รายงาน ประจำปี 2565 ANNUAL REPORT 2022 ก ลุ่ ม สุ ข ภ า พ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ พั ฒ น า พ ฤ ติ ก ร ร ม สุ ข ภ า พ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5
รายงาน ประจำปี 2565 จัดทำโดย นายภานุวัฒน์ พิทักษ์ธรรมากุล หัวหน้ากลุ่มสุขภาพภาคประชาชน และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ นางสาวสุภาพร บวรจักรวาล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ นางสาวธนพร อธิมัง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ก ลุ่ ม สุ ข ภ า พ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ พั ฒ น า พ ฤ ติ ก ร ร ม สุ ข ภ า พ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5
สารจาก กลุ่มสุขภาพภาคประชาชน และพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพ ด้วยรัฐบาลมีนโยบายด้านสาธารณสุข ในการพัฒนาและยกระดับความรู้ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจาบ้าน ควบคู่กับการ ใช้เทคโนโลยีดิจิตอล และการสื่อสารทาง การแพทย์ พร้อมท้ังเพิ่มประสิทธิภาพระบบการ บริการสาธารณสุขในชุมชนผ่านการพัฒนาระบบการแพทย์ ทางไกลควบคู่ไปกับการเพิ่ม บทบาทของ อสม. เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ และ สามารถลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได้ โดยในปีงบประมาณ 2563 - 2564 ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้ดาเนินการพัฒนาศักยภาพและยกระดับ อสม. ให้เป็น อสม.หมอประจาบ้านครอบคลุมทุกหมู่บ้าน/ชุมชนท่ัวประเทศ เพื่อดูแล สขุ ภาพผปู้ ่วยและคนในชมุ ชนให้มสี ขุ ภาพและคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ี รายงานผลการดาเนินงานประจาปี 2565 ฉบับนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการ แสดงผลงานต่อกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ผปู้ ฏิบัติงาน ภาคีเครือขา่ ย ตลอดจนผู้บริหารทุกระดบั กลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์สนับสนุน บริการสุขภาพที่ 5 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ขอขอบพระคุณทุกท่านทุกหน่วยงาน รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมสนับสนุนการดาเนินงานของกลุ่มสุขภาพภาคประชาชน และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพด้วยดีตลอดมาในทุกโอกาส ทาให้การดาเนินงานมีความ พฒั นาก้าวหน้านาไปสู่ประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนต่อไป
สารบัญ สว่ นที่ CONTENT 2 7-17 ตัวชีว้ ัดดาเนินงานประจาปี 2565 ส่วนที่ 1-6 ส่วนที่ 1 3 18-48 ข้อมูลท่วั ไป วสิ ัยทศั น์ พันธะกิจ ผลการดาเนินงานตามตวั ชี้วดั โครงสร้างกลุ่มงาน สช. ประจาปี 2565 ยุทธศาสตร์การดาเนินงาน การเชือ่ มโยงยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 49-56 งบประมาณประจาปี 4 ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ประมวลภาพกิจกรรม
วิสยั ทศั น์ เป็นองค์กรชนั้ นาในดา้ นการขบั เคลือ่ น การดาเนินงาน วิจัย และนวตั กรรม เพือ่ ใหป้ ระชาชนพึ่งตนเองดา้ นสุขภาพไดอ้ ยา่ งย้ังยนื พันธกิจ 1. พฒั นาและขับเคลือ่ นนโยบายและยทุ ธศาสตรด์ า้ นระบบสุขภาพภาคประชาชน 2. พัฒนามาตรฐาน รปู แบบ กลไก การดาเนนิ งานสาธารณสขุ มูลฐานเพื่อพฒั นา สุขภาพภาคประชาชนและคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านสุขภาพ 3. เสริมสรา้ งศักยภาพ อสม. อสค. อาสาสมัครสาธารณสขุ อืน่ ในการดแู ล สขุ ภาพตนเอง ครอบครัว และชมุ ชนไดต้ ามมาตรฐาน 4. เสริมสรา้ งการมีสว่ นรว่ มของภาคีเครือข่ายในการจดั การสขุ ภาพชมุ ชนและ คุ้มครองสทิ ธิของประชาชนดา้ นสุขภาพ 5. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัย พฒั นา ถา่ ยทอดและประเมินเทคโนโลยรี ะบบสขุ ภาพ ภาคประชาชน ~1~
โครงสรา้ ง กล่มุ สุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ประจาปีงบประมาณ 2565 นายภานวุ ฒั น์ พิทักษธ์ รรมากุล หวั หนา้ กล่มุ สุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ นางสาวสุภาพร บวรจกั รวาล นางสาวธนพร อธิมัง นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบัตกิ าร นางสาวกัญญาภัทร ซ้อนพร นายโชคชยั เมอื งธรรม นกั วชิ าการสาธารณสุข ชา่ งฝีมือโรงงาน ช.4 (อีกหนา้ ทีห่ นึ่ง) (อีกหนา้ ที่หนึง่ ) ~2~
ยทุ ธศาสตร์การดาเนินงาน การเชื่อมโยงยุทธศาสตรแ์ ละภารกิจงานสุขภาพภาคประชาชน ชน ~3~
การเชือ่ มโยงยทุ ธศาสตรแ์ ละภารกิจงานสขุ ศกึ ษา ~4~
งบประมาณประจาปี 2565 1.โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. ส่กู ารเปน็ “สมาร์ท อสม.” และ “อสม. หมอประจาบา้ น” สนบั สนนุ นโยบายคนไทยทกุ ครอบครวั มีหมอประจาตวั 3 คน 2.โครงการสง่ เสริมความเปน็ เลิศและเสริมสรา้ งแรงจูงใจในการจัดการสขุ ภาพชมุ ชนของ อสม. P51 จานวน 847,100 ฿ 94.22% P52 จานวน 10,000 ฿ P31 จานวน 42,000 ฿ 1.11% 4.67% โครงการฟื้นฟสู ขุ ภาวะชมุ ชนสร้างตาบลวิถีชวี ิตใหม่ โครงการขบั เคลือ่ นการดาเนนิ งานพฒั นาความรอบรู้ ปลอดภยั จากโควิด 19 ดา้ นสขุ ภาพ ~5~
ผลการเบิก-จา่ ย งบดาเนนิ งานประจาปี พ.ศ. 2565 กลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามภารกิจ สุขภาพภาคประชาชน จากกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และภารกิจ สุขศึกษาพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ จากกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ งบประมาณท้ังสิ้น 899,100 บาท ระยะเวลาดาเนินการโครงการ : ระยะเวลา 4 ไตรมาส ต้ังแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 – กันยายน พ.ศ. 2565 งบประมาณที่ได้รับจดั สรร ผลการเบิกจ่าย โครงการพฒั นาศกั ยภาพ อสม. สกู่ ารเปน็ “สมาร์ท อสม.” จานวน 761,090 บาท และ “อสม. หมอประจาบ้าน” สนบั สนนุ นโยบายคนไทยทุก ร้อยละของงบทีเ่ บกิ จ่าย ครอบครัวมีหมอประจาตวั 3 คน งบดาเนินงาน จานวน 761,100 บาท ร้อยละ 99.99 โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศและเสริมสร้างแรงจูงใจในการ จานวน 86,000 บาท จัดการสขุ ภาพชุมชนของ อสม. ร้อยละของงบทีเ่ บกิ จ่าย งบดาเนินงาน จานวน 86,000 บาท ร้อยละ 100 โครงการฟื้นฟสู ขุ ภาวะชุมชนสร้างตาบลวิถีชีวติ ใหมป่ ลอดภัย จานวน 10,000 บาท จากโควิด 19 ร้อยละของงบที่เบกิ จ่าย งบดาเนินงาน จานวน 10,000 บาท ร้อยละ 100 โครงการขบั เคลื่อนการดาเนินงานพัฒนาความรอบรู้ จานวน 42,000 บาท ด้านสุขภาพ ร้อยละของงบที่เบกิ จ่าย งบดาเนินงาน จานวน 42,000 บาท ร้อยละ 100 ~6~
ตัวชี้วดั ดาเนินงาน 1.1 หน่วยงาน ศนู ย์สนบั สนนุ บริการสุขภาพท่ี 5 ชื่อตวั ชว้ี ัด 1.1 ร้อยละของประชาชนและชมุ ชนกลุ่มเปูาหมายมศี ักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑท์ ่ี กาหนด คา่ น้าหนัก 7.5 หน่วยวัด ร้อยละ คา้ อธิบาย ประชาชน หมายถงึ ประชาชนท่เี ปน็ แกนนาสขุ ภาพในพื้นท่ีเปาู หมายการดาเนินงานส่งเสริมความรอบรู้ด้าน สขุ ภาพ ฯ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 - แกนนาสุขภาพในกลุม่ วยั ทางาน หมายถึง อสม. - แกนนาสขุ ภาพในกลุ่มวยั เดก็ หมายถงึ แกนนานักเรียนในโรงเรยี นสง่ เสรมิ สุขบัญญตั ิแห่งชาติ พน้ื ท่เี ป้าหมายในการด้าเนินงาน หมายถึง ชุมชนในพ้ืนท่ีตาบลจัดการสุขภาพ ท่ีได้รับการส่งเสริมให้มีการ ยกระดับการดาเนินงานชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ เปาู หมายทกุ ตาบล จานวน 7,255 ตาบล ๆ ละอยา่ งน้อย 1 ชมุ ชน ชุมชนท่ีมีศักยภาพ หมายถึง ชุมชนระดับตาบลมีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ การพัฒนาความรอบรู้ ความสามารถและทักษะของบคุ คล ครอบครวั และแกนนาต่าง ๆ ในชุมชน ให้สามารถจัดการสุขภาพตนเองได้ ตามเกณฑ์ที่กาหนด ในแต่ละตาบลมีการพัฒนาคุณภาพงาน 3 องค์ประกอบ คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล (รพสต) มีการดาเนินงานตามมาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษาในระดับพัฒนาข้ึนไป หมู่บ้าน ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ และ โรงเรียนสง่ เสริมสขุ บญั ญัตแิ หง่ ชาติมีการดาเนินงานในระดบั ดขี ึน้ ไป ศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง หมายถึง ประชาชนกลุ่มแกนนาสุขภาพมีความรู้ ทักษะ และ ความสามารถในการตัดสินใจจัดการสุขภาพตนเอง โดยวัดจากการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม สขุ ภาพที่ถูกต้องในระดบั ดขี ้ึนไป โดยใช้แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพท่ีพัฒนาขึ้น โดยกองสขุ ศึกษา ดังนี้ 1) แกนนาสุขภาพในกลุ่มวัยทางาน มุ่งเน้นความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ได้แก่ การออกกาลังกาย การบริโภคอาหาร การจัดการความเครียด การไม่สูบบุหร่ี และการไม่ดื่มสุรา และ พฤติกรรมการดูแลและปูองกันตนเองจากโรคอบุ ัตใิ หม่ 2) แกนนาสุขภาพในกลุ่มวัยเด็ก มุ่งเน้นความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุข บัญญตั ิแหง่ ชาติ และพฤติกรรมการดูแลและปอู งกนั ตนเองจากโรคอุบัติใหม่ ~7~
ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปาู หมายมีศกั ยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองไดต้ ามเกณฑ์ทีก่ าหนด (Baseline data) หน่วยงาน Base line (ปี 2564) เปา้ หมาย ปี 2565 ศบส.5 61.25 เปา้ หมาย ปี 2565 ร้อยละของประชาชนและชุมชนกลุ่มเปูาหมายมีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ ท่ีกาหนด (รอ้ ยละ 75) เกณฑก์ ารให้คะแนน เป้าหมายในการด้าเนินงาน ศบส.เขต ชมุ ชน ชุมชนมีศักยภาพใน ประชาชนกลุม่ เปาู หมาย รวมประชาชน ประชาชนกลมุ่ เปูาหมาย มีศกั ยภาพในการจัดการ เปูาหมาย การจดั การสขุ ภาพ วัยทางาน วัยเรียน กลมุ่ เปูาหมาย สุขภาพตนเองได้ตาม ท้งั หมด ตนเองได้ตามเกณฑ์ (อสม.) (แกนนา ท้งั หมด เกณฑท์ ี่กาหนดรอ้ ยละ (แหง่ ) นกั เรียน) (รายการ (รายการ ที่กาหนด ที่ 4)* 75 (คน) รอ้ ยละ 75 (แหง่ ) 9,525 ขอ้ มลู 2)* ศบส.5 635 477 6,350 6,350 12,700 เกณฑ/์ เป้าหมายการประเมนิ ผล (Small Success) รอบ 5 เดอื น เกณฑก์ าร คะแนน (5 คะแนน) เอกสาร/หลกั ฐาน ประเมิน การรายงานผล 1. มีแผนและแนวทางการดาเนนิ งานพฒั นาความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ เอกสารรายงาน ระดบั พน้ื ที่ (1 คะแนน) 2. ชี้แจงแนวทางการดาเนนิ งานเครือขา่ ยระดบั จังหวัด : การ เอกสารรายงาน ดาเนนิ งานพัฒนาความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาพและพฤติกรรมสุขภาพ (1 คะแนน) 3. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การดาเนนิ งานพัฒนาศกั ยภาพแกนนา เอกสารรายงาน สขุ ภาพ/ชุมชนรอบรู้ดา้ นสุขภาพ(1 คะแนน) 4. ชุมชนเปาู หมายมีการดาเนนิ งานจดั การสุขภาพตามแนวทางการ เอกสารรายงาน พฒั นาชุมชนรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ (1 คะแนน) 0.2 0.4 0.6 0.8 1 10.00-14.99 15.00-19.99 20.00-24.99 25.00-29.99 30 ขึน้ ไป 5. จานวนประชาชนแกนนาสขุ ภาพกลุ่มเปูาหมายทไี่ ด้รับการพฒั นา เอกสารรายงาน ศักยภาพ (1 คะแนน) 0.2 0.4 0.6 0.8 1 10.00- 15.00-19.99 20.00-24.99 25.00-29.99 30 ขน้ึ 14.99 ไป ~8~
เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์/เป้าหมายการประเมนิ ผล (Small Success) รอบ 11 เดือน เกณฑก์ าร คะแนน (5 คะแนน) เอกสาร/หลักฐาน ประเมนิ การรายงานผล 1. เชิงปริมาณ ชุมชนเปูาหมายมกี ารดาเนินงานจัดการ เอกสารรายงาน สขุ ภาพตามแนวทางการพัฒนาชมุ ชนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ จานวนชุมชน (1 คะแนน) เปูาหมายมีการ 0.2 0.4 0.6 0.8 1 ดาเนินงานพฒั นา 40.00- 50.00- 60.00- 70.00-79.99 80 ขึ้นไป ความรอบรู้ดา้ น 49.99 59.99 69.99 สขุ ภาพ 2. เชงิ ปรมิ าณประชาชนแกนนาสุขภาพกล่มุ เปาู หมายท่ไี ด้รบั การพฒั นาศักยภาพ (1 คะแนน) 0.2 0.4 0.6 0.8 1 40.00- 50.00- 60.00- 70.00-79.99 80 ขึ้นไป 49.99 59.99 69.99 3. เชิงคณุ ภาพ ชมุ ชนเปาู หมายมศี กั ยภาพในการจดั การสขุ ภาพ การรายงานผลตาม ตนเองไดต้ ามเกณฑท์ ก่ี าหนด (1 คะแนน) ระบบ Health gate (รพสต.ระดับพัฒนา , 0.2 0.4 0.6 0.8 1 หมู่บ้าน/โรงเรยี น ระดับดี) 10.00- 20.00- 30.00- 40.00-49.99 75 ข้ึนไป 19.99 29.99 39.99 4. เชิงคณุ ภาพ ประชาชนแกนนาสุขภาพกลุ่มเปาู หมาย เอกสารรายงานผล ศักยภาพในการจัดการสขุ ภาพ (2 คะแนน) การประเมินความ 0.4 0.8 1.2 1.6 2 รอบรู้ด้านสุขภาพ 10.00- 20.00- 30.00- 40.00-49.99 75 ข้นึ ไป และพฤติกรรม 19.99 29.99 39.99 สุขภาพ ~9~
สูตรคานวณตัวช้ีวดั รอบ 5 เดอื น 1.ชมุ ชนเปาู หมายมกี ารดาเนินงานพฒั นาความรอบร้ดู ้านสุขภาพในพื้นท่ตี าบล วธิ ีการจดั เกบ็ ขอ้ มูล สูตรค้านวณ = (รายการขอ้ มูล 1 /รายการขอ้ มลู 2) x 100 แหลง่ ขอ้ มลู / รายการขอ้ มลู 1 = จานวนชมุ ชนเปาู หมายมีการดาเนินงานพฒั นาความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ วิธีการจดั เก็บข้อมูล รายการขอ้ มลู 2* = ชุมชนเปาู หมายในพ้ืนที่ตาบลจดั การสขุ ภาพทั้งหมด รายชอ่ื ผู้จดั เก็บ รอบ 11 เดือน ตัวชีว้ ดั / 2.ร้อยละของประชาชน แกนนาสขุ ภาพในพ้นื ท่ีเปูาหมายมีศกั ยภาพในการจัดการสขุ ภาพตนเอง เบอรโ์ ทรศัพท์ สตู รค้านวณ = (รายการข้อมูล 3/รายการข้อมลู 4) x 100 รายการข้อมลู 3 = จานวนประชากรกลุ่มเปาู หมายท่ไี ด้รบั การส่มุ ประเมนิ มคี วามรอบร้ดู า้ นสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพทถ่ี กู ต้องในระดับระดับดขี น้ึ ไป (มีค่าคะแนน ร้อยละ 70) รายการขอ้ มลู 4*= จานวนประชากรกล่มุ เปาู หมายทไี่ ด้รับการสุ่มประเมนิ ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ และพฤตกิ รรมสขุ ภาพทั้งหมด 1) ส่มุ ประเมนิ ความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพและพฤตกิ รรมสุขภาพในประชาชนกลุ่มแกนนาสุขภาพเปูาหมายตาม เครื่องมอื ประเมนิ HL&HB ของกองสุขศกึ ษา ในพ้นื ท่กี ารดาเนนิ งานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และ โรงเรยี นทมี่ ีการดาเนนิ งานตามแนวทางสุขบญั ญัตแิ หง่ ชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยศูนย์สนับสนุนบริการ สุขภาพที่ 5 2) กาหนดขนาดตัวอยา่ งโดยใช้ตารางสาเร็จของ Yamane ท่ีระดบั ความเชอ่ื มัน่ 95% และค่าความ คลาดเคลือ่ น 5 % จะไดต้ วั อย่างทงั้ หมด เขตละ 800 ตัวอย่าง 2 กลุ่มวัย ๆ ละ 400 ตัวอยา่ ง (วัยเด็กและวัยทางาน) เก็บข้อมูลปีละ 1 ครงั้ ชว่ งไตรมาสท่ี 3-4 ส่วนกลาง : กองสขุ ศกึ ษา, กองสนบั สนนุ สุขภาพภาคประชาชน ส่วนภูมภิ าค : ศูนยส์ นับสนุนบรกิ ารสุขภาพเขต 5 วิธีการจดั เกบ็ ข้อมลู 1.แบบรายงานการพัฒนาชุมชนรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพของกองสขุ ศึกษา 2.เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยใชแ้ บบประเมนิ ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพและพฤตกิ รรมสขุ ภาพ 1.ศูนยส์ นับสนนุ บริการสุขภาพท่ี 5 1. ผอู้ านวยการกองสขุ ศึกษา โทรศพั ท์: 02 193 7000 ตอ่ 18726 โทรสาร : 02 149 5650 2. นางรงุ่ กาญจน์ รณหงษา ตาแหน่ง :นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ โทรศัพท:์ 02 193 7000 ต่อ 18709 โทรสาร :02 149 5650 โทรศัพทม์ ือถอื : 085 484 8618 อีเมล์ : [email protected] กลมุ่ แผนงานและประเมินผล กองสขุ ศึกษา 3. นางสาวธญั ชนก ขมุ ทอง ตาแหนง่ : นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ กลุ่มวชิ าการและพฒั นาคณุ ภาพงานสขุ ศึกษา โทรศพั ท:์ 02 193 7000 ต่อ 18708 โทรสาร :02 149 5650 โทรศพั ท์มือถือ: 084 659 1624 อเี มล์ : [email protected] ~ 10 ~
ตัวชีว้ ัดดาเนินงาน 1.2 หน่วยงาน ศนู ย์สนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพท่ี 5 ชือ่ ตวั ช้ีวัด คา่ น้าหนัก 1.2 ร้อยละของผปู้ ว่ ยกลุ่มเปา้ หมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจ้าบ้านมคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี หน่วยวัด 7.5 คา้ อธิบาย ร้อยละ 75 ผปู้ ว่ ยกลุม่ เป้าหมาย หมายถึง กล่มุ เปูาหมาย 607 ซ่ึงประกอบด้วย ผู้สูงอายุอายุต้ังแต่ 60 ปีข้ึนไป ผู้ปุวย 7 ก ลุ่ ม โ ร ค ไ ด้ แ ก่ ผู้ ปุ ว ย โ ร ค ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ เ รื้ อ รั ง โ ร ค หั ว ใ จ แ ล ะ ห ล อ ด เ ลื อ ด โรคไตวายเรอ้ื รัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคอว้ น มะเร็ง โรคเบาหวาน กลุ่มเส่ียงโรคโควิด 19 และผู้ปุวยโรคโควิด 19 ทกี่ ักรักษาตัวทบ่ี ้าน อสม. หมอประจา้ บ้าน หมายถงึ แกนนา อสม. ทไ่ี ด้รับการคัดเลือกจากหม่บู า้ น/ชุมชน ใหเ้ ขา้ รับการพัฒนา ศกั ยภาพตามหลกั สตู ร อสม. หมอประจาบ้าน ทีก่ ระทรวงสาธารณสขุ กาหนด (ไม่ซ้ากับผู้ผา่ นการอบรม อสม. หมอประจาบ้าน ปี 2563-2564) อสม. กลุ่มเป้าหมายมีศกั ยภาพในการปฏิบตั งิ านตามภารกิจหมอคนที่ 1 หมายถึง อสม.หมอประจาบ้าน ที่มี ความรแู้ ละทักษะในการปฏบิ ตั งิ านตามภารกจิ หมอคนที่ 1 อาธิเชน่ เปน็ พ่เี ล้ียงให้กบั อสค. อย่างน้อยหมบู่ ้านละ 7 คน และเชิญชวนประชาชนฉีดวดั ซนี โควดิ 19 ให้ครอบคลมุ โดยเฉพาะกลุ่มเปูาหมาย 607 และคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ส่งต่อข้อมูลให้หมอคนท่ี 2 และคนท่ี 3 หรือ อน่ื ๆ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ผ่านตามเกณฑ์ท่ีกาหนด อาสาสมัครประจ้าครอบครัว หรือ อสค. หมายถึง สมาชิกคนใดคนหน่ึงของแต่ละครอบครัวที่ได้รับการ คัดเลือกและได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด เพื่อทาหน้าที่ดูแลและ จัดการสุขภาพตามกลุ่มเปูาหมายในครอบครัว กรณี ครอบครัวท่ีมีผู้ปุวยอยู่คนเดียวหรืออยู่ในภาวะพ่ึงพิง อาจ คัดเลือกเพือ่ นบา้ นทีส่ มคั รใจให้เป็น อสค. ได้ ครอบครวั ทม่ี ีศกั ยภาพในการจดั การสขุ ภาพตนเองได้ตามเกณฑท์ ่ีกา้ หนด หมายถึง ครอบครวั ท่มี ี อสค. ทา หน้าทด่ี แู ลและจดั การสุขภาพผปู้ วุ ยกลมุ่ เปาู หมาย 607 ใหม้ คี วามเปน็ อยู่ทด่ี ี ได้แก่ (1) คมุ อาหารอยา่ งเป็นรูปธรรม เช่น กนิ แบบลดหวาน ลดมนั ลดเคม็ ดมื่ น้าเปลา่ (2) ดูแลการกินยาให้ตรงเวลา และไปพบแพทย์ตามนดั (3) ออกกาลงั กายที่เหมาะสม (4) ดแู ลสขุ ภาพจิตใจ (5) ดูแลสขุ ภาพชอ่ งปาก (6) ไดร้ ับการฉีดวคั ซีนปอู งกันโรคโควิด 19 อยา่ งน้อย 1 เข็ม (7) ปฏิบัติตัวตามมาตรการ DMHT : Distancing, Mask Wearing, Hand Washing, Testing ~ 11 ~
และการปอู งกนั การตดิ เช้อื โควิด 19 แบบครอบจกั รวาล (Universal Prevention for COVID-19) (8) จัดสภาพแวดล้อมในครอบครัวใหเ้ อือ้ ต่อการมสี ุขภาพดี ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจ้าบ้านมีคุณภาพชีวิตท่ีดี หมายถึง ผู้ปุวย กลุ่มเปูาหมายท่ีได้รับการดูแลจากอาสาสมัครประจาครอบครัว (อสค.) ท้ังด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้าน ความสัมพันธ์ทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยมี อสม. หมอประจาบ้านเป็นพ่ีเล้ียง อสค.อยา่ งน้อยหมู่บ้านละ 7 คน การพัฒนา อสม. หมอประจาบา้ นในการดแู ลผปู้ ุวยกลุ่มเปาู หมายในชุมชน 1. อสม.กลุ่มเปูาหมายท่ีได้รับการพัฒนาเป็น อสม.หมอประจาบ้าน มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานตาม บทบาทภารกิจหมอคนที่ 1 (ผ่านเกณฑ์การประเมินศักยภาพฯ) จะเป็นแกนนา อสม. ทุกคนในหมู่บ้านให้ปฏิบัติ หนา้ ที่เป็นหมอคนที่ 1 เพอ่ื ขับเคลอ่ื นนโยบาย 3 หมอ มุง่ เน้นเชิญชวนประชาชนฉีดวัดซีนใหค้ รอบคลุม โดยเฉพาะ กลุ่มเปูาหมาย 607 และคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ส่งต่อข้อมูลให้หมอคนท่ี 2 และหมอคนท่ี 3 รวมทั้ง ปอู งกัน และควบคุมโรคโควดิ 19 ในชุมชน หรือภารกจิ อ่ืนๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 2. อสม.หมอประจาบ้าน เปน็ พีเ่ ลี้ยงให้ อสค. ดูแลสขุ ภาพคนในครอบครัวและจดั การสขุ ภาพผู้ปุวยกลมุ่ เปาู หมาย ใหม้ คี ุณภาพชวี ิตท่ีดี ข้อมูลพืน้ ฐาน หนว่ ยงาน จานวน อสม.ท่ไี ด้รบั รอ้ ยละผูป้ ่วยกลมุ่ เป้าหมาย รอ้ ยละครอบครวั มศี กั ยภาพ (Baseline data) ศบส. 5 การอบรมยกระดบั เปน็ ทไ่ี ดร้ บั การดแู ลจาก อสม. ในการจัดการสขุ ภาพตนเอง ปี 2564 อสม. หมอประจาบ้าน หมอประจาบ้าน ไดต้ ามเกณฑ์ทีก่ ้าหนด (คน) มีคณุ ภาพชีวติ ที่ดี 6,008 98.15 96.00 เปา้ หมาย จา้ นวน ปี 2565 ผ้ปู ว่ ยกลมุ่ หน่วยงาน เปา้ หมาย อสม. จา้ นวน ร้อยละ เป้า ผปู้ ่วย อสม. หมอ กลุ่มเปา้ หมายมี อสค. ครอบครัวมี หมายทฯี่ กล่มุ เปา้ หมาย ประจ้าบ้าน (คน) ศักยภาพฯ มคี ณุ ภาพชีวติ ศักยภาพฯ (คน) (คน) (คน) (อยา่ งนอ้ ย (ส่มุ ประเมิน ที่ดี หมู่บา้ นละ 7 โดยวธิ ที าง (อยา่ งน้อย ศบส. 5 5,582 (ร้อยละ 75) หมูบ่ า้ นละ 7 (รอ้ ยละ 75) คน) สถติ ิ) 4,187 คน) 29,306 39,074 75 39,074 ~ 12 ~
เกณฑ์การให้ เกณฑ์/เปา้ หมายการประเมนิ ผล (Small Success) คะแนน รอบ 5 เดือน เกณฑ์การให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน เอกสาร/หลักฐานการรายงานผล คะแนน (5 คะแนน) 1. มีการประชมุ ชแี้ จงแนวทางการ 1 - เอกสารประกอบการประชุม ดาเนินงานให้กบั จงั หวดั - แนวทางการดาเนนิ งานฯ ของเขต 2. มพี ่ีเลยี้ ง อสม.ระดบั จงั หวัดและอาเภอ 1 - มที าเนียบพี่เล้ียง อสม.ระดับจังหวัดและ อาเภอ 3. มีการอบรม อสม. หมอประจาบา้ น หนังสือรายงานผลการอบรม อสม. หมอ อย่างน้อยร้อยละ 70 1 ประจาบ้าน รายงานผอู้ านวยการกอง สช. 4. มกี ารอบรม อสม. หมอประจาบา้ น 1 หนังสอื รายงานผลการอบรม อสม. หมอ ระหว่างร้อยละ 71-99 ประจาบ้าน รายงานผู้อานวยการกอง สช. 5. มกี ารอบรม อสม. หมอประจาบา้ น 1 หนังสอื รายงานผลการอบรม อสม. หมอ ร้อยละ 100 ประจาบา้ น รายงานผูอ้ านวยการกอง สช. หมายเหตุ : การเฉล่ยี คะแนนใหค้ ้านงึ ถงึ ความยากง่ายของการดา้ เนนิ การในแตล่ ะกจิ กรรม เกณฑ์/เปา้ หมายการประเมินผล (Small Success) รอบ 11 เดือน เกณฑ์การประเมนิ คะแนน เอกสาร/หลกั ฐาน (5 คะแนน) การรายงานผล 1. ร้อยละของ อสม. กลมุ่ เปาู หมายมศี กั ยภาพในการ ผลการดาเนินงานในฐานขอ้ มลู ปฏบิ ตั ิงานตามภารกจิ หมอคนท่ี 1 อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 75 1 อสม. หมอประจาบา้ น 2. รอ้ ยละของครอบครวั ท่มี ีศกั ยภาพในการดูแลสขุ ภาพ ตนเองไดต้ ามเกณฑท์ ก่ี าหนดอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 75ขึ้นไป 1 ผลการดาเนนิ งานในฐานข้อมลู 3. ติดตามและสุม่ ประเมนิ ศกั ยภาพครอบครัว อสค. กลุ่มเปูาหมายในพ้นื ท่ีและรายงานกอง สช. 1 - รายงานผลการประเมิน ศกั ยภาพครอบครวั - หนงั สอื ราชการเรยี นกอง สช. 4. ร้อยละของผู้ปุวยกลมุ่ เปูาหมายทีไ่ ด้รับการดูแลจาก 1 ผลการดาเนินงานในฐานข้อมลู อสม. หมอประจาบ้านมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี ระหวา่ งร้อยละ อสม. หมอประจาบา้ น 70-74 5. รอ้ ยละของผู้ปุวยกลุ่มเปูาหมายที่ไดร้ บั การดูแลจาก 1 ผลการดาเนนิ งานในฐานขอ้ มลู อสม. หมอประจาบ้านมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี อย่างนอ้ ยรอ้ ย อสม. หมอประจาบ้าน ละ 75 ข้ึนไป หมายเหตุ : การเฉลี่ยคะแนนใหค้ า้ นงึ ถงึ ความยากง่ายของการด้าเนนิ การในแต่ละกจิ กรรม ~ 13 ~
สูตรคา้ นวณ ร้อยละของผูป้ ว่ ยกลมุ่ เปา้ หมายทไ่ี ด้รับการดแู ลจาก อสม. หมอประจ้าบา้ นมีคุณภาพชีวติ ทด่ี ี ตัวชีว้ ัด 1 = จานวนผ้ปู วุ ยกลมุ่ เปาู หมายทีไ่ ด้รับการดแู ลจาก อสม. หมอประจาบ้าน มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี X 100 สูตรค้านวณ จานวนผ้ปู ุวยกลุ่มเปูาหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจาบ้าน ตวั ช้ีวดั 2 ร้อยละของครอบครวั ทมี่ ศี ักยภาพในการดแู ลสขุ ภาพตนเองไดต้ ามเกณฑท์ ี่ก้าหนด = จานวนครอบครวั ทม่ี ศี กั ยภาพในการดูแลและจัดการสขุ ภาพตนเองไดต้ ามเกณฑท์ ี่กาหนด X 100 สูตรค้านวณ ตวั ชีว้ ัด 3 จานวนครอบครัวกลมุ่ เปูาหมาย รอ้ ยละของ อสม. กลมุ่ เป้าหมายมีศักยภาพในการปฏบิ ัติงานตามภารกิจหมอคนท่ี 1 ผ่านเกณฑ์ที่กา้ หนด เงอื่ นไข = จานวน อสม. กลมุ่ เปูาหมายที่มศี ักยภาพในการปฏบิ ตั งิ านตามภารกจิ หมอคนท่ี 1 ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด X 100 จานวน อสม. ท่ีผา่ นการอบรมหลกั สูตร อสม. หมอประจาบา้ น ปงี บประมาณ 2565 - แหลง่ ขอ้ มลู / แหล่งข้อมูล วธิ กี ารจดั เก็บขอ้ มลู 1. สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั ทกุ จงั หวัด 2. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล/รพช./รพท./หนว่ ยบริการสาธารณสขุ ในพนื้ ท่ี วิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมลู 1.ประเมนิ ผ้ปู ่วยกลมุ่ เป้าหมายทไี่ ดร้ บั การดูแลจาก อสม. หมอประจา้ บา้ นมคี ุณภาพชวี ิตทด่ี ี 1.1) เจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ผูร้ ับผดิ ชอบพ้ืนที่ รพ.สต./รพช./รพท./หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขในพ้ืนท่ี นาผลการ อบรม อสม.หมอประจาบ้านและการประเมนิ ศักยภาพบนั ทกึ ลงในฐานขอ้ มลู อสม.หมอประจาบ้าน ปงี บประมาณ 2565 เวบ็ ไซต์ www.thaiphc.net 1.2) เจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขผู้รับผดิ ชอบพืน้ ที่ รพ.สต./รพช./รพท./หน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ในพ้นื ที่ ร่วมกบั อสม. หมอประจาบ้าน และอสค. ประเมนิ คณุ ภาพชวี ิตผู้ปวุ ยกลมุ่ เปูาหมาย และรายงานในฐานขอ้ มลู อสม.หมอประจา บ้าน ปีงบประมาณ 2565 เว็บไซต์ www.thaiphc.net 2.ประเมินครอบครวั เป้าหมายมีศกั ยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองไดต้ ามเกณฑท์ ่กี า้ หนด เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ รว่ มกบั อสม. หมอประจาบ้าน และ อสค. สมุ่ ประเมินศักยภาพครอบครัว ตามหลักสถิติ โดยการประเมินด้วยตนเอง (Self Assessment) แลว้ บนั ทึกข้อมลู บนฐานข้อมูลอาสาสมัครประจาครอบครัว หรือ www.thaiphc.net รายชอื่ ผจู้ ดั เก็บ ตวั ชี้วดั / เบอร์โทรศพั ท์ ~ 14 ~
ตวั ชีว้ ัดดาเนินงาน 1.3 หน่วยงาน ศูนย์สนบั สนนุ บริการสุขภาพท่ี 5 ช่ือตัวช้ีวัด ค่าน้าหนัก 1.3 ระดับความส้าเร็จของการพัฒนา Smart อสม. หนว่ ยวัด คา้ อธิบาย ร้อยละ 7.5 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน ระดับ (Baseline data) ระดบั ความสา้ เร็จของการพัฒนา Smart อสม. หมายถึง กระบวนการพฒั นาศักยภาพ และส่งเสรมิ สนบั สนนุ เปา้ หมาย ปี 2565 ให้ อสม. มีทกั ษะด้านเทคโนโลยดี จิ ิทัล ให้สามารถใช้งานแอปพลิเคชนั “สมาร์ท อสม.” เพื่อเป็นเครื่องมอื ในการ ปฏบิ ตั ิงาน โดยมีขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน คอื 1. จัดทาคาสง่ั แตง่ ตัง้ คณะทางานหรือมอบหมายผรู้ ับผดิ ชอบในสง่ เสรมิ สนับสนุน ให้ อสม. ใชแ้ อปพลเิ คชัน “สมาร์ท อสม.” 2. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศกั ยภาพ อสม. ดา้ นเทคโนโลยีดิจิทลั 3. เสรมิ สร้างแรงจูงใจและเผยแพร่ประชาสัมพันธก์ ารใชง้ านแอปพลเิ คชัน “สมารท์ อสม.” 4. เผยแพร่ประชาสมั พนั ธก์ ารลงทะเบยี นและการใช้งานแอปพลิเคชนั “สมาร์ท อสม.” 5. ตดิ ตามและประเมินผลการลงทะเบียนและการใชง้ านแอปพลเิ คชนั “สมารท์ อสม.” อสม.กลุม่ เป้าหมาย หมายถงึ อสม.ทร่ี บั ค่าปวุ ยการตามโควตาท่กี ระทรวงสาธารณสุขกาหนด จานวน อสม.ทล่ี งทะเบยี น สมารท์ อสม.ณ วนั ที่ 17 ธ.ค. 64 หนว่ ยงาน จา้ นวนโควต้า อสม. จา้ นวน อสม.ท่ีลงทะเบยี น รอ้ ยละ ทีร่ ับคา่ ปว่ ยการ (คน) สมารท์ อสม. (คน) ศบส.5 72,939 17,062 23.39 หนว่ ยงาน จา้ นวนโควต้า อสม. อสม. ลงทะเบยี น อสม. ใช้งาน ศบส. 5 ทร่ี บั ค่าปว่ ยการ (คน) แอปพลิเคชัน แอปพลิเคชัน “สมาร์ท อสม.” “สมาร์ท อสม.” 72,939 (เพ่ิมขึน้ อยา่ งน้อยรอ้ ยละ (เพ่ิมข้นึ อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 40 50 ของผู้ลงทะเบยี นฯ) ของโควตา อสม.) 29,176 14,588 ~ 15 ~
เกณฑ์การให้ เกณฑ/์ เปา้ หมายการประเมนิ ผล (Small Success) คะแนน รอบ 5 เดือน เกณฑ์การประเมนิ คะแนน เอกสาร/หลกั ฐานการรายงานผล (5 คะแนน) 1. มกี ารแต่งตง้ั คณะทางานหรือมอบหมาย ผรู้ บั ผดิ ชอบในการสง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ 1 สาเนาคาสัง่ /เอกสารแสดงการ อสม. ใชแ้ อปพลเิ คชนั “สมารท์ อสม.” 2. ถ่ายทอดแนวทางการใชง้ าน มอบหมายงาน แอปพลิเคชนั “สมารท์ อสม.” ให้ สสจ. และประธาน อสม. จงั หวัด 1 - แนวทางการใช้งานแอปพลิเคชัน “สมาร์ท อสม.” ของเขต 3. ประชาสมั พนั ธ์ เยีย่ มเสรมิ พลัง และ - หนังสอื ราชการแจ้งแนวทางให้ สสจ. สง่ เสริมสนบั สนุนการใชง้ านแอปพลิเคชนั และประธาน อสม. จังหวดั “สมารท์ อสม.” ในพืน้ ท่ี 4. ติดตามการลงทะเบียนการใชง้ านแอป 1 รายงานผลการดาเนนิ งานการ พลเิ คชัน “สมารท์ อสม.” ทุกเดอื น ประชาสมั พนั ธ์ และเยีย่ มเสรมิ พลงั 1 รายงานการติดตามการลงทะเบยี นการ ใชง้ านแอปพลิเคชนั “สมารท์ อสม.” เดอื น ม.ค. และ ก.พ. 65 5.ร้อยละของ อสม. กลุ่มเปูาหมาย 1 Dashboard “สมารท์ อสม.” ลงทะเบยี นแอปพลเิ คชนั “สมารท์ อสม. ระหวา่ งรอ้ ยละ 20.00 – 29.99 หมายเหตุ : การเฉลี่ยคะแนนให้คานงึ ถงึ ความยากงา่ ยของการดาเนินการในแต่ละกิจกรรม ~ 16 ~
เกณฑ์การให้ เกณฑ์/เป้าหมายการประเมินผล (Small Success) คะแนน รอบ 11 เดือน เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน เอกสาร/หลักฐานการ (5 คะแนน) รายงานผล 1. รอ้ ยละของ อสม. กลมุ่ เปูาหมายลงทะเบยี นแอปพลเิ คชนั 1 Dashboard “สมารท์ อสม.” ระหวา่ งร้อยละ 30.00 -39.99 “สมาร์ท อสม.” 2. ร้อยละของ อสม. กลุ่มเปูาหมายลงทะเบียนแอปพลิเคชัน 1 Dashboard “สมาร์ท อสม.” อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 40 “สมารท์ อสม.” 3. รอ้ ยละผูใ้ ชง้ านแอปพลิเคชนั “สมารท์ อสม.” 1 Dashboard ในการปฏบิ ตั งิ าน ระหว่างรอ้ ยละ 30.00 – 39.99 ของ “สมารท์ อสม.” กลมุ่ เปาู หมายทล่ี งทะเบียน 4. ร้อยละผู้ใชง้ านแอปพลิเคชนั “สมารท์ อสม.” 1 Dashboard ในการปฏิบตั ิงาน ระหวา่ งรอ้ ยละ 40.00 – 49.99 ของ “สมารท์ อสม.” กลมุ่ เปูาหมายทล่ี งทะเบยี น 5. รอ้ ยละผใู้ ชง้ านแอปพลิเคชนั “สมารท์ อสม.” 1 Dashboard ในการปฏิบตั งิ าน อยา่ งน้อยร้อยละ 50 ของกลุม่ เปาู หมาย “สมารท์ อสม.” ที่ลงทะเบียน หมายเหตุ : การเฉลี่ยคะแนนให้คานงึ ถึงความยากงา่ ยของการดาเนินการในแต่ละกิจกรรม สูตรคา้ นวณ รอ้ ยละของ อสม. กลุม่ เปาู หมายลงทะเบยี นแอปพลิเคชนั “สมาร์ท อสม.” ตวั ช้วี ัด 1 = จานวนกลุ่มเปูาหมายทลี่ งทะเบยี นใช้งานแอปพลเิ คชัน “สมาร์ท อสม.” X 100 จานวนโควต้า อสม.ทีร่ บั คา่ ปวุ ยการ สตู รคา้ นวณ รอ้ ยละผใู้ ชง้ านแอปพลิเคชนั “สมารท์ อสม.” ในการปฏิบตั ิงาน ตวั ชี้วัด 2 = จานวนผใู้ ชง้ านแอปพลิเคชัน “สมารท์ อสม.” ในการปฏิบัติงาน X 100 จานวนผูล้ งทะเบยี นใช้งานแอปพลเิ คชนั “สมาร์ท อสม.” แหลง่ ข้อมลู / แหล่งข้อมูล วธิ ีการจดั เกบ็ Dashboard แอปพลเิ คชนั สมารท์ อสม. ข้อมูล วิธกี ารจัดเก็บขอ้ มูล หนา้ จอการใชง้ านแอปพลิเคชัน สมาร์ท อสม. ผู้จดั เก็บ ตวั ชีว้ ัด/ เบอรโ์ ทรศพั ท์ ~ 17 ~
ผลการดาเนินงานตามตวั ชี้วดั 1.1 หวั ข้อ ผลการดาเนินงานโครงการขับเคล่อื นการดาเนนิ งานพฒั นาความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาพระดบั เขตสุขภาพท่ี 5 ตวั ชว้ี ัด รอ้ ยละของประชาชนและชุมชนกลุ่มเปูาหมายมศี กั ยภาพในการจดั การสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ สถานการณ์ การเปลยี่ นแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันท่ัวโลก มีลักษณะเป็นทุนนิยมมากข้ึน มุ่งแสวงหา ผลกาไร ทาให้เศรษฐกิจเกิดความเหล่ือมล้า ในสังคมไทยจากเดิมเป็นสังคมตะวันออกเปล่ียนเป็นสังคมตะวันตก มากขึ้น จากสังคมเกษตรเป็นสังคมอุตสาหกรรม สังคมชนบทกลายเป็นสังคมเมือง ทาให้แบบแผนการดารงชีวิต เปลย่ี นไป เปน็ ปัจจยั เสยี่ งหลกั ท่สี าคัญทเ่ี ป็นภยั คุกคามสุขภาพ ทาให้เกิดปัญหาสุขภาพจากโรคไม่ติดต่อเร้ือรังหรือ เรียกว่า โรควิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนโดยตลอด และองค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ว่าในปี 2565 ท่ัวโลกจะมีผู้เสียชีวิตประมาณ 25 ล้านคน หากไม่สามารถหยุดย้ังพฤติกรรมเสี่ยงเหล่าน้ันได้ รวมไปถึงโรคติดต่อท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบัน การสร้าง ภูมคิ มุ้ กนั ทเ่ี ขม้ แข็งให้กับคนไทยโดยการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของประชาชน ด้วยแนวคิดในการพัฒนาวิถีชีวิต ไทยให้หา่ งไกลและปราศจากปจั จัยเสี่ยงมปี ัจจยั เสริมท่ีเอ้ือตอ่ การปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีดี สร้างภูมิคุ้มกัน และสุขภาวะของท้ังสังคม สามารถลดโรคและภัยคุกคามสุขภาพได้ และนโยบายเน้นหนัก“การสร้างสุขภาพ มากกว่าการซอ่ มสขุ ภาพ” ซ่งึ จะต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนกลมุ่ เปูาหมายมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ปลกู ฝังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับวิถีชีวิต ด้วยงานสุขศึกษาในชุมชนในรูปแบบ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติ โดยมีเปูาหมายเพ่ือให้ประชาชนทุกคน สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และชุมชนจัดการสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้อย่างยั่งยืนและการ ดาเนินงานสุขศึกษาในสถานบริการสุขภาพท่ีเป็นไปตามมาตรฐานงานสุขศึกษา มีการดาเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพท่ีมีคุณภาพ เพ่ือให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ด้านสุขภาพ และมีการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชมุ ชนอยา่ งย่งั ยืน ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 5 ได้ดาเนินการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพให้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ โดยใช้กลยุทธ์หมู่บ้านปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ประเด็นเร่ือง ~ 18 ~
3อ 2ส วณั โรค และการใช้ยาอย่างถูกวิธี และกลยุทธ์โรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ เพื่อให้การดาเนินการสร้างเสริม ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปลูกฝัง ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ จึงเห็นว่าการดาเนินงาน ส่งเสริมความรอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพ ในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรงเรียนสุขบัญญัติ แห่งชาติ เป็นกลยุทธ์สาคัญในการดาเนินงาน เพ่ือการส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานของภาคีเครือข่ายให้มีการ ดาเนนิ งานพัฒนาความรอบรูด้ ้านสุขภาพ และการพฒั นาคุณภาพงานสุขศึกษาที่ครอบคลุมและเหมาะสม พร้อมท้ัง รองรับกับสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ดังน้ัน ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 จึงได้จัดทาโครงการขับเคลื่อนการดาเนินงานพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพและโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติ แห่งชาติ และสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ประชาชนกลุม่ วัยทางานและเด็กวัยเรียนกลุ่มเปูาหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพทถี่ ูกตอ้ ง และสามารถยกระดับการดาเนนิ งานชมุ ชนรอบรู้ดา้ นสุขภาพ กระบวนการดาเนนิ งาน 1. ศนู ยส์ นับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 โดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพเข้าร่วม การประชุมถา่ ยทอดนโยบายและแนวทางการดาเนนิ งานสุขศึกษาเพ่อื พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม สขุ ภาพระดับเขต ปีงบประมาณ 2565 ผ่านระบบออนไลน์ วนั ท่ี 3 ธนั วาคม 2565 2. ประชุมชี้แจงการสนับสนุนงบประมาณและแนวทางการดาเนินงานขับเคลื่อนการดาเนินงานสุขภาพ ภาคประชาชนและพฤติกรรมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565 ผ่านระบบออนไลน์ในวันที่ 13 ธันวาคม 2564 เวลา 09.30-16.30 น. ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting ณ ห้องประชุมศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 5 กลุม่ เปาู หมายได้แก่ ผู้รบั ผิดชอบงานสุขภาพภาคประชาชน จานวน 8 คน 8 จังหวัด ผู้รับผิดชอบงานสุขศึกษาและ พฒั นาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ จานวน 8 คน 8 จังหวัด ศูนย์วิชาการในเขตสุขภาพท่ี 5 จานวน 4 คน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ประธาน อสม. แกนนาพน้ื ท่ีนารอ่ ง 8 คน 3. ลงพ้ืนท่ีประชุมส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาเครือข่ายในการขับเคลื่อนการดาเนินงานพื้นที่ต้นแบบชุมชน รอบรู้ด้านสุขภาพ ระดับเขตสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 จานวน 8 คร้ัง ๆ ละ 1 วัน กลุ่มเปูาหมายได้แก่ เจ้าหน้าที่สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.)/เจ้าหน้าที่สานักงานสาธารณสุขอาเภอ (สสอ.)/เจ้าหน้าท่ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล (รพ.สต.)/แกนนา อสม./ยวุ อสม./ผู้สังเกตการณ์ จงั หวดั ละ 70 คน 4. การพัฒนาแกนนาสุขภาพ อสม./ยุวอสม. โดยประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็น สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ระดบั เขตสขุ ภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 5. ลงพ้ืนที่ประชุมส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ (Sand Box) โดยใช้กลไก 3 หมอในการ ขับเคลื่อนสู่ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 จานวน 2 ระยะ คร้ังที่ 1 ในระหว่างวันที่ 15-18 กุมภาพันธ์ 2565 ประกอบดว้ ย 3 จงั หวดั ได้แก่ จงั หวดั ราชบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม คร้ัง ~ 19 ~
ท่ี 2 ในระหว่างวันท่ี 21-25 กุมภาพันธ์ 2565 บันทึกข้อความท่ี น.49/2565 ลงวันท่ี 21 มกราคม 2565 เร่ืองขอ อนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรมท่ี 4 ลงพื้นท่ีประชุมส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบ (Sand Box) โดยใช้ กลไก 3 หมอในการขับเคลื่อนสู่ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และจังหวดั เพชรบุรี เพ่อื สง่ เสริมและสนบั สนุนกลไกการดาเนินงานในพน้ื ท่ีส่กู ารปฏบิ ตั ิ 6. ลงพ้ืนที่เยี่ยมเสริมพลังแลกเปล่ียนเรียนรู้ในพ้ืนท่ีต้นแบบระดับจังหวัด ประเภทหมู่บ้านปรับเปล่ียน พฤติกรรมสุขภาพ โรงเรียนสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ และชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปงี บประมาณ 2565 จานวน 8 ครัง้ ๆ ละ 1 วัน 7. ลงพ้ืนท่ีประชุมติดตาม ประเมิน เย่ียมเสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและพฤติกรรม สุขภาพ ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปงี บประมาณ 2565 บันทึกข้อความท่ี น.945/64 ลงวันท่ี 24 ธันวาคม 2564 เร่ือง ขออนุมัติเดินทางไปราชการประชุมติดตาม ประเมิน เยี่ยมเสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและ พฤติกรรมสุขภาพ ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 ประกอบด้วย 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม ในระหว่างวันท่ี 28-30 ธันวาคม 2564 และบันทึก ข้อความที่ น.60/65 ลงวันที่ 24 มกราคม 2565 เรื่องขออนุมัติเดินทางไปราชการประชุมติดตาม ประเมิน เย่ียม เสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและพฤติกรรมสุขภาพ ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 ประกอบด้วย 5 จงั หวดั ได้แก่ จงั หวดั สมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรีและ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ในระหวา่ งวันท่ี 7-11 กุมภาพันธ์ 2565 8. สรุปผลการดาเนินงานโดยการประชุมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสค. และรายงานผลการปฏิบัติงาน สุขภาพภาคประชาชนระดับเขตสุขภาพท่ี 5 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการ ดาเนนิ งานพัฒนาศักยภาพ อสค. และรายงานผลการปฏบิ ัติงานสขุ ภาพภาคประชาชนและหารือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการขับเคล่ือนงานผ่านกลไกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ในระหว่างวันท่ี 25-26 กรกฎาคม 2565 ~ 20 ~
ตารางท่ี 1 แสดงเกณฑ์การประเมินผลโครงการขบั เคลอ่ื นการดาเนินงานพฒั นาความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพระดับเขต สุขภาพที่ 5 รอบ 12 เดือน เกณฑก์ าร คะแนน (5 คะแนน) เอกสาร/หลกั ฐาน ประเมนิ การรายงานผล เชงิ ปริมาณ ชมุ ชนเปาู หมายมีการดาเนนิ งานจัดการสขุ ภาพตามแนว เอกสารรายงาน 1. จานวนชุมชนเปาู หมายมี ทางการพฒั นาชุมชนรอบรดู้ า้ นสุขภาพ (1 คะแนน) การดาเนินงานพัฒนา 2. ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ 0.2 0.4 0.6 0.8 1 3. 40.00- 50.00- 60.00- 70.00- 80 ขน้ึ 4. 49.99 59.99 69.99 79.99 ไป เชงิ ปริมาณประชาชนแกนนาสขุ ภาพกลุ่มเปูาหมายท่ไี ดร้ บั การพฒั นา ศักยภาพ (1 คะแนน) 0.2 0.4 0.6 0.8 1 40.00- 50.00- 60.00- 70.00- 80 ขึ้น 49.99 59.99 69.99 79.99 ไป เชิงคณุ ภาพ ชมุ ชนเปูาหมายมศี ักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองไดต้ าม การรายงานผลตาม เกณฑท์ ีก่ าหนด (1 คะแนน) ระบบ Health gate 0.2 0.4 0.6 0.8 1 (รพสต.ระดับพัฒนา , 10.00- 20.00- 30.00- 40.00- 75 ข้นึ หมู่บ้าน/โรงเรียนระดับ 19.99 29.99 39.99 49.99 ไป ด)ี เชิงคุณภาพ ประชาชนแกนนาสุขภาพกลุม่ เปูาหมายศกั ยภาพในการจัดการ เอกสารรายงานผล สุขภาพ (2 คะแนน) การประเมินความรอบรู้ 0.4 0.8 1.2 1.6 2 ดา้ นสุขภาพและ 10.00- 20.00- 30.00- 40.00- 75 ขน้ึ พฤติกรรมสุขภาพ 19.99 29.99 39.99 49.99 ไป ~ 21 ~
ผลการดา้ เนนิ งาน 1. ชุมชนเปา้ หมายมีการด้าเนินงานจัดการสุขภาพตามแนวทางการพัฒนาชุมชนรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ ตารางท่ี 2 แสดงผลการดาเนนิ งานชุมชนเปูาหมายมีการดาเนินงานจดั การสขุ ภาพตามแนวทางการพฒั นาชุมชน รอบรูด้ า้ นสุขภาพ จังหดั เป้าหมาย ผลงานสะสม (แห่ง) รอ้ ยละ รพ.สต. (แหง่ ) ปี 2563-2564 ปี 2565 รวม 92.31 กาญจนบุรี 143 110 88.81 นครปฐม 134 57 22 132 88.89 ประจวบคีรีขันธ์ 81 39 62 119 94.87 เพชรบุรี 117 109 33 72 100.00 ราชบุรี 158 140 2 111 100.00 สมุทรสงคราม 49 28 18 158 98.15 สมทุ รสาคร 54 24 21 49 82.18 สุพรรณบุรี 174 49 29 53 91.98 รวมเขต 5 910 556 94 143 281 837 *ผลงานชุมชนเป้าหมายมีการด้าเนินงานจัดการสุขภาพตามแนวทางการพัฒนาชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ ขอ้ มลู มาจาก https://healthgate.gen-hed.com ขอ้ มูล ณ วันท่ี 10 ส.ค. 2565 ** ผลงานชมุ ชนเปา้ หมายมีการด้าเนนิ งานจดั การสขุ ภาพ หมายถงึ จ้านวน รพ.สต. ท่ีมีการด้าเนินงานพัฒนา ชุมชนรอบรู้ด้านสขุ ภาพแบบสะสมตั้งแตป่ ี 2563 แบบสะสม จากตารางที่ 2 พบว่าผลการดาเนินงานชุมชนเปูาหมายมีการดาเนินงานจัดการสุขภาพตามแนวทางการ พฒั นาชมุ ชนรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพในพื้นที่รับผิดชอบเขตสุขภาพท่ี 5 ร้อยละ 91.98 ซึ่งผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดที่ร้อย ละ 80 ขึ้นไป จังหวัดท่ีมีผลการดาเนินมากท่ีสุด ได้แก่ ราชบุรี และสมุทรสงคราม ร้อยละ 100 รองลงมาจังหวัด สมทุ รสาคร ร้อยละ 98.15 จังหวดั เพชรบรุ ี รอ้ ยละ 94.87 ตามลาดับ รายละเอยี ดตามตารางท่ี 2 ~ 22 ~
2. ประชาชนแกนน้าสุขภาพกลุ่มเปา้ หมายท่ีไดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพ ตารางท่ี 3 แสดงผลการดาเนินงานการพฒั นาแกนนาสุขภาพกลมุ่ เปูาหมายท่ีไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพ จงั หวัด แกนนา้ อสม. รอ้ ยละ แกนนา้ นักเรยี น ร้อยละ เปา้ หมาย ผลงาน เปา้ หมาย ผลงาน กาญจนบรุ ี ต้าบลละ 10 คน (คน) 78.27 ตา้ บลละ 10 คน (คน) 57.55 นครปฐม 980 959 70.19 980 564 100 ประจวบคีรีขนั ธ์ 1,060 934 72.50 1,060 1,118 100 เพชรบุรี 480 467 60.12 480 2,880 47.20 ราชบุรี 930 667 75.29 930 439 100 สมุทรสงคราม 1,040 977 63.06 1,040 1,534 100 สมทุ รสาคร 360 301 58.00 360 468 100 สุพรรณบรุ ี 400 292 73.36 400 445 100 รวมเขต 5 1,100 986 87.92 1,100 1,530 100 6,350 5,583 6,350 8,978 * ประชาชนแกนน้าสขุ ภาพกลมุ่ เปา้ หมายที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพรอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป ** ผลงานแกนน้า อสม. น้าข้อมูลมาจากผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็นสมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจา้ บา้ น ระดับเขตสขุ ภาพที่ 5 ปงี บประมาณ 2565 *** ผลงานแกนน้านักเรียน น้าข้อมูลมาจาก https://healthgate.gen-hed.com ข้อมูล ณ วันท่ี 8 ส.ค. 2565 จากตารางที่ 3 พบว่าผลการดาเนนิ งานพัฒนาแกนนาสขุ ภาพกลมุ่ วัยทางาน ไดแ้ ก่ อาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บ้าน (อสม.) ในพ้ืนที่รับผิดชอบเขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 87.92 ซึ่งผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดที่ร้อยละ 80 จังหวัดที่มีผลการดาเนินงานมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ร้อยละ 78.27 จังหวัดราชบุรี ร้อยละ 75.29 จังหวัดสุพรรณบุรี ร้อยละ 73.36 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ร้อยละ 72.50 จังหวัดนครปฐม ร้อยละ 70.19 ตามลาดับ รายละเอียดตามรางท่ี 3 ในส่วนของผลการดาเนนิ งานพฒั นาแกนนาสขุ ภาพกลมุ่ วยั เรยี น ได้แก่ แกนนานกั เรยี น ในพื้นท่ีรับผิดชอบ เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 100 ซ่ึงผ่านเกณฑ์ที่กาหนดที่ร้อยละ 80 จังหวัดท่ีผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ นครปฐม ~ 23 ~
ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และสุพรรณบุรี มีผลการดาเนินงานเกินเกณฑ์ท่ีกาหนด รายละเอียดตามรางที่ 3 3. ชมุ ชนเปา้ หมายมศี ักยภาพในการจดั การสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กา้ หนด ตารางที่ 4 แสดงผลการดาเนนิ งานชุมชนเปาู หมายมศี ักยภาพในการจัดการสขุ ภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ จงั หวดั เปา้ หมายทง้ั หมด เป้าหมายผลงาน ผลงาน รอ้ ยละ (แห่ง) (แหง่ ) (แหง่ ) กาญจนบุรี 68 69.39 นครปฐม 98 74 59 55.66 ประจวบครี ีขนั ธ์ 106 80 36 75.00 เพชรบุรี 48 36 94 101.08 ราชบรุ ี 93 70 107 102.00 สมทุ รสงคราม 104 78 31 86.11 สมุทรสาคร 36 27 30 75.00 สุพรรณบรุ ี 40 30 53 48.18 รวมเขต 5 110 83 478 75.28 635 476 * เป้าหมายผลงานชุมชนเป้าหมายมศี ักยภาพในการจดั การสขุ ภาพตนเองได้ ** ผลงานชุมชนเปา้ หมายมศี ักยภาพในการจัดการสขุ ภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ท่ีก้าหนด หมายถึง รพ.สต. ท่ีมี ผลผา่ นการประเมินมาตรฐานสุขศกึ ษาระดับพฒั นาขน้ึ ไป มผี ลการประเมินหมูบ่ า้ นปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมระดับ ดีขึ้นไปและมีผลการประเมินโรงเรียนสร้างพฤติกรรมตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ระดับดีข้ึนไป ใน โปรแกรม health gate *** ผลงานดา้ เนินงาน นา้ ข้อมลู มาจาก https://healthgate.gen-hed.com ข้อมูล ณ วนั ท่ี 10 ส.ค. 2565 จากตารางที่ 4 พบว่าผลการดาเนินงานชุมชนเปูาหมายมีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองได้ตาม เกณฑ์ ในพื้นท่ีรับผิดชอบเขตสุขภาพที่ 5 ผลงาน ร้อยละ 75.28 ซึ่งผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดที่ร้อยละ 75 เม่ือ จาแนกรายจังหวัดพบว่า จังหวัดที่มีผลการดาเนินงานมากที่สุด ได้แก่ ราชบุรี ร้อยละ 102 เพชรบุรี ร้อยละ 101.08 จงั หวดั สมุทรสงคราม รอ้ ยละ 86.11 จังหวัดสมุทรสาคร จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ รอ้ ยละ 75 ตามลาดับ จังหวัดท่ีมีผลการดาเนินงานต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดที่ร้อยละ 75 ได้แก่ สุพรรณบุรี ร้อยละ 48.18 นครปฐม รอ้ ยละ 55.66 และจังหวดั กาญจนบรุ ี รอ้ ยละ 69.39 ตามลาดับ รายละเอยี ดตามตารางที่ 4 ~ 24 ~
4. ประชาชนแกนน้าสขุ ภาพกล่มุ เป้าหมายศักยภาพในการจัดการสุขภาพ 4.1 ผลความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพและพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มวัยท้างาน (แกนน้า อสม.) ขอ้ มูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบประเมนิ จากผลการสุ่มประเมินกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน เป็นเพศชาย 62 คน ร้อยละ 15.50 และเพศหญิง 338 คน ร้อยละ 84.50 กลุ่มช่วงอายุท่ีพบมากที่สุดคือ อายุ 50-59 ปี จานวน 243 คน ร้อยละ 60.75 รองลงมา มาคือกลุ่มช่วงอายุ 40-49 ปี จานวน 103 คน ร้อยละ 25.75 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับมัธยมปลาย/ ปวช. จานวน 142 คน ร้อยละ 35.50 และประถมศึกษา จานวน 140 คน รอ้ ยละ 35.00 ตามลาดบั ภาพท่ี 1 แสดงข้อมลู ทัว่ ไปของผตู้ อบแบบประเมินกลมุ่ วัยทางาน (แกนนา อสม.) สรุปผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพส้าหรับหมู่บ้านปรับเปล่ียน พฤติกรรมในตา้ บลจดั การคุณภาพชวี ติ ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพของกลมุ่ วัยทา้ งาน แบ่งการประเมนิ ออกเปน็ 4 องคป์ ระกอบ 1.การเขา้ ถึงขอ้ มลู และบริการสุขภาพ คะแนนรวมเฉลี่ย 4.67 ร้อยละ 93.49 อยู่ในระดับดีมาก เม่ือแบ่ง ตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการ อยู่ในระดับดีมาก จานวน 349 คน รอ้ ยละ 87.25 ระดับดี จานวน 50 คน ร้อยละ 12.50 ระดับไม่ดี จานวน 1 คน รอ้ ยละ 0.25 2.การเข้าใจขอ้ มลู และบริการสขุ ภาพ คะแนนรวมเฉล่ีย 4.74 ร้อยละ 94.83 อยู่ในระดับดีมาก เมื่อแบ่ง ตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการเข้าใจข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนอยู่ในระดับดีมาก จานวน 395 คดิ เป็นรอ้ ยละ 98.75 ระดับดี จานวน 4 คน รอ้ ยละ 1.00 ระดบั พอใช้ จานวน 1 คน ร้อยละ 0.25 3.การตัดสินใจใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนรวมเฉลี่ย 4.65 ร้อยละ 92.94 อยู่ในระดับดีมาก เมื่อแบ่งตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการตัดสินใจใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนอยู่ใน ~ 25 ~
ระดบั ดมี ากจานวน 387 คน รอ้ ยละ 96.75 ระดับดี จานวน 9 คน ร้อยละ 2.25 ระดบั พอใช้ จานวน 3 คน ร้อยละ 0.75 ระดบั ไมด่ จี านวน 1 คน ร้อยละ 0.25 4.การประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนรวมเฉล่ีย 4.69 ร้อยละ 93.74 อยู่ในระดับดีมาก เม่ือแบ่งตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนอยู่ใน ระดับดีมาก จานวน 397 คน ร้อยละ 99.25 ระดับดี จานวน 2 คน ร้อยละ 0.50 ระดับพอใช้จานวน 1 คน รอ้ ยละ 0.25 สรุปคะแนนเฉล่ียและร้อยละความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4.69 คะแนน ร้อยละ 93.75 ความรอบรู้ด้าน สุขภาพอยใู่ นระดบั ดมี าก เมอื่ แบ่งตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับดีมาก จานวน 394 คน รอ้ ยละ 98.50 ระดับดี จานวน 6 คน รอ้ ยละ 1.50 รายละเอียดตามภาพท่ี 2 ภาพท่ี 2 สรปุ ผลการประเมินความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพและพฤติกรรมสขุ ภาพสาหรับหมู่บา้ นปรับเปล่ยี นพฤติกรรม ในตาบลจัดการคณุ ภาพชีวติ พฤติกรรมสุขภาพของกลมุ่ วัยท้างาน แบ่งการประเมินออกเปน็ 6 องค์ประกอบ 1.พฤติกรรมการบริโภคอาหาร คะแนนรวมเฉล่ีย 4.25 ร้อยละ 84.93 อยู่ในระดับดีมาก เมื่อแบ่งตาม จานวนผู้ตอบแบบประเมินพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร อย่ใู นระดบั ดีมาก จานวน 300 คน ร้อยละ 75.00 ระดับดี จานวน 60 คน ร้อยละ 15.00 ระดบั พอใช้ จานวน 26 คน ร้อยละ 6.50 ระดับไมด่ ี จานวน 14 คน รอ้ ยละ 3.50 2.พฤตกิ รรมการออกกา้ ลังกาย คะแนนรวมเฉลีย่ 3.97 ร้อยละ 79.35 อยู่ในระดับดี เม่ือแบ่งตามจานวน ผู้ตอบแบบประเมินพฤติกรรมการออกกาลังกาย อยู่ในระดับดีมาก จานวน 280 คน ร้อยละ 70.00 ระดับดี จานวน 34 คน ร้อยละ 8.50 ระดบั พอใช้ จานวน 38 คน ร้อยละ 9.50 ระดับไมด่ ี จานวน 48 คน ร้อยละ 12.00 3.พฤติกรรมการจัดการความเครียด คะแนนรวมเฉลี่ย 4.43 ร้อยละ 88.53 อยู่ในระดับดีมาก เมื่อแบ่ง ตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินพฤติกรรมการจัดการความเครียด อยู่ในระดับดีมาก จานวน 316 คน ร้อยละ ~ 26 ~
79.00 ระดับดี จานวน 84 คน ร้อยละ 21.00 ระดับพอใช้ จานวน 53 คน ร้อยละ 13.25 ระดับไม่ดี จานวน 11 คน รอ้ ยละ 2.75 4.พฤติกรรมการสูบบุหร่ี คะแนนรวมเฉลี่ย 4.84 คิดเป็นร้อยละ 96.80 อยู่ในระดับดีมาก เม่ือแบ่งตาม จานวนผู้ตอบแบบประเมินพฤติกรรมการสูบบุหร่ี อยู่ในระดับดีมาก จานวน 379 คน ร้อยละ 94.75 ระดับดี จานวน 21 คน รอ้ ยละ 5.25 ระดบั พอใช้ จานวน 14 คน รอ้ ยละ 3.50 ระดบั ไม่ดี จานวน 1 คน ร้อยละ 0.25 5.พฤติกรรมการดื่มสุรา คะแนนรวมเฉล่ีย 4.89 ร้อยละ 97.80 อยู่ในระดับดีมาก เม่ือแบ่งตามจานวน ผู้ตอบแบบประเมินพฤติกรรมการด่ืมสุรา อยู่ในระดับดีมาก จานวน 391 คน ร้อยละ 97.75 ระดับพอใช้ จานวน 6 คน รอ้ ยละ 1.50 ระดับไม่ดี จานวน 3 คน รอ้ ยละ 0.75 6.พฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 คะแนนรวมเฉลี่ย 4.65 ร้อยละ 92.96 อยู่ในระดับดีมาก เมื่อแบ่งตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินพฤติกรรมการปูองกันโรคติดเช้ือโควิด-19 อยู่ในระดับดีมาก จานวน 387 คน ร้อยละ 96.75 ระดบั ดี จานวน 10 คน รอ้ ยละ 2.50 ระดบั พอใช้ จานวน 3 คน ร้อยละ 0.75 สรุปคะแนนเฉล่ียและร้อยละพฤติกรรมสุขภาพ 4.50 คะแนน ร้อยละ 90.06 พฤติกรรมสุขภาพอยู่ใน ระดับดีมาก เมื่อแบ่งตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับดีมาก จานวน 367 คน ร้อยละ 91.75 ระดับดี จานวน 33 คน ร้อยละ 8.25 กิจกรรมการมีส่วนร่วม คะแนนรวมเฉล่ีย 2.52 ร้อยละ 84.13 อยู่ในระดับดีมาก เม่ือแบ่งตามจานวน ผู้ตอบแบบประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่วม คะแนนอยู่ในระดับดีมาก จานวน 254 คน ร้อยละ 63.50 ระดับดี จานวน 29 คน รอ้ ยละ 7.25 ระดบั พอใช้ จานวน 97 คน รอ้ ยละ 24.25 ระดบั ไม่ดี จานวน 20 คน ร้อยละ 5.00 สรุปจานวนผู้ตอบแบบประเมินท่ีมีความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านเกณฑ์ที่กาหนด จานวน 400 คน ร้อยละ 100 ผู้ตอบแบบประเมินท่ีมีพฤติกรรมสุขภาพผ่านเกณฑ์ที่กาหนด จานวน 400 คน ร้อยละ 100 ประชาชนที่มี ศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง (มี HL และ HB ผ่านเกณฑ์ที่กาหนดท้ัง 2 ด้าน) จานวน 400 คน ร้อยละ 100 รายละเอียดตามภาพท่ี 2 4.2 ผลความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพและพฤตกิ รรมสขุ ภาพ กลุม่ วยั เรยี น (แกนนา้ นักเรียน) ขอ้ มูลท่วั ไปของผูต้ อบแบบประเมนิ จากผลการสุ่มประเมินกลุ่มตัวอย่างท้ังสิ้น 400 คน เป็นเพศชาย 143 คน ร้อยละ 35.75 และเพศหญิง 257 คน ร้อยละ 64.25 ช่วงอายุ 6-9 ปี จานวน 15 คน ร้อยละ 3.75 ช่วงอายุ 10-12 ปี จานวน 288 คน ร้อยละ 72.00 ช่วงอายุ 13-15 ปี จานวน 82 คน ร้อยละ 20.50 ช่วงอายุ 16-18 ปี จานวน 15 คน ร้อยละ 3.75 กาลัง ศึกษาระดบั ช้ัน ป.1-3 จานวน 12 คน รอ้ ยละ 3.00 ป.4-6 จานวน 294 คน ร้อยละ 73.50 ม.1-3 จานวน 82 คน ร้อยละ 20.50 ม.4-6 จานวน 12 คน ร้อยละ 3.00 สถานะ เป็น แกนนานักเรียน จานวน 398 คน ร้อยละ 99.50 ยวุ อสม. จานวน 2 คน ร้อยละ 0.50 รายละเอียดตามภาพที่ 3 ~ 27 ~
ภาพที่ 3 แสดงขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบประเมนิ กลุ่มวยั เรยี น (แกนนา นักเรยี น) สรุปผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพส้าหรับโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติ แหง่ ชาติในตา้ บลจดั การคุณภาพชีวิต ความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลมุ่ วัยเรียน แบ่งการประเมนิ ออกเปน็ 4 องค์ประกอบ 1.การเขา้ ถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนรวมเฉล่ีย 4.25 ร้อยละ 85.04 อยู่ในระดับดีมาก เม่ือแบ่ง ตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการ อยู่ในระดับดีมาก จานวน 363 คน รอ้ ยละ 90.75 ระดบั ดี จานวน 31 คน ร้อยละ 7.75 ระดบั พอใช้ จานวน 6 คน ร้อยละ 1.50 2.การเข้าใจขอ้ มูลและบรกิ ารสุขภาพ คะแนนรวมเฉล่ีย 4.29 ร้อยละ 85.76 อยู่ในระดับดีมาก เมื่อแบ่ง ตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการเข้าใจข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนอยู่ในระดับดีมาก จานวน 369 รอ้ ยละ 92.25 ระดบั ดี จานวน 30 คน ร้อยละ 7.50 ระดบั พอใช้ จานวน 1 คน ร้อยละ 0.25 3.การตัดสินใจใชข้ ้อมลู และบรกิ ารสุขภาพ คะแนนรวมเฉลย่ี 4.19 ร้อยละ 83.70 อยใู่ นระดับดีมาก เม่ือ แบง่ ตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการตัดสินใจใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนอยู่ในระดับดี มากจานวน 360 คน รอ้ ยละ 90.00 ระดับดี จานวน 32 คน ร้อยละ 8.00 ระดบั พอใช้ จานวน 8 คน รอ้ ยละ 2.00 4.การประยุกต์ใช้ข้อมูลและบรกิ ารสขุ ภาพ คะแนนรวมเฉลยี่ 4.24 ร้อยละ 84.73 อยู่ในระดับดีมาก เมื่อ แบง่ ตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้านการประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ คะแนนอยู่ในระดับดี มาก จานวน 382 คน ร้อยละ 95.50 ระดับดี จานวน 12 คน ร้อยละ 3.00 ระดบั พอใช้จานวน 4 คน ร้อยละ 1.00 ระดบั ไมด่ ี จานวน 2 คน ร้อยละ 0.50 ~ 28 ~
สรุปคะแนนเฉล่ียความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4.24 คะแนน ร้อยละ 84.81 กลุ่มวัยเรียนในพ้ืนท่ีตาบลจัดการ คุณภาพชีวิตมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับดีมาก เมื่อแบ่งตามจานวนผู้ตอบแบบประเมินความรอบรู้ด้าน สุขภาพอยู่ในระดับดีมาก จานวน 331 คน ร้อยละ 82.75 ระดบั ดี จานวน 69 คน ร้อยละ 17.25 รายละเอียดตาม ภาพที่ 4 ภาพที่ 4 สรปุ ผลการประเมินความรอบรดู้ ้านสุขภาพและพฤติกรรมสขุ ภาพสาหรับโรงเรียนส่งเสริมสุขบญั ญัติ แหง่ ชาตใิ นตาบลจัดการคุณภาพชวี ิต พฤตกิ รรมสขุ ภาพของกลุ่มวยั เรยี น พฤติกรรมสุขภาพ คะแนนรวมเฉลี่ย 4.23 คะแนน ร้อยละ 84.50 อยู่ในระดับดีมาก จานวน 287 คน รอ้ ยละ 71.75 ระดบั ดี จานวน 100 คน ร้อยละ 25.00 ระดับพอใช้ จานวน 13 คน รอ้ ยละ 3.25 กิจกรรมการมีส่วนร่วม คะแนนรวมเฉลี่ย 2.50 ร้อยละ 83.49 อยู่ในระดับดีมาก เม่ือแบ่งตามจานวน ผู้ตอบแบบประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่วม คะแนนอยู่ในระดับดีมาก จานวน 228 คน ร้อยละ 60.00 ระดับพอใช้ จานวน 134 คน ร้อยละ 35.26 ระดบั ไมด่ ี จานวน 6 คน ร้อยละ 1.58 สรุปจานวนผู้ตอบแบบประเมินที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านเกณฑ์ที่กาหนด จานวน 400 คน ร้อยละ 100 ผู้ตอบแบบประเมินที่มีพฤติกรรมสุขภาพผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด จานวน 387 คน ร้อยละ 96.75 ประชาชนที่มี ศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง (มี HL และ HB ผ่านเกณฑ์ที่กาหนดทั้ง 2 ด้าน) จานวน 387 คน ร้อยละ 96.75 รายละเอียดตามภาพท่ี 4 ~ 29 ~
ขอ้ เสนอแนะต่อพื้นที่ 1. กาหนด Timeline การปฏิบัตงิ านใหช้ ดั เจนมากยิ่งขน้ึ เพอื่ ให้การดาเนินงานบรรลุตามแผนงานท่ีกาหนดและเกิด ประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธิภาพตามแผนทีก่ าหนด 2. วิเคราะห์ และพฒั นารูปแบบการดาเนินงานเพ่อื ให้กระบวนการออกแบบกิจกรรมมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึน้ ข้อเสนอแนะต่อส่วนกลาง 1. ปรับโปรแกรมให้แสดงรายช่ือข้อมูลหมู่บ้าน โรงเรียน และ รพ.สต. ที่ยังไม่มีการบันทึกข้อมูลเพื่ออานวยความ สะดวกต่อการติดตามพน้ื ทใี่ นการลงข้อมูลและพัฒนายกระดับพน้ื ทีต่ ่อไป 2. ควรมเี วทีแลกเปล่ยี นเรียนรู้ผลการดาเนินงานในระดับพ้ืนท่ีเพื่อสร้างแรงจูงใจในการขับเคลื่อนงาน หรือยกย่อง เชดิ ชู ผา่ นระบบออนไลนแ์ ละรวบรวมผลงานใหง้ า่ ยตอ่ ให้พืน้ ที่สบื ค้น และเรียนรูเ้ ปน็ ตวั อย่างในการขบั เคล่ือนงาน 3. ร่วมติดตาม ถอดบทเรียน และประเมนิ ผลในระดับพ้นื ท่ี 4. ควรสนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอกับปริมาณงาน หรือปรับรูปแบบงานให้เหมาะสม สร้างและพัฒนางานท่ี เป็นจดุ เด่น ต่อยอดแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สนับสนุนวิชาการให้กับพืน้ ทไ่ี ด้ ~ 30 ~
ผลการดาเนินงานตามตัวชีว้ ดั 1.2 หัวขอ้ ผลการดาเนนิ งานและการตดิ ตามสมุ่ ประเมนิ ศักยภาพครอบครวั ในการจดั การสขุ ภาพตนเองตามเกณฑ์ ตัวชี้วดั รอ้ ยละของครอบครวั ท่มี ีศกั ยภาพในการดูแลสขุ ภาพตนเองได้ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด (อยา่ งน้อยร้อยละ 75) สถานการณ์ ด้วยรัฐบาลมีนโยบายด้านสาธารณสุข ในการพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจาบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีดิจิตอล และการส่ือสารทาง การแพทย์ พรอ้ มท้ังเพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบการบริการสาธารณสุขในชุมชนผ่านการพัฒนาระบบการแพทย์ ทางไกลควบคู่ไป กับการเพิ่มบทบาทของ อสม. เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพ่ึงตนเองได้ และสามารถลด ความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได้ โดยในปีงบประมาณ 2563 ที่ผ่านมากระทรวง สาธารณสุขได้ดาเนินการพัฒนาศักยภาพและยกระดับ อสม. ให้เป็น อสม.หมอประจาบ้าน จานวน 167,975 คน ครอบคลมุ ทกุ หม่บู า้ น/ชมุ ชนทัว่ ประเทศ เพอื่ ดแู ลสุขภาพผู้ปุวยและคนในชุมชนใหม้ ีสุขภาพและ คณุ ภาพชวี ิตท่ีดี ปีงบประมาณ 2565 กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชนในฐานะหน่วยงานที่มีบทบาทสาคัญ ในการ ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และชุมชนมีศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองได้ อย่าง ยั่งยืน โดยให้ความสาคัญในการส่งเสริม พัฒนาศักยภาพ อสม. และระบบกลไก อสม. ในการเสริมสร้างการ ดูแล สุขภาพคนในชุมชนอย่างเข้มแข็ง ให้สามารถทางานเช่ือมโยงกับหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ และภาคี เครือข่าย หนุนเสริมการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็น สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้านสนับสนุนนโยบายคนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจาตัว 3 คน ขึ้นมา เพ่ือพัฒนาและยกระดับ อสม. ให้เป็น อสม. หมอประจาบ้านเพ่ิมขึ้นอีกหมู่บ้าน/ชุมชนละ 1 คน ครอบคลุมทุก หมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ เพื่อเพ่ิมกาลังคนหมอคนท่ี 1 ในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน และพัฒนาระบบ เฝูา ระวัง ปูองกันโรคและภัยคุกคามด้านสุขภาพ และทาหน้าท่ีเป็นพี่เลี้ยง อาสาสมัครประจาครอบครัว (อสค.) ในการดูแลผู้ปุวยกลุ่มเปูาหมายในครอบครัวเพ่ือให้ประชาชนในชุมชน และครอบครัวเปูาหมายมีการจัดการ สุขภาพ นาไปส่สู ขุ ภาพและคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ~ 31 ~
ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 โดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพได้รับ มอบหมายให้ขับเคล่ือนภารกิจสุขภาพภาคประชาชนในพ้ืนท่ีเขตสุขภาพที่ 5 ในการพัฒนาและยกระดับความรู้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจาบ้านร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ตามหลักสูตรการพัฒนา อสม. หมอประจาบ้านเพื่อเพิ่มสมรรถนะ สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ให้ สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยเฉพาะแอปพลิเคช่ันสมาร์ท อสม.ในการปฏิบัติ และสามารถทาหน้าที่ให้บริการ สาธารณสุขเพ่ือให้ประชาชนเข้าถึงการดูแลสุขภาพได้แก่ การสร้างและพัฒนา อสค. ให้เป็นแกนนาในการดูแล สุขภาพครอบครัว ส่งเสริม สนับสนุน อสค. ในการดูแลผู้ปุวยกลุ่มเปูาหมาย 607 ให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีต่อไป รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี ตารางที่ 5 แสดงเปาู หมายการดาเนนิ งานตามภารกิจสขุ ภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2565 อสม.หมอประจา้ บา้ น อาสาสมคั รประจ้าครอบครวั เป้าหมาย จงั หวดั (อสค.) ผปู้ ว่ ยกลุ่มเปา้ หมาย กาญจนบรุ ี ผลงาน อสม. เป้าหมาย อสม.หมอ ผลงาน อสค เป้าหมาย อสค. ได้รบั การดูแลฯ นครปฐม ประจวบคีรขี นั ธ์ หมอประจ้า ประจา้ บา้ น ปี 2559-2564 ปี 2565 (หมู่บ้านละ 7 คน) เพชรบรุ ี ราชบรุ ี บา้ น ปี 2565 (หมูบ่ า้ นละ 7 สมทุ รสงคราม สมุทรสาคร ปี 2564 (หมู่บ้านละ 1 คน) คน) สุพรรณบุรี รวมเขต 5 1,012 959 35,536 6,713 6,713 1,014 930 26,032 6,510 6,510 512 435 16,577 3,045 3,045 707 698 17,776 4,886 4,886 1,116 978 25,486 6,846 6,846 313 284 9,494 1,988 1,988 293 290 9,921 2,030 2,030 1,141 1,008 20,037 7,056 7,056 6,008 5,582 160,859 39,074 39,074 กระบวนการดา้ เนินงาน 1. ศนู ย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 โดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพเข้าร่วม พฒั นาครฝู กึ สมารท์ อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ผา่ นระบบออนไลน์และถา่ ยทอดนโยบายสกู่ ารปฏิบัตติ ่อไป 2. สนับสนุนงบประมาณและลงพ้ืนที่จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็น สมาร์ท อสม. และ อสม.หมอประจาบ้านในพื้นท่ีเขตสุขภาพที่ 5 จานวน 2 ระยะ คร้ังที่ 1 ในช่วงวันท่ี 17-24 มกราคม 2565 ประกอบด้วยจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดนครปฐม และ ~ 32 ~
จงั หวัดกาญจนบรุ ี ตามบนั ทึกขอ้ ความท่ี น.11/65 ลงวันที่ 7 มกราคม 2565 เรื่องขออนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรม ที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็นสมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ระดับเขต สขุ ภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 ร่วมกบั สานกั งานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อให้หมอประจาบ้านไปส่งเสริม ถ่ายทอด องค์ความรู้ตามแนวทางท่ีกระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้กับ อสค. เพื่อทาหน้าท่ีดูแลและจัดการสุขภาพ กลุม่ เปาู หมายในครอบครวั ระยะที่ 2 ในระหว่างวันที่ 31 มกราคม 2565 - 4 กุมภาพันธ์ ๒๕๖5 ตามบันทึกข้อความท่ี น.48/65 ลงวันที่ 21 มกราคม 2565 เรื่องขออนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรมท่ี 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. สูก่ ารเป็นสมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ระดับเขตสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 ร่วมกับสานักงาน สาธารณสุขจงั หวัดประกอบดว้ ย 3 จังหวดั ได้แก่ สมทุ รสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบรุ ี 3. ลงพ้ืนท่ีประชุมส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ (Sand Box) โดยใช้กลไก 3 หมอในการ ขับเคลื่อนสู่ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 จานวน 2 ระยะ คร้ังท่ี 1 ในระหว่างวันท่ี 15-18 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ประกอบดว้ ย 3 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั ราชบรุ ี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม คร้ัง ท่ี 2 ในระหว่างวันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2565 บันทึกข้อความที่ น.49/2565 ลงวันท่ี 21 มกราคม 2565 เร่ืองขอ อนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรมท่ี 4 ลงพ้ืนท่ีประชุมส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบ (Sand Box) โดยใช้ กลไก 3 หมอในการขับเคล่ือนสู่ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ระดับเขตสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมทุ รสงคราม และจงั หวดั เพชรบุรี เพ่ือส่งเสริมและสนับสนนุ กลไกการดาเนินงานในพ้ืนทสี่ ่กู ารปฏิบตั ิ 4. ตดิ ตามความกา้ วหน้า และประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานในพน้ื ที่ตน้ แบบโดยประชุมติดตาม ประเมิน เยี่ยม เสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและพฤติกรรมสุขภาพ ระดับเขตสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือลงพื้นท่ีสุ่มประเมินศักยภาพครอบครัวกลุ่มเปูาหมายในพื้นที่ ตามบันทึกข้อความท่ี น.577/2565 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2565 และบนั ทกึ ข้อความท่ี น.578/2565 ลงวันท่ี 8 กรกฎาคม 2565 เรื่องขอ อนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรมท่ี 6 เพ่ือลงพื้นท่ีประชุมติดตาม ประเมิน เย่ียมเสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาค ประชาชนและพฤตกิ รรมสุขภาพ ระดบั เขตสขุ ภาพที่ 5 ปงี บประมาณ 2565 5. สรุปผลการดาเนินงานโดยการประชุมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสค. และรายงานผลการปฏิบัติงาน สุขภาพภาคประชาชนระดับเขตสุขภาพท่ี 5 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนากลไกการขับเคล่ือนการ ดาเนนิ งานพฒั นาศักยภาพ อสค. และรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านสุขภาพภาคประชาชนและหารือแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในการขับเคล่ือนงานผ่านกลไกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ในระหว่างวันที่ 25-26 กรกฎาคม 2565 ~ 33 ~
ผลการดา้ เนนิ งาน ผลการพัฒนาศกั ยภาพอาสาสมัครประจาครอบครัวในพ้ืนที่เขตสุขภาพท่ี 5 โดยการคัดเลือกสมาชิกคนใด คนหน่ึงของแต่ละครอบครัวท่ีได้รับการคัดเลือก และได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ตามแนวทางท่ีกระทรวง สาธารณสุขกาหนดเพื่อทาหน้าท่ีดูแลและจัดการสุขภาพกลุ่มเปูาหมายในครอบครัว ซึ่งเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ทาการประเมินด้วยตนเอง (Self-Assessment) แล้วบันทึกข้อมูล บนฐานข้อมลู อาสาสมัครประจาครอบครัว หรือ www.thaiphc.net เขตสุขภาพท่ี 5 มีเปูาหมายการพัฒนา อสค. จานวน 39,074 คน ผลการดาเนนิ งาน 38,053 คน คดิ เป็นผลงานร้อยละ 97.39 ขอ้ มูล ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2565 รายละเอยี ดตามตารางที่ 7 ผลการประเมินครอบครัวท่ีมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ซ่ึงมีเกณฑ์การประเมินที่ ร้อยละ 75 กลมุ่ สุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 ดาเนินการสุ่มประเมิน แบบจาเพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ในพื้นท่ีต้นแบบ Sand Box ระดับจังหวัด จานวน 8 จังหวัดในพื้นท่ี เขตสขุ ภาพท่ี 5 ประกอบดว้ ย 1) ตาบลจระเข้เผือก จังหวัดกาญจนบุรี 2) ตาบลไทรปุา จังหวัดนครปฐม 3) ตาบล ห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4) ตาบลยางน้ากลัดใต้ จังหวัดเพชรบุรี 5) ตาบลเบิกไพร จังหวัดราชบุรี 6) ตาบลบางย่ีรงค์ จังหวัดสมุทรสงคราม 7) ตาบลบางยาง จังหวัดสมุทรสาคร และ 8) ตาบลหนองสาหร่าย จังหวัดสุพรรณบุรี ผลการลงพ้ืนที่สุ่มประเมิน พบว่า ครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองในพ้ืนท่ีเขต สุขภาพท่ี 5 ไดร้ อ้ ยละ 99.83 รายละเอยี ดตามตารางท่ี 7 ปัจจัยแห่งความสาเร็จในพื้นท่ีเขตสุขภาพที่ 5 เน่ืองด้วยกลุ่มเปูาหมายได้รับการช้ีแจงและถ่ายทอด นโยบายแนวทางการขับเคลื่อนงานพร้อมท้ังตัวชี้วัดและการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน และร่วมออกแบบ กิจกรรมในการขับเคลื่อนการดาเนินงานและบูรณางานในระดับพ้ืนที่โดยเฉพาะพ้ืนที่ต้นแบบ Sand Box โดยใช้ กลไก 3 หมอในการขับเคลือ่ นงานทาให้สามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนินงานและตัวชี้วดั ได้สาเรจ็ ~ 34 ~
ตารางที่ 6 แสดงผลการพัฒนาศกั ยภาพ อสม. หมอประจ้าบา้ น และ อสค. ปงี บประมาณ 2565 ผลการประเมินโดยเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัคร ครอบครัว (อสค.) ประเมินด้วยตนเอง (Self-Assessment) แล้วบันทึกข้อมูลบนฐานข้อมูลอาสาสมัครประจา ครอบครัว หรอื www.thaiphc.net อสม.หมอประจา้ บา้ น อาสาสมคั รประจ้าครอบครวั (อสค.) จังหวดั เป้าหมาย อสม.หมอ ผลงาน อสม. หมอ เป้าหมาย อสค. ผลงาน อสค. ประจ้าบ้าน ปี 2565 ประจ้าบ้าน ปี ปี 2565 ปี 2565 (หม่บู ้านละ 1 คน) 2565 (หมบู่ ้านละ 7 คน) กาญจนบุรี 959 959 6,713 6,928 นครปฐม 930 930 6,510 6,473 ประจวบคีรีขนั ธ์ 435 435 3,045 3,049 เพชรบรุ ี 698 698 4,886 2,458 ราชบรุ ี 978 978 6,846 6,848 สมทุ รสงคราม 284 284 1,988 2,060 สมทุ รสาคร 290 290 2,030 2,030 สุพรรณบรุ ี 1,008 1,008 7,056 8,207 รวมเขต 5 5,582 5,582 39,074 38,053 ขอ้ มลู จาก: https://fv.phc.hss.moph.go.th/ ณ วนั ที่ 5 สงิ หาคม 2565 ~ 35 ~
ตารางที่ 7 ร้อยละของครอบครัวทม่ี ศี กั ยภาพในการดแู ลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑท์ ก่ี า้ หนด ผลการประเมินโดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์สนับสนุนบริการ สุขภาพท่ี 5 สุ่มประเมินแบบจาเพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ในพ้ืนที่ต้นแบบ Sand Box (ใช้กลไก 3 หมอ) ระดบั จงั หวดั ในพื้นท่ีเขตสขุ ภาพท่ี 5 อาสาสมัครประจา้ ครอบครวั (อสค.) จังหวดั ตา้ บตน้ แบบ จ้านวนครอบครวั จา้ นวนครอบครัวที่ จา้ นวน อสค. รอ้ ยละของครอบครัวท่ี Sand Box ท่ีได้รบั การ ผา่ นการประเมิน ท้งั หมด ผา่ นการประเมนิ ประเมนิ (หม่บู า้ นละ 7 คน) กาญจนบุรี จระเขเ้ ผอื ก 84 84 84 100 นครปฐม ไทรปุา 70 69 70 98.57 ประจวบฯ หว้ ยยาง 91 91 91 100 เพชรบุรี ยางน้ากลัดใต้ 49 49 49 100 ราชบุรี เบิกไพร 84 84 84 100 สมุทรสงคราม บางยี่รงค์ 70 70 70 100 สมุทรสาคร บางยาง 91 91 91 100 สุพรรณบุรี หนองสาหรา่ ย 70 68 70 97.14 รวมเขต 5 609 606 609 99.83 ข้อมูลจาก: แบบประเมนิ ครอบครวั เปา้ หมายมศี กั ยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองไดต้ ามเกณฑ์ทก่ี า้ หนด ขอ้ เสนอแนะต่อพ้นื ที่ 1. บูรณางานและงบประมาณจากทุกภาคส่วนเพื่อให้การขับเคลื่อนการดาเนินงานในระดับพ้ืนที่เกิดประโยชน์ สูงสุดและไมเ่ ป็นการเพม่ิ ภาระงาน 2. กาหนด Timeline การปฏบิ ัติงานใหช้ ดั เจนมากยิ่งขึ้นเพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลุตามแผนงานท่ีกาหนดและเกิด ประสิทธผิ ลและประสิทธิภาพตามแผนที่กาหนด 3. วเิ คราะห์ และพฒั นารปู แบบการดาเนินงานเพื่อใหก้ ระบวนการออกแบบกจิ กรรมมปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ขนึ้ 4. เผยแพร่ผลงานและถา่ ยทอดกระบวนการให้กับพ้ืนท่ีอนื่ ๆ ตอ่ ไปในระดบั พ้นื ที่ ข้อเสนอแนะตอ่ ส่วนกลาง 1. สนบั สนุนงบประมาณให้เพียงพอตามภารกจิ 2. เสริมสร้างแรงจูงใจใหก้ ับระดับพ้นื ท่ผี า่ นเวทีเชิดชเู กยี รติในระดบั กระทรวงสาธารณสขุ 3. ผลกั ดันภารกจิ สขุ ภาพภาคประชาชนใหเ้ ป็นนโยบายในระดับประเทศ 4. บรู ณางานในระดบั กรมของกระทรวงสาธารณสุขหรอื หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้องเพอ่ื ลดภาระงานในระดบั พ้นื ท่ี ~ 36 ~
หวั ขอ้ ผลการดาเนินงานและการติดตามผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. หมอประจาบา้ น ตวั ช้ีวัด 1. รอ้ ยละของ อสม. กลุม่ เปาู หมายมศี ักยภาพในการปฏิบตั ิงานตามภารกจิ หมอคนที่ 1 (อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 75) 2. ร้อยละของผปู้ ุวยกลุ่มเปูาหมายท่ไี ด้รับการดแู ลจาก อสม. หมอประจาบ้านมีคณุ ภาพท่ีดี (อย่างน้อยรอ้ ยละ 75 ข้ึนไป) สถานการณ์ ด้วยรัฐบาลมีนโยบายด้านสาธารณสุข ในการพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจาบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีดิจิตอล และการส่ือสารทาง การแพทย์ พร้อมทัง้ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบการบริการสาธารณสุขในชุมชนผ่านการพัฒนาระบบการแพทย์ ทางไกลควบคู่ไป กับการเพิ่มบทบาทของ อสม. เพ่ือลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ และสามารถ ลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได้ โดยในปีงบประมาณ 2563-2564 ท่ีผ่านมา กระทรวงสาธารณสขุ ไดด้ าเนนิ การพฒั นาศกั ยภาพและยกระดับ อสม. ใหเ้ ป็น อสม.หมอประจาบ้าน ครอบคลุมทุก หมู่บา้ น/ชมุ ชนทว่ั ประเทศ เพ่ือดูแลสุขภาพผ้ปู วุ ยและคนในชมุ ชนให้มสี ขุ ภาพและ คุณภาพชีวิตทด่ี ี ปีงบประมาณ 2565 กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชนในฐานะหน่วยงานท่ีมีบทบาทสาคัญในการ ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และชุมชนมีศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองได้ อย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญในการส่งเสริม พัฒนาศักยภาพ อสม. และระบบกลไก อสม. ในการเสริมสร้างการ ดูแลสุขภาพคนในชุมชนอย่างเข้มแข็ง ให้สามารถทางานเช่ือมโยงกับหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ และภาคี เครือข่าย หนุนเสริมการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็น สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบา้ นสนับสนุนนโยบายคนไทยทกุ ครอบครัวมหี มอประจาตัว 3 คน ขึ้นมา เพื่อ พัฒนาและยกระดับ อสม. ให้เป็น อสม. หมอประจาบ้านเพ่ิมขึ้นอีกหมู่บ้าน/ชุมชนละ 1 คน ครอบคลุมทุก หมบู่ า้ น/ชมุ ชนท่ัวประเทศ เพือ่ เพ่มิ กาลงั คนหมอคนที่ 1 ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 โดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพได้รับ มอบหมายให้ขับเคลื่อนภารกิจสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 5 ในการพัฒนาและยกระดับความรู้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม.หมอประจาบ้านร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ตามหลักสูตรการพัฒนา อสม. หมอประจาบ้านเพ่ือเพิ่มสมรรถนะ สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ใหส้ ามารถดแู ลสุขภาพของคนในชุมชน และพัฒนาระบบเฝูา ระวัง ปูองกันโรคและภัยคุกคามด้านสุขภาพและทา หน้าที่เป็นพ่ีเลี้ยง อาสาสมัครประจาครอบครัว (อสค.) ในการดูแลผู้ปุวยกลุ่มเปูาหมายในครอบครัวเพื่อให้ ประชาชนในชมุ ชน และครอบครัวเปาู หมายมีการจดั การสขุ ภาพ นาไปสู่สุขภาพและคุณภาพชวี ติ ทดี่ ี ~ 37 ~
กระบวนการดาเนินงาน ตารางที่ 8 แสดงเกณฑก์ ารประเมินผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. หมอประจาบ้าน เพื่อสนับสนุนนโยบายคนไทย ทกุ ครอบครวั มหี มอประจาตัว 3 คน รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น 1. มีหลักสตู รในการอบรมที่ 1. มฐี านขอ้ มลู อสม. หมอ อสม. หมอประจาบา้ น อสม. หมอประจาบ้าน ไดร้ บั การปรบั ปรุง/พัฒนา ประจาบา้ น ปงี บประมาณ ร่วมกบั อสค. ดแู ล ร่วมกับ อสค. ดแู ลผู้ปวุ ย 2565 ในเว็บไซต์ ผู้ปวุ ยกล่มุ เปูาหมายให้ กลุ่มเปาู หมายใหม้ ี 2. มคี ่มู ือ และสือ่ ความรู้ท่ีได้รับ www.thaiphc.net มีคุณภาพชีวิตท่ดี ี คณุ ภาพชวี ิตที่ดี การปรับปรุง/พัฒนา อย่างน้อยรอ้ ยละ 10 อย่างน้อยรอ้ ยละ 75 2. มี อสม. ทไ่ี ดร้ บั การยกระดบั 3. มีเคร่ืองมอื ที่ใช้ในการ เปน็ อสม. หมอประจาบ้าน ประเมิน ได้รับการพัฒนา จานวน 5,582 คน 4. มีแนวทางการดาเนินงาน สาหรบั ผรู้ บั ผิดชอบงาน สุขภาพภาคประชาชน 5. มกี ารถา่ ยทอดแนวทาง สู่การปฏบิ ัติ 1. ศนู ย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 โดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพเข้าร่วม พัฒนาครฝู ึก สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบา้ น ผ่านระบบออนไลน์และถา่ ยทอดนโยบายสูก่ ารปฏบิ ัตติ อ่ ไป 2. สนับสนุนงบประมาณและลงพ้ืนที่จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็น สมาร์ท อสม. และ อสม.หมอประจาบ้านในพื้นท่ีเขตสุขภาพที่ 5 จานวน 2 ระยะ ครั้งที่ 1 ในช่วงวันที่ 17-24 มกราคม 2565 ประกอบด้วยจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดนครปฐม และ จังหวัดกาญจนบรุ ี ตามบนั ทึกขอ้ ความท่ี น.11/65 ลงวันท่ี 7 มกราคม 2565 เร่ืองขออนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรม ท่ี 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็นสมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ระดับเขต สขุ ภาพท่ี 5 ปงี บประมาณ 2565 ร่วมกับสานกั งานสาธารณสุขจังหวัด เพ่ือให้หมอประจาบ้านไปส่งเสริม ถ่ายทอด องค์ความรู้ตามแนวทางท่ีกระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้กับ อสค. เพ่ือทาหน้าที่ดูแลและจัดการสุขภาพ กลุ่มเปาู หมายในครอบครวั ระยะท่ี 2 ในระหว่างวันที่ 31 มกราคม 2565-4 กมุ ภาพันธ์ 2565 ตามบันทึกข้อความที่ น.48/65 ลงวันที่ 21 มกราคม 2565 เรอ่ื งขออนมุ ตั ดิ าเนินการจดั กจิ กรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม.สู่การเป็น ~ 38 ~
สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ระดับเขตสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 ร่วมกับสานักงาน สาธารณสุขจังหวดั ประกอบด้วย 3 จังหวดั ได้แก่ สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม และเพชรบุรี 3. ลงพ้ืนท่ีประชุมส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ (Sand Box) โดยใช้กลไก 3 หมอในการ ขับเคล่ือนสู่ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ระดับเขตสุขภาพที่ 5 จานวน 2 ระยะ ครั้งที่ 1 ในระหว่างวันที่ 15-18 กุมภาพันธ์ 2565 ประกอบด้วย 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดราชบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม ครัง้ ที่ 2 ในระหวา่ งวันที่ 21-25 กมุ ภาพันธ์ 2565 บันทึกข้อความที่ น.49/2565 ลงวันที่ 21 มกราคม 2565 เร่ือง ขออนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรมท่ี 4 ลงพ้ืนท่ีประชุมส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบ (Sand Box) โดย ใช้กลไก 3 หมอในการขับเคลื่อนสู่ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และจงั หวดั เพชรบรุ ี เพ่อื สง่ เสรมิ และสนับสนนุ กลไกการดาเนินงานในพน้ื ทีส่ ่กู ารปฏบิ ตั ิ 4. ลงพ้ืนท่ีประชุมติดตาม ประเมิน เย่ียมเสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและพฤติกรรม สุขภาพ ระดับเขตสขุ ภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 บันทึกข้อความที่ น.945/64 ลงวันท่ี 24 ธันวาคม 2564 เรื่อง ขออนุมัติเดินทางไปราชการประชุมติดตาม ประเมิน เยี่ยมเสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและ พฤติกรรมสุขภาพ ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 ประกอบด้วย 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม ในระหว่างวันท่ี 28-30 ธันวาคม 2564 และบันทึก ขอ้ ความที่ น.60/65 ลงวันท่ี 24 มกราคม 2565 เร่ืองขออนุมัติเดินทางไปราชการประชุมติดตาม ประเมิน เยี่ยม เสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและพฤติกรรมสุขภาพ ระดับเขตสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 ประกอบด้วย 5 จังหวัด ได้แก่ จงั หวัดสมุทรสาคร จงั หวัดสมุทรสงคราม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรีและ จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ในระหว่างวันที่ 7-11 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 5. สรปุ ผลการดาเนินงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนากลไกการขับเคล่ือนการดาเนินงานพัฒนา ศักยภาพ อสค. และรายงานผลการปฏิบัติงานสุขภาพภาคประชาชนและหารือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการขับเคล่ือน งานผ่านกลไกชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน ในระหว่างวนั ที่ 25-26 กรกฎาคม 2565 ผลการด้าเนนิ งาน ผลการประเมินอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มเปูาหมายมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน ตามภารกิจหมอคนท่ี 1 ในพื้นท่ีเขตสุขภาพที่ 5 ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคี รีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และสุพรรณบุรี มีเปูาหมายการประเมิน จานวน 5,582 คน ผลการ ประเมินพบว่า อสม. มีศักยภาพในการปฏิบัติงานตามภารกิจหมอคนท่ี 1 จานวน 5,583 คน คิดเป็น ร้อยละ 100.02 รายละเอียดตามตารางท่ี 9 ~ 39 ~
ผลการประเมินผู้ปุวยกลุ่มเปูาหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจาบ้านมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ประกอบด้วยผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ผู้ปุวย 7 กลุ่มโรค กลุ่มเสี่ยงหรือผู้ปุวยโควิดท่ีกักตัวท่ี HQ/HI ในพ้ืนท่ีเขต สุขภาพท่ี 5 ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสง คราม สมุทรสาคร และสุพรรณบุรี มีผู้ปุวยกลุ่มเปูาหมาย จานวน 43,453 คน ผลการประเมินคุณภาพชีวิตที่ดี พบว่า รอ้ ยละ 98.19 ของผ้ปู ุวยที่ไดร้ บั การประเมินมคี ุณภาพชีวิตทีด่ ตี ามเกณฑ์ท่ีกาหนด รายละเอียดตามตารางที่ 10 ตารางท่ี 9 แสดงผลของ อสม. กลมุ่ เปาู หมายมศี กั ยภาพในการปฏิบัตงิ านตามภารกจิ หมอคนท่ี 1 อสม.หมอประจ้าบ้าน อสม.มีศกั ยภาพตามเกณฑท์ ก่ี า้ หนด เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ จังหวัด เป้าหมาย อสม. ผลงาน อสม. ร้อยละ (อย่างนอ้ ย หมอประจา้ บา้ น หมอประจา้ ร้อยละ 75) ปี 2565 บ้าน ปี 2565 959 959 100.00 930 934 100.43 (หมู่บ้านละ 1 435 467 107.36 698 667 95.56 คน) 978 977 99.90 284 301 105.99 กาญจนบุรี 959 959 100.00 290 292 100.69 1,008 986 97.82 นครปฐม 930 934 100.43 5,582 5,583 100.02 ประจวบครี ขี นั ธ์ 435 467 107.36 เพชรบรุ ี 698 667 95.56 ราชบรุ ี 978 977 99.90 สมทุ รสงคราม 284 301 105.99 สมทุ รสาคร 290 292 100.69 สุพรรณบุรี 1,008 986 97.82 รวมเขต 5 5,582 5,583 100.02 ข้อมูลจาก: https://www.thaiphc.net ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2565 ~ 40 ~
ตารางที่ 10 ผู้ปุวยกลุม่ เปูาหมายทีไ่ ด้รับการดแู ลจาก อสม. หมอประจาบ้านมีคณุ ภาพที่ดี ผู้ปว่ ยกลมุ่ เป้าหมายมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี จังหวดั ผู้สงู อายุ 60 ขน้ึ ไป ผปู้ ว่ ย 7 กลมุ่ โรค กลุ่มเสย่ี งหรอื ป่วยโค รวม วดิ ที่กกั ตวั (HQ/HI) เปา้ หมาย ผลงาน เปา้ หมาย ผลงาน เปา้ หมาย ผลงาน เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ 95.55 กาญจนบรุ ี 2,782 2,745 3,182 2,927 749 742 6,713 6,414 99.09 98.48 นครปฐม 4,371 4,340 2,012 1,983 339 338 6,722 6,661 99.30 100.00 ประจวบครี ขี ันธ์ 2,119 2,076 1,696 1,671 660 660 4,475 4,407 96.70 99.74 เพชรบรุ ี 8.945 8.894 3.382 3.342 2.033 2.204 14.360 14.260 95.72 98.19 ราชบรุ ี 3,523 3,523 2,529 2,529 657 657 6,709 6,709 สมทุ รสงคราม 1,913 1,813 1,227 1,203 650 649 3,790 3,665 สมุทรสาคร 1,966 1,961 1,351 1,348 837 834 4,154 4,143 สุพรรณบุรี 5,714 5,592 1,288 1,235 514 367 7,516 7,194 รวมเขต 5 31,333 30,944 16,667 16,238 6,439 6,271 54,439 53,453 ขอ้ มูลจาก: https://www.thaiphc.net ณ วันท่ี 5 สิงหาคม 2565 ขอ้ เสนอแนะตอ่ พนื้ ท่ี 1. กาหนด Timeline การปฏบิ ัตงิ านใหช้ ัดเจนมากยิง่ ขึน้ เพ่อื ใหก้ ารดาเนินงานบรรลุตามแผนงานท่ีกาหนดและเกิด ประสทิ ธิผลและประสิทธภิ าพตามแผนที่กาหนด 2. บูรณางานกาหนดเปูาหมายในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ีให้ชัดเจนและใช้กลไก 3 หมอในการขับเคลื่อนงานใน ระดบั พื้นท่ีใหเ้ กิดเป็นรูปธรรมทีช่ ดั เจน 3. มีเกณฑ์คัดเลือกกลุ่มเปูาหมายในการอบรม หมอประจาบ้านที่ชัดเจนไม่ซ้าคนเดิม และเลือกผู้ปุวย กลุม่ เปูาหมายใหค้ รอบคลุมในพน้ื ทม่ี ีระบบตดิ ตามท่ีเปน็ รูปธรรม ขอ้ เสนอแนะต่อสว่ นกลาง 1. สนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอตามภารกิจในการพัฒนาศักยภาพ อสม. หมอประจาบ้านและอาสาสมัคร ประจาครอบครัว (อสค.) เพ่ือให้การอบรมและการติดตามในระดับพื้นที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากย่ิงขึ้น และเป็นไปตามหลกั สตู รการอบรมที่ส่วนกลางกาหนด 2. ร่วมตดิ ตาม ถอดบทเรยี น และประเมินผลในระดับพ้นื ท่ี 3. บูรณางานในระดับกรมของกระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการวางแผนการดาเนินงาน เช่น ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นต้น ~ 41 ~
ผลการดาเนินงานตามตวั ชีว้ ดั 1.3 หวั ขอ้ ผลการดาเนินงานและการติดตามระดับความสาเรจ็ ของการพฒั นา Smart อสม. ตัวชวี้ ดั 1. รอ้ ยละของ อสม. กลมุ่ เปูาหมายลงทะเบยี นแอปพลเิ คชัน “สมาร์ท อสม.” (อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 40) 2. รอ้ ยละผูใ้ ชง้ านแอปพลิเคชนั “สมารท์ อสม.” ในการปฏิบัตงิ าน (อย่างนอ้ ยร้อยละ 50) สถานการณ์ ตามท่ีรัฐบาลได้กาหนดนโยบายหลักข้อท่ี 9 พัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม ข้อย่อย ที่ 9.3 พัฒนาและยกระดบั ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็นหมอประจาบ้าน ควบคู่กับ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ เร่งพัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีมีคุณภาพให้ทั่วถึงและครอบคลุม ประชากรทุกภาคส่วน ลดความเหล่ือมล้าของคุณภาพการบริการในแต่ละระบบ พร้อมทั้งเพ่ิมประสิทธิภาพระบบ การบริการสาธารณสุขในชุมชน ผ่านการพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลควบคู่ไปกับการเพิ่มบทบาทของ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน และการยกระดับคุณภาพการบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เพือ่ ให้ประชาชนในทกุ ครวั เรอื นทุกพน้ื ท่ี โดยเฉพาะผ้สู ูงอายุท่ีอยูใ่ นชุมชนสามารถเขา้ ถงึ บริการสาธารณสุขได้อย่าง ทว่ั ถึงและรวดเรว็ กระทรวงสาธารณสุข โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กาหนดนโยบายการดาเนินงานกระทรวง สาธารณสุขประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพ่ือสอดรับการดาเนินงานด้านสาธารณสุขของรัฐบาล ในการ ขับเคลือ่ นและพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ สาธารณสขุ สร้างชาติ ฟนื้ ฟูเศรษฐกิจ สาธารณสุขวิถีชีวิตใหม่ทีดีกว่าเดิม พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแพทย์ปฐมภูมิ ด้วย 3 หมอ (อสม. หมอประจาบ้าน หมออนามัย และหมอ ครอบครัว)และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดทิศทางการพัฒนาสู่ระบบสุขภ าพท่ีเข้มแข็ง สนับสนุน ดูแล และเพ่ิมศักยภาพ อสม. เป็นหมอคนที่ 1 ในนโยบาย 3 หมอ สู่การเป็น อสม. วิทยาศาสตร์ การแพทย์ชุมชน และเพื่อเป็นการถ่ายระดับตามนโยบายในปีงบประมาณ 2565 ปลัดกระทรวงสาธารณสุขจึงได้ กาหนดนโยบายมงุ่ เน้นยกระดับระบบสขุ ภาพปฐมภมู เิ ขม้ แขง็ ประชาชนคนไทย มีหมอประจาตัว 3 คน ~ 42 ~
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นานโยบายมาขับเคล่ือนและกาหนดนโยบายเพื่อให้การดาเนินงานมีความ สอด รับการถ่ายระดับตามนโยบาย เพ่ือการดาเนินงานมีเปูาหมายและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ภายใต้การ ขับเคลื่อน งานตามภารกิจกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพ่ือตอบสนองนโยบายกระทรวงตามภารกิจงานสุขภาพ ภาค ประชาชนและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมสนบัสนุนบริการสุขภาพในยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและยกระดับ การ จดั การสุขภาพภาคประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและเครือข่าย และเปูาหมายการให้บริการกรม สนับสนุนบริการสุขภาพ ที่มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ.2560-2579) ภายใต้ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ โครงการพัฒนาเครือข่ายกาลังคนด้านสุขภาพ และ อสม กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กาหนดยุทธศาสตร์ ในการดาเนินงานให้ สอดคล้องกับนโยบายและทิศทางการพัฒนาสู่ระบบสุขภาพท่ีเข้มแข็ง ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 พัฒนาเครือข่ายกาลังคนมีความรู้ เข้าถึงข้อมูล ตัดสินใจและปฏิบัติได้ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบสุขภาพ ชุมชนเชื่อมโยงเครือข่ายปฐมภูมิ (พชอ./PCC) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนา วิชาการ และนวัตกรรมสาธารณสุขมูลฐาน และสุขภาพภาคประชาชน และยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหาร จัดการงานสขุ ภาพภาคประชาชน ดว้ ย เทคโนโลยีดิจทิ ัล และมภี ารกิจหลกั ในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคี เครอื ข่ายให้เกิดการจดั การระบบ สุขภาพชมุ ชนนาไปสูก่ ารพึ่งตนเองทางดา้ นสขุ ภาพของประชาชน ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5 โดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพได้รับ มอบหมายให้ขับเคล่ือนภารกิจสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 5 ในการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริม สนับสนุนให้ อสม. มีทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ให้สามารถใช้งานแอปพลิเคชัน “สมาร์ท อสม.” เพ่ือเป็น เครื่องมือในการปฏิบัติงาน และจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เสริมสร้างแรงจูงใจ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การใช้งานแอปพลิเคชัน “สมาร์ท อสม.” รวมไปถึงเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การ ลงทะเบียนและการใชง้ านแอปพลิเคชนั “สมาร์ท อสม.” กระบวนการดาเนนิ งาน 1. ศนู ยส์ นับสนุนบริการสุขภาพท่ี 5 โดยกลุ่มสุขภาพภาคประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพเข้าร่วม พัฒนาครูฝึก สมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ผ่านระบบออนไลน์และถา่ ยทอดนโยบายสกู่ ารปฏบิ ัตติ ่อไป 2. สนับสนุนงบประมาณและลงพ้ืนที่จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็น สมาร์ท อสม. และ อสม.หมอประจาบ้านในพ้ืนท่ีเขตสุขภาพท่ี 5 จานวน 2 ระยะ คร้ังท่ี 1 ในช่วงวันที่ 17-24 มกราคม 2565 ประกอบด้วยจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดนครปฐม และ จงั หวดั กาญจนบรุ ี ตามบนั ทึกขอ้ ความท่ี น.11/65 ลงวันท่ี 7 มกราคม 2565 เรื่องขออนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรม ท่ี 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็นสมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ระดับเขต สขุ ภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2565 รว่ มกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด เพ่ือให้หมอประจาบ้านไปส่งเสริม ถ่ายทอด ~ 43 ~
องค์ความรู้ตามแนวทางท่ีกระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้กับ อสค. เพื่อทาหน้าท่ีดูแลและจัดการสุขภาพ กลมุ่ เปูาหมายในครอบครวั ระยะที่ 2 ในระหวา่ งวนั ท่ี 31 มกราคม 2565-4 กุมภาพันธ์ 2565 ตามบันทกึ ขอ้ ความที่ น.48/65 ลงวันที่ 21 มกราคม 2565 เรื่องขออนุมัติดาเนินการจัดกิจกรรมท่ี 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การ เป็นสมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ปีงบประมาณ 2565 ร่วมกับสานักงาน สาธารณสุขจังหวัดประกอบด้วย 3 จังหวดั ได้แก่ สมุทรสาคร สมทุ รสงคราม และเพชรบรุ ี 3. ลงพ้ืนท่ีติดตาม ประเมิน เยี่ยมเสริมพลังการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนและพฤติกรรมสุขภาพ ระดับเขตสุขภาพท่ี 5 ณ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดในพ้ืนท่ีเขตสุขภาพท่ี 5 ทั้ง 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามบันทึกข้อความที่ น.372/65 ลงวันที่ 25 เมษายน 2565 และมีบันทึกข้อความท่ี น.373/65 ลงวนั ท่ี 25 เมษายน 2565 เรอื่ งขออนมุ ตั ิเดินทางไปราชการ 4.ประชุมติดตามผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดงานสุขภาพภาคประชาชนและพฤติกรรมสุขภาพ และหารือแนวทางการขับเคลื่อนงาน ปีงบประมาณ 2565 ในวันที่ 8 มิถุนายน 2565 ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting โดยมีวัตถุประสงค์การจัดประชุมเพ่ือรายงานผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดงานสุขภาพภาคประชาชน และพฤติกรรมสุขภาพและหารือแนวทางการขับเคลื่อนงานตามประเด็นตัวชี้วัด รวมถึงประเด็นตัวช้ีวัดท่ี 1.5 ระดับความสาเรจ็ ของการพัฒนา Smart อสม. และดาเนินการติดตามการลงทะเบียนและการใช้งานแอปพลิเคชัน “สมาร์ท อสม.” โดยการจัดทาส่ือประชาสัมพันธ์ (Info graphics) เพ่ือนาเสนอความก้าวหน้าในการดาเนินงาน ตามตัวช้วี ดั ผ่าน Line กลมุ่ ผูร้ ับผดิ ชอบงานสุขภาพภาคประชาขนและพฤติกรรมสุขภาพระดับจังหวัด ในพ้ืนที่เขต สขุ ภาพท่ี 5 5. สรุปผลการดาเนินงานโดยการประชุมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสค. และรายงานผลการปฏิบัติงาน สุขภาพภาคประชาชนระดับเขตสุขภาพที่ 5 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมพัฒนากลไกการขับเคล่ือนการ ดาเนินงานพฒั นาศกั ยภาพ อสค. และรายงานผลการปฏิบตั งิ านสขุ ภาพภาคประชาชนและหารือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการขับเคลื่อนงานผ่านกลไกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ในระหว่างวันท่ี 25-26 กรกฎาคม 2565 ~ 44 ~
ตารางท่ี 11 แสดงเกณฑ์การประเมนิ ผลระดบั ความสาเรจ็ ของการพัฒนา Smart อสม. รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น 1. มคี ่มู ือ และสอ่ื ความรู้ 1. ถ่ายทอดแนวทางการใช้ รอ้ ยละของ อสม. ร้อยละผใู้ ช้งานแอปพลเิ ค 2. มีการแต่งตง้ั คณะทางาน งานแอปพลเิ คชัน “สมารท์ หรอื มอบหมายผู้รับผดิ ชอบ อสม.” ให้ สสจ. และ กลุ่มเปูาหมายลงทะเบยี น ชัน “สมารท์ อสม.” ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ ประธาน อสม. จงั หวดั อสม. ใช้แอปพลเิ คชัน 2.ประชาสัมพันธ์ เยีย่ มเสรมิ แอปพลิเคชัน “สมาร์ท ในการปฏบิ ัติงาน อย่าง “สมารท์ อสม.” พลัง และสง่ เสริมสนบั สนนุ 3. มแี นวทางการดาเนนิ งาน การใชง้ านแอปพลิเคชัน อสม.” อยา่ งน้อยร้อยละ น้อยรอ้ ยละ 50 ของ สาหรบั ผรู้ ับผิดชอบงาน “สมาร์ท อสม.” ในพ้ืนที่ สขุ ภาพภาคประชาชน 40 กลมุ่ เปาู หมายที่ ลงทะเบยี น ผลการด้าเนินงาน ผลจากการติดตามการดาเนินงาน พบว่า แต่ละจังหวัดได้มีการลงพ้ืนท่ีเชิงรุกเพื่อติดตามและ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านในพื้นที่ลงทะเบียนสมัครและใช้งานแอปพลิเคชัน “สมารท์ อสม.” อยา่ งต่อเนอ่ื ง รายละเอียดแสดงตามตารางท่ี 12 และตารางท่ี 13 ตารางที่ 12 ผลการลงทะเบยี นแอปพลเิ คชนั “สมาร์ท อสม.” จาแนกรายจังหวดั ล้าดบั จังหวดั จ้านวน อสม. ในเขต จ้านวนผ้ลู งทะเบียน ร้อยละ รับผดิ ชอบ (คน) ใน App. สมาร์ท อสม. 1. ราชบุรี 45.05 2. กาญจนบุรี 12,114 (คน) 68.04 3. สพุ รรณบรุ ี 13,987 5,457 32.32 4. นครปฐม 15,252 9,517 53.17 5. สมุทรสาคร 10,126 4,930 34.07 6. สมทุ รสงคราม 3,607 5,384 37.43 7. เพชรบรุ ี 2,220 1,229 81.19 8. ประจวบครี ขี ันธ์ 7,789 831 59.07 7,125 6,324 52.45 รวม 72,220 4,209 37,881 ~ 45 ~
ข้อมลู จาก: https://www.thaiphc.net ณ วนั ที่ 5 สิงหาคม 2565 จากตารางท่ี 12 พบว่า ผลการลงทะเบียนแอปพลิเคชัน “สมาร์ท อสม.” ของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บ้าน ในพ้ืนท่ีเขตสุขภาพท่ี 5 มีจังหวัดท่ีมีผลการลงทะเบียนแอปพลิเคชัน \"สมาร์ท อสม.\" ระหว่าง ร้อยละ 30.00-39.99 จานวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดท่ีมีผลการลงทะเบียนแอปพลิเคชัน \"สมาร์ท อสม.\" มากกว่าร้อยละ 40 จานวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และสรุปได้ว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ในพื้นที่เขตสุขภาพท่ี 5 มีการลงทะเบียนแอปพลิเคชัน “สมาร์ท อสม.” จานวน 37,881 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.45 ของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นทง้ั หมดในเขตรับผดิ ชอบ ~ 46 ~
Search