Triac Diac
ไดแอก ( เป็ นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์จุดชนวนไทรแอก ท่ีถูก ออกแบบให้มีการนากระแสได้ 2 ทางที่แรงดันค่าหน่ึง
ลกั ษณะโครงสร้างจะเป็ นสาร ช้ัน 2 รอยต่อ
โดยรู ปแบบโครงสร้างจะเป็ นสาร ช้นั 2 รอยต่อเช่นเดียวกบั ทรานซีสเตอร์ แต่แตกต่างจากทรานซีสเตอร์ตรงท่ีความเขม้ ของการโด๊ป ( สาร จึงทาให้ รอยต่อท้งั สองของไดแอกเหมือนกนั จึงทาให้มีคุณสมบตั ิเป็ นสวิตซ์ได้ 2 ทาง และ ค่าแรงดนั เร่ิมตน้ ที่จะทาใหไ้ ดแอกนากระแสไดน้ ้นั จะอยใู่ นช่วง 29-30 โวลต์
โครงสร้ าง ( เป็นอปุ กรณ์สารก่ึงตวั นามี 3 ตอนใหญ่ชนิด สาร มีขาต่อออกมาใช้งานเพียง 2 ขา แต่ละขาที่ ต่อใช้งานจะต่อร่วมกับสารกึ่งตัวนาทัง้ ชนิด และ ชนิด จงึ ทาให้ไดแอคทางานได้ทงั ้ แรงดนั ไฟบวกและ แรงดนั ไฟลบ แตล่ ะขาสามารถตอ่ สลบั กนั ได้
สัญลักษณ์ของไดแอค (
การทางานของไดแอค ( ไดแอคนากระแสได้สองทิศทางโดยจะอาศยั ชว่ งแรงดนั พงั ทลาย ( เป็นสว่ นของการทางาน แบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ ลกั ษณะที่ 1 ปอ้ นแรงดนั บวก (+) เข้าท่ีขา และแรงดนั ลบ (-) เข้าท่ีขา
ลกั ษณะท่ี 2 ปอ้ นแรงดนั ลบ (-) เข้าที่ขา และ แรงดนั บวก (+) เข้าที่ขา
กราฟลักษณะสมบตั ิ ( เง่ือนไขการนากระแส และการหยุดนากระแส 1. ไดแอคจะนากระแสเมื่อได้รับแรงดนั ถึงจดุ พงั ทลาย( เม่ือไดแอคนากระแสความต้านทานภายในไดแอคจะลดลงเนื่องจาก รอยต่อ แคบลงทาให้แรงดนั ตกคร่อมไดแอคลดลง 3. ไดแอคจะหยดุ นากระแส เมื่อกระแสไหลผา่ นไดแอค มีคา่ ต่ากว่ากระแสโฮลดิง้ (
ไตรแอก
ไตรแอค( เป็ นอุปกรณ์จาพวกสารก่ึง ตัวนาในกลุ่มของไทริ สเตอร์ มีลักษณะโครงสร้าง ภายในคลา้ ยกบั ไดแอค แต่มีขาเกตเพิ่มข้ึนมาอีก 1 ขา
ไตรแอตถูกสร้างข้ึนเพ่ือแกไ้ ข ขอ้ บกพร่องของ ซ่ึงไม่ สามารถนากระแสในซีกลบของไฟฟ้าสลบั ได้ การนาไตรแอคไป ใช้ งานส่วนใหญ่จะใชท้ าเป็นวงจรควบคุมการทางานเป็นสวิตซ์ต่อ แรงดนั ไฟสลบั ไตรแอคถูกสร้าง ข้ึนมาใหใ้ ชง้ านกระแสสูงๆ
โครงสร้างและวงจรสมมูลของไตรแอค โครงสร้างของไตรแอคจะประกอบด้วยสารก่ึง ตวั นาตอนใหญ่ 3 ตอน คือ และในสารก่ึง ตัวนาตอนใหญ่จะมี สารก่ึ งตัวนาตอนย่อย ช นิ ด อี ก 3 ต อ น ต่ อ ร่ ว ม ใ น ส า ร ก่ึ ง ตวั นา ท้งั 2 ตอน
มีขาต่อออกมาใชง้ าน 3 ขา เหมือน ขาแอโนด 1 ขา ( เรียกวา่ ขาเทอร์มินอล 1 ( แอโนด 2 ( เรียกวา่ ขาเทอร์มินอล 2 ( ขาเกท (
หลกั การทางานของไตรแอก ไตรแอคมีคุณสมบัติ ทางานได้ท้ังแรงดันช่วงบวกและ แรงดนั ช่วงลบ การนากระแสของไตรแอคจะขนึ้ อยู่กบั แรงดันท่ีป้อนกระตุ้นขา และแรงดันที่จ่ ายให้ ขา และ การจ่ายไบอสั ให้ตวั ไตรแอค สามารถแบ่งได้เป็ น 4 สภาวะคือ
1.สภาวะท่ี 1 หรือควอนแดรนด์ท่ี 1 จ่าย แ ร ง ดัน บ ว ก ใ ห้ ข า จ่ า ย แ ร ง ดัน ล บ ใ ห้ ขา และจ่ายแรงดนั บวกกระตุน้ ขา จะเกิด การนากระแสในตวั ไตรแอค ทิศทางการไหลของ กระแสท้ังสองจะไหลในทิศทางเดียวกัน หรือ กระแสไหลเสริมกนั ทาให้ ไหลมากข้ึน
2.สภาวะที่ 2 หรื อควอนแดรนด์ ที่ 2 จ่ายแรงดนั บวกให้ขา จ่ายแรงดนั ลบ ให้ขา แต่ จ่ายแรงดนั ลบกระตุน้ ขา จะ เกิดการนากระแสในตัวไตรแอคดังรู ป ท่ี 4 ทิศทางการไหลของ กระแสท้งั สองจะ ไหลในทิศทางสวนทาง หรือกระแสไหล หกั ลา้ งกนั ทาให้ ไหลนอ้ ยลง
3.สภาวะท่ี 3 หรื อควอนแดรนด์ ที่ 3 จ่ายแรงดันลบให้ขา จ่ายแรงดัน บวกให้ขา แต่ จ่ายแรงดนั ลบกระตุน้ ขา จะเกิดการนากระแสในตวั ไตรแอคดงั รูปที่ 5 ทิศทางการไหลของ กระแสท้ัง สองจะไหลในทิศทางเดียวกนั หรือกระแส ไหลเสริมกนั ทาให้ ไหลมากข้ึน
4.สภาวะท่ี 4 หรื อควอนแดรนด์ ท่ี 4 จ่ายแรงดนั ลบใหข้ า จ่ายแรงดนั บวก ให้ขา แ ต่ จ่ า ยแ รง ดัน บ วก ก ร ะ ตุ้น ขา จะเกิดการนากระแสในตวั ไตรแอคดงั รูปท่ี 6 ทิศทางการไหลของ กระแสท้งั สอง จะไหลในทิศทางสวนทาง หรือกระแสไหล หกั ลา้ งกนั ทาให้ ไหลนอ้ ยลง
นายอภิสิทธ์ิ พรหมสตู ร เทคโนโลยีบณั ฑติ อิเล็กทรอนิกส์ 6241050104
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: