหม้ ีคุณสมบัติทนตอ่ การกดักร่อนของซลั เฟตได้สงู สว่ นปริมาณ C๓S จะถูกลดลง โดยเพ่ิมปรมิ าณของ C๒S มากขน้ึ ทาให้การก่อตัวและแขง็ ตวั ดาเนนิ ไปอยา่ งช้า ๆ (ชา้ กว่าปูนซีเมนต์ประเภทหนึ่ง) ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทสี่ ซ่ึงเป็นประเภทเกิดความร้อนต่า มีปริมาณของ C๓S กับ C๓A น้อยกวา่ ปนู ซเี มนต์ประเภทอื่น การเกิดแรงอดั ในระยะแรกจงึ ชา้ กว่าปนู ซเี มนต์ประเภทหน่ึง

82 ใบความรู้ชอ่ื วิชา คอนกรตี เทคโนโลยี หนว่ ยที่ 2ชอ่ื หนว่ ย ซีเมนต์ สอนครง้ั ที่ 7ชื่อเรื่อง ซเี มนต์ จานวนชว่ั โมง 46. ปูนซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ประเภทอื่น 6.1 ปูนซเี มนต์ผสม หรือปนู ซีเมนต์ซลิ ิก้า (Silica Cement) เปน็ ปนู ซีเมนตท์ ี่ได้จากการบดปนู เม็ดของปนู ซีเมนตป์ อร์ตแลนดธ์ รรมดากบั ทรายประมาณ 25-30 % จนละเอยี ดปริมาณเนื้อซีเมนตจ์ งึ มากขนึ้ ราคาจึงถูกลง การก่อตัวและแข็งตัวชา้ กวา่ ปูนซีเมนต์ปอร์แลนด์ธรรมดา แต่ไมย่ ืดหรือหดตวั มาก เมอื่ แข็งตวั แลว้ จงึลดการแตกร้าวทผ่ี วิ ลงได้ เหมาะกบั งานก่ออิฐถือปูน ทาถนนภายในบ้าน เทพืน้ ตอม่อ หล่อภาชนะคอนกรตีหลอ่ ทอ่ งานอุตสาหกรรมทากระเบ้อื งมุงหลังคา งานอาคาร 2-3 ชนั้ ตกึ แถว หรืองานท่ีไมต่ อ้ งการกาลงั รับแรงอดั มาก ได้แก่ ปนู ซีเมนต์ตราเสอื ตรางูเหา่ และตรานกอนิ ทรยี ์ 6.2 ปนู ซีเมนต์ขาว (White Cement) มีคณุ ภาพเช่นเดยี วกับปนู ซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ ทุกประการ แต่มีสีขาวสะอาด เนื่องจากมปี ริมาณ C๔AF อยนู่ ้อยมาก ราคาแพงกวา่ ปนู ซเี มนต์ธรรมดา ปนู ชนดิ นี้ใช้ทาหินขดัหินลา้ ง แตง่ แนวกระเบอ้ื งเคลือบทกี่ รุพนื้ ผนงั ฯลฯ บรรจุถงุ กระดาษถุงละ 40 กโิ ลกรมั 6.3 ปูนซเี มนต์ซัลเฟตสูง (Super – sulphated Cement) เป็นปนู ซเี มนต์ที่ได้จากสว่ นผสมของเม็ดตะกรันเตาถลุง คลั เซียมซัลเฟตหรือปนู ขาว และปูนซเี มนต์หรือปนู เม็ดโดยบดรวมกนั หรือ แยกบด แล้วผสมเขา้ด้วยกนั มีคุณสมบัตทิ นทานต่อกรด น้ามนั และการกดั กร่อนของสารพวกซลั เฟตได้เป็นอย่างดี ใหป้ ริมาณความรอ้ นท่ีได้จากการทาปฏิกริยากับนา้ ตา่ แต่ต้องการน้าผสมมาก และต้องผสมให้นานกวา่ ปกติ 6.4 ปนู ซเี มนตง์ านกอ่ (Masonary Cement) เปน็ ปนู ซเี มนต์ท่ีทาขน้ึ จากการผสมปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนดธ์ รรมดา หรอื ปนู ปอซโซลาน หรอื ปูนกากเตาถลงุ กับสารอน่ื ๆ เชน่ ยปิ ซมั ฝุ่นปนู ขาว ดนิ สอพอง ดนิทาร์ค (talc) เป็นตน้ เพื่อให้ไดป้ ูนกอ่ ท่ีมีคุณสมบัตเิ หลวลน่ื ป้ันงา่ ย เหมาะสาหรับงานกอ่ หิน ก่ออิฐ7. คณุ สมบตั ิของปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ปูนซเี มนตท์ ่ีผลติ ได้ ตอ้ งมีคุณภาพสม่าเสมอ และเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด มาตรฐานการทดสอบของอเมริกา (ASTM) และมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (มอก.15) ดังตารางทแี่ สดงไดน้ ี้

83 ใบความรู้ ชือ่ วิชา คอนกรีตเทคโนโลยี หน่วยที่ 2 ชอ่ื หน่วย ซเี มนต์ สอนครงั้ ท่ี 7 ชอ่ื เรอ่ื ง ซเี มนต์ จานวนชว่ั โมง 4ตารางที่ 2.5 ตารางและมาตรฐานการทดสอบของอเมรกิ า1. ซิลกิ อนไดออกไซด์ (Sio๒) ตา่ สุดรอ้ ยละ ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท หนง่ึ สอง สาม ส่ี ห้า2. อลมู ินมั ออกไซด(์ Sl๒O๓) สูงสุดร้อยละ 21.00 5.00 6.00 5.00 6.50 5.003. เปอร์ริกออกไซด์ (Fe๒O๓) สูงสุดรอ้ ยละ 3.00 6.00 3.50 5.00 2.30 3.50 5.00 4.50 3.004. มักเนเซียมออกไซด์ (Mgo) สงู สดุ รอ้ ยละ 3.00 3.00 2.30 0.75 0.75 3.00 0.75 5.005. ซัลเฟอรไ์ ดรออกไซด์ (SO๓) สงู สุดร้อยละ 2.50 3.00 15.00 0.75 20.005.1 เม่ือมี 3 CaO.Al๒O๓ รอ้ ยละ 8 หรือน้อยกว่า 0.75 35.00 40.005.2 เมื่อมี 3 CaO.Al๒O๓ มากกวา่ ร้อยละ 8 8.00 7.006. การสญู เสียน้าหนกั เนอื่ งจาการเผา (Loss on ignition) สูงสุด 58.00ร้อยละ7. กากท่ีไม่ละลายในด่าง (imsoluble residue) สูงสดุ ร้อยละ8. ไตรคลั เซียมซลิ ิเกต (๓ Cao.Sio๒) สูงสดุ ร้อยละ9. ไดคัลเซียมซิลลเิ กต (๒ CaO.Sio๒) สงู สดุ รอ้ ยละ10. ไตรคลั เซมี อลมู เิ นต (๓CaO.Al๒O๓) สูงสดุ ร้อยละ11. ผลบวกของไตรคลั เซยี มซลิ ิเกต และไตรคัลเซียมอลูมเิ นตสูงสดุ ร้อยละ12. เทตรคัลเซียมอลูมโิ นเฟอรไ์ รท์ บวกสองเทา่ ไตรเซียมอลูมิเนต[๔ CaO.Al๒O๓.Fe๒O๓+๒(๓ CaO.Al๒O๓)]หรือสารละลายแข็ง [๔ CaO.Al๒O๓.FeO๓ + ๒ CaO.Fe๒O๓] แลว้ แตก่ รณีสงู สุดรอ้ ยละ8. การเก็บรักษาปูนซีเมนต์ การเก็บรักษาปูนซีเมนต์ถือเป็นของสาคัญ ถ้าเก็บไว้ดีในที่ปราศจากความชื้นจะมีคุณภาพดีเสมอเพราะเกบ็ ไว้ไม่ดีจะเสียได้เรว็ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในฤดูฝนซ่งึ มีความชื้นมาก ปูนซีเมนตย์ ่ิงละเอียดก็ยิ่งเสียไดเ้ ร็วขน้ึ ความชนื้ เพียง 1 ถึง 2 % ของจานวนปูนก็ไม่เกิดความเสียหายอะไร แต่ถ้ามากไปกว่าน้ีจะทาให้การแข็งตัวช้าลง และกาลังก็จะลดลงด้วย ถา้ ดดู นา้ เขา้ ไว้กว่า 5 % ปนู ซเี มนต์จะเป็นก้อนแข็งใช้งานไมไ่ ด้เลย วิธีเก็บรักษาปูนซีเมนต์อย่างดีท่ีสดุ คือ เกบ็ ไวใ้ นสถานที่แห้งมีหลังคาแบะผนังปกคลุมมดิ ชิด ควรเก็บไว้เป็นปรมิ าณมากในที่เก็บอันเดยี ว ซงึ่ มอี ากาศผา่ นได้น้อยท่สี ุด ถา้ เป็นไม้ต้องยกพื้นให้อยู่พ้นดินขึน้ ไปมาก ๆ (ไม่ควรต่ากว่า 30 ซม.) เพื่อให้ระบายน้าได้สะดวก และให้ลมโกรกข้างล่างได้ ต้องทาพื้นให้แข็งแรงพอที่จะรับน้าหนกั ของปูนซีเมนต์ดว้ ย บางกรณีอาจจาเป็นต้องกองปูนซีเมนต์ไว้กลางแจ้งเพื่อจะใช้งาน ก็ควรหาไม้มาทาเป็นพื้นและมีผ้าใบเตรียมไว้เพื่อใช้คลุมกันความชืน้ สาหรับงานก่อสร้างเลก็ ๆ ท่ีมกั ทาถงั ไมแ้ ละเปิดปูนถุงเทใสไ่ ว้ในถังเพ่ือตักใช้ได้สะดวก กค็ วรมผี ้าพลาสติกคลุมไวด้ ว้ ยเพอื่ กนั ฝนและความช้นื

84


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook