Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore anucha2

anucha2

Published by anucua_kai_11, 2018-05-13 01:16:47

Description: anucha2

Search

Read the Text Version

สายส่งสายอากาศ iLLuSioN [ ] <arabianhorse> [][] [] []

แผนการจัดการเรียนรู้รหสั วิชา2105-2106 ชือ่ วชิ า สายส่งสญั ญาณและสายอากาศ หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พุทธศักราช 2556 ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ จดั ทาโดย ครูอนุชา วิจารณ์ วทิ ยาลัยเทคนคิ ปราจนี บุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา แผนการจัดการเรียนรู้ ฉบับนี้จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้วิชา สายส่งและสายอากาศ ซึ่งเป็นรายวิชาท่ีกาหนดให้เรียน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม แผนการจดั การเรียนรู้ฉบับนี้ มีทงั้ หมด 12 หน่วย กิจกรรมการเรยี นการสอนมหี ลากหลายวธิ ี เช่นการบรรยาย การซักถาม การสาธิต การทากิจกรรมกลมุ่ การสืบค้นขอ้ มูลจากอินเตอรเ์ น็ต การฝึกปฏิบตั ิรายบุคคล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการเรยี นรูแ้ บบมสี ่วนรว่ มของนักเรยี น โดยยึดผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง และในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ไดม้ ีการบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคด์ ้วย ขา้ พเจ้าหวงั ว่า แผนการสอนฉบบั นจ้ี ะเป็นประโยชน์ต่อครูอาจารยผ์ ้สู อนและนาไปสู่การเรยี นรู้ เกดิผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตรงตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู รอย่างแทจ้ รงิ ลงช่ือ (ครูอนชุ า วจิ ารณ์)

สารบญั หนา้ลักษณะรายวิชารายการสอนตารางวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวิชาตารางกาหนดการสอนกรอบแนวทางการจดั การเรยี นรู้และการประเมินผลตามสภาพจรงิกรอบการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผนการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1แผนการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 2แผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 3แผนการเรียนรู้ หน่วยท่ี 4แผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 5แผนการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 6แผนการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 7แผนการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 8แผนการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 9แผนการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 10แผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 11แผนการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 12

ส่วนท่ี 1การวิเคราะหร์ ายวชิ า

ลักษณะรายวชิ ารหสั 2105-2106ชอ่ื วิชา สายสง่ และสายอากาศหน่วยกิต 1 - 3 – 2 เวลาเรียนต่อภาค 72 ชวั่ โมงจดุ ประสงคร์ ายวิชา 1.เขา้ ใจหลกั การทางานของสายสง่ สญั ญาณและสายอากาศ 2. มที กั ษะในการสรา้ ง ตดิ ตงั้ และบารงุ รกั ษาสายส่งสญั ญาณและสายอากาศ 3. มกี จิ นสิ ยั ในการทางานดว้ ยความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ประณตี รอบคอบและปลอดภยัสมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การประยกุ ตใ์ ชง้ านสายสง่ และสายอากาศ 2. ออกแบบและสรา้ งสายส่งสายอากาศ 3. ตดิ ตงั้ และทดสอบสายสง่ และสายอากาศ 4. ตดิ ตงั้ และทดสอบจานรบั สญั ญาณดาวเทยี ม 5. บารงุ รกั ษาสายส่งและสายอากาศคาอธิบายรายวิชา(เดิม) ศกึ ษาและปฏบิ ตั หิ ลกั การของสายส่งสญั ญาณ ชนิดของสายสง่ สญั ญาณ คุณสมบตั ิ โครงสรา้ งค่าพารามเิ ตอรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สายสง่ สญั ญาณ เชน่ อมิ พแี ดนซ์ โหลดกระแสแรงดนั การเดนิ ทางของคล่นื ในสายสง่ มาตรฐานของสายสง่ หลกั การเบอ้ื งตน้ ของสายอากาศ คุณสมบตั แิ ละคาพารามเิ ตอร์ของสายอากาศการแพรก่ ระจายคล่นื วทิ ยใุ นอากาศ Polarization รปู แบบการกระจายคล่นื สายอากาศและชนิดของสายอากาศกบั ยา่ นความถต่ี ่างๆ การสรา้ งสายอากาศแบบต่างๆ สายอากาศย่านVHF/UHF ตดิ ตงั้ และทดสอบวดั คา่ SWR การสรา้ งสตบั บาลนั แมตชง่ิ สายอากาศ การตดิ ตงั้ เสาอากาศ การตดิ ตงั้ จานรบั สญั ญาณดาวเทยี มชนดิ ต่างๆและอุปกรณ์ทจ่ี าเป็นในการตดิ ตงั้

รายการสอน เวลาเรยี น (ชม.) ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวมท่ี รายการสอน 221 1. หลกั การของสายอากาศ 222 2. ชนดิ ของสายอากาศ 223 3. คุณสมบตั ิของสายอากาศ 224 4. คา่ พารามิเตอร์ต่างๆของสายอากาศ 225 5. การแพร่กระจายคลืน่ ของสายอากาศ 226 6. ย่านความถตี่ า่ งๆของสายอากาศ 2 687 7. งานสร้างสายอากาศ 1 348 8. งานวดั ค่า SWR 2 689 9. งานสรา้ งสตบั 2 6810 10. งานแมตชง่ิ สายอากาศ 2 6811 11. งานต้งั เสาอากาศ 5 15 2012 12. งานติดตั้งจานรบั สัญญาณดาวเทยี ม 3 9 1213 สอบปลายภาครวม - 27 45 72

ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู รรหัส 2105-2106 วชิ า สายส่งสายอากาศ หนว่ ยกติ 1 - 3 – 2ชน้ั ปวช. สาขาวชิ า ช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์ พทุ ธิพิสยั พฤติกรรม คะแนนพุทธิพิ ัสย ช่อื หนว่ ย ควราวมมรู้รวม1. หลกั การของสายอากาศ ความ ้ขาใจ2. ชนดิ ของสายอากาศ นาไปใช้3. คณุ สมบตั ขิ องสายอากาศ ิวเคราะ ์ห4. คา่ พารามเิ ตอรต์ า่ งๆของสายอากาศ สังเคราะ ์ห5. การแพร่กระจายคล่ืนของสายอากาศ ประเ ิมน ่คา6. ยา่ นความถีต่ า่ งๆของสายอากาศ7. งานสร้างสายอากาศ ทักษะพิ ัสย8. การวดั ค่า SWR จิตพิสัย9. การสรา้ งสตับ รวม10. การแมตชิง่ สายอากาศ ลาดับ11. งานตง้ั เสาอากาศ คจาวานมวสนาค ัคาบญ12. งานติดตัง้ จานรบั สญั ญาณดาวเทยี มย่าน13. สอบปลายภาค 11 - - 2 - 2 11 - - 2 - 2 211 - 2 - 2 211 8 8 4 4 211 8 8 8 8 211 8 8 24 24 211 26 11 13 11 26 11 26 11 26 211 6 18 211 รวม 20 13 8 60 20 100 72ลาดบั ความสาคญั 42 13

กาหนดการสอน(ทฤษฎี) ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ / สมรรถนะประจาหน่วย เกณฑก์ ารปฎบิ ัติงาน สปั ดาห์ ชวั่ โมง รายการสอน ท่ี ที่ แสดงความรเู้ ก่ียวกับหลกั การ อธิบายหลักการของสายอากาศ 1-2 1-21.หลักการของสายอากาศ ของสายอากาศ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 3-4 3-42.ชนิดของสายอากาศ แสดงความร้เู กย่ี วกบั สายอากาศ อธิบายชนดิ ของสายอากาศ 5-6 5-63.คุณสมบตั ิของสายอากาศ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แสดงความร้เู กี่ยวกับคุณสมบัติ 1.อธบิ ายคุณสมบัตขิ อง ของสายอากาศ สายอากาศได้อย่างถูกต้อง4.ค่าพารามเิ ตอรต์ า่ งๆของ แสดงความรู้เกย่ี วกับ 1อธิบายค่าพารามเิ ตอรต์ า่ งๆของ 7-16 7-16สายอากาศ คา่ พารามิเตอรต์ ่างๆของสายอากาศ สายอากาศ5.การแพรก่ ระจายคล่นื ของ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องสายอากาศ แสดงความรู้เกย่ี วกบั สารทาการ 1.อธบิ ายการแพรก่ ระจายคล่นื ของ 17-18 17-18 แพร่กระจายคลื่นของสายอากาศ สายอากาศได้อย่างถกู ต้อง6.ย่านความถ่ีตา่ งๆของ 1.แสดงความรู้ของยา่ นความถ่ี 1อธิบายยา่ นความถ่ตี ่างๆของ 1-3 1-9สายอากาศ ต่างๆของสายอากาส สายอากาศไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง7.งานสร้างสายอากาศ 1.ออกแบบสายอากาศ 1.คานวณและออกแบบ 4-6 10-18 2.ประกอบสายอากาศตามแบบ สายอากาศได้ถกู ต้อง 2.ประกอบสายอากาสได้ขนาด ตามแบบอยา่ งถูกต้อง

กาหนดการสอน(ปฏิบัติ) ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ / สมรรถนะประจาหน่วย เกณฑก์ ารปฎิบตั งิ าน สปั ดาห์ ชัว่ โมง รายการสอน ที่ ที่ 1.ตอ่ เคร่ืองมือวดั กบั สาย 1.วงจรทางกลของระบบการทา 7-108.การวัดคา่ SWR 2.ทดสอบคุณสมบตั ิของ ความเย็นตอ่ ระบบได้อย่าง 19-30 สายอากาศเครื่องปรบั อากาศ ถูกต้องครบถว้ น 11-129.การสร้างสตับ 3.ตรวจสอบอปุ กรณเ์ ครื่องทา 2.ทดสอบคุณสมบัตขิ อง 13-14 31-3610.การแมตชงิ่ สายอากาศ ความเย็นและเคร่ืองปรบั อากาศ สายอากาศได้ถกู ต้อง 15-18 37-42 ปฏบิ ัติงานทาสตบั สรา้ งสตับไดถ้ ูกต้อง 43-5411.งานตัง้ เสาอากาศ 1.ปฏบิ ตั งิ านแมตชงิ่ สายอากาศ 1.แมตชง่ิ สายอากาศได้ถูกต้อง และปลอดภยั 12. งานติดตั้งจานรับสัญญาณ ปฏบิ ัตงิ านตงั้ เสาอากาศ ปฏิบตั ิงานตง้ั เสาอากาศได้อย่าง ดาวเทียมยา่ น KU BAND ถกู ต้องและปลอดภยั ตดิ ตง้ั จานรับสญั ญาณดาวเทียมยา่ น 13. งานติดตัง้ จานรับสญั ญาณ ติดตง้ั จานรบั สญั ญาณดาวเทยี มย่าน ดาวเทยี มยา่ น C BAND KU BAND KU BAND ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและ ตดิ ตง้ั จานรบั สญั ญาณดาวเทียมย่าน ปลอดภัย C BAND ตดิ ตง้ั จานรบั สญั ญาณดาวเทียมยา่ น C BAND

ส่วนท่ี 2แผนการจดั การเรียนรู้บูรณาการและการประเมนิ ตามสภาพจรงิ รายหน่วยการเรยี นรู้

กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเหนว่ ย รายการสอน สมรรถนะ ที่ 1.หลักการของสายอากาศ แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หลักการของ อธิบายหลกั กา 2.ชนดิ ของสายอากาศ สายอากาศ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แสดงความร้เู กี่ยวกับสายอากาศ อธิบายชนดิ ขอ ไดอ้ ย่างถูกต้อง 3.คณุ สมบัติของสายอากาศ แสดงความรู้เกี่ยวกบั คณุ สมบัตขิ อง 1.อธบิ ายคุณส สายอากาศ 1อธิบายคา่ พาร ไดอ้ ย่างถูกต้อง 4.ค่าพารามเิ ตอรต์ ่างๆของ แสดงความรเู้ ก่ียวกับคา่ พารามเิ ตอร์ 1.อธบิ ายการแ สายอากาศ ต่างๆของสายอากาศ 1อธิบายย่านคว 5.การแพรก่ ระจายคล่ืนของ แสดงความรู้เกย่ี วกับสารทาการ สายอากาศ แพร่กระจายคล่ืนของสายอากาศ 6.ยา่ นความถต่ี ่างๆของ 1.แสดงความรูข้ องยา่ นความถีต่ ่างๆ สายอากาศ ของสายอากาส

เมินผลตามสภาพจริงประจาหนว่ ยการเรียนรู้ แนวทางการประเมิน เกณฑก์ ารปฏิบตั งิ าน ทดสอบความ ู้ร ประเมินการป ิฏบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมินพฤติกรรม ื่อน ๆารของสายอากาศ  ง  องสายอากาศ  ง  สมบัตขิ องสายอากาศได้อย่างถูกต้อง    รามเิ ตอรต์ ่างๆของสายอากาศงแพร่กระจายคลืน่ ของสายอากาศได้อยา่ งถูกต้องวามถตี่ ่างๆของสายอากาศได้อยา่ งถกู ต้อง

กรอบแนวทางการจัดการเรียนรแู้ ละการประเหน่วย รายการสอน สมรรถนะ ท่ี 7.งานสรา้ งสายอากาศ 1.ออกแบบสายอากาศ 1.คานวณและ 2.ประกอบสายอากาศตามแบบ 2.ประกอบสาย 8.การวดั คา่ SWR 1.ต่อเครื่องมือวดั กับสาย 1.วงจรทางกล 2.ทดสอบคุณสมบตั ิของสายอากาศ ครบถว้ น 9.การสรา้ งสตบั เครอื่ งปรับอากาศ 2.ทดสอบคุณส 10.การแมตช่ิงสายอากาศ 3.ตรวจสอบอุปกรณเ์ ครื่องทาความ เย็นและเครื่องปรบั อากาศ สร้างสตับได้ถูก ปฏิบตั ิงานทาสตบั 1.แมตชิ่งสายอ 1.ปฏบิ ัตงิ านแมตช่ิงสายอากาศ 11.งานต้งั เสาอากาศ ปฏบิ ตั งิ านตง้ั เสาอากาศ ปฏิบัติงานตั้งเ

เมนิ ผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการเรยี นรู้ แนวทางการประเมนิ เกณฑ์การปฏิบตั ิงาน ทดสอบความ ู้ร ประเมินการป ิฏบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมินพฤติกรรม ื่อน ๆะออกแบบสายอากาศไดถ้ ูกตอ้ ง  ยอากาสได้ขนาดตามแบบอยา่ งถูกต้องลของระบบการทาความเยน็ ต่อระบบได้อย่างถกู ต้อง    สมบตั ขิ องสายอากาศได้ถูกต้องกตอ้ ง อากาศไดถ้ ูกต้องและปลอดภัย เสาอากาศได้อย่างถกู ต้องและปลอดภัย 

กรอบแนวทางการจัดการเรยี นรูแ้ ละการประเหน่วย รายการสอน สมรรถนะ ที่ 12. งานตดิ ตง้ั จานรับ ตดิ ต้งั จานรับสญั ญาณดาวเทยี มย่าน KU ติดต้งั จานรับส สัญญาณดาวเทียมยา่ น KU ต BAND BAND ติดต้งั จานรบั สญั ญาณดาวเทยี มย่าน C 13. งานตดิ ต้งั จานรับ สญั ญาณดาวเทียมยา่ น C BAND BAND

เมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการเรียนรู้ แนวทางการประเมนิ เกณฑ์การปฏิบตั ิงาน ทดสอบความ ู้ร ประเมินการป ิฏบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมินพฤติกรรม ื่อน ๆสญั ญาณดาวเทยี มยา่ น KU BAND ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและ     ปลอดภัย ติดต้งั จานรบั สญั ญาณดาวเทียมย่าน C BAND 





A13กรอบการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นเรอ่ื ง/ช้ินงาน/โครงการ และบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สมรรถนะด้านความมีเหตผุ ล สมรรถนะด้านความพอประมาณ สมรรถนะดา้ นความมภี มู ิคมุ้ กนัเลอื กชนิดจานรบั สญั ญาณ สร้างสายอากาศและตดิ ตัง้ จานรบั ตรวจสอบคุณภาพของจานรบัดาวเทยี มได้ถกู ต้องตามลกั ษณะ สญั ญานดาวเทียมไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง สญั ญาณดาวเทยี มไดต้ รงตามการใช้งาน คุณสมบัติ งานติดตัง้ จานรับ สญั ญาณดาวเทียม เง่อื นไขดา้ นความรูแ้ ละทักษะ เงอื่ นไขด้านคุณธรรม จริยธรรมมีความรู้และทกั ษะในการติดตงั้ คา่ นิยม คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์จานรับสญั ญาณดาวเทียม มคี ิดไตรต่ รองใหร้ อบคอบกอ่ น ตดั สนิ ใจ ตระหนักถึงผลกระทบ ต่อสง่ิ แวดล้อม มีความซอ่ื สตั ย์ และความรบั ผดิ ชอบตอ่ งาน ผลกระทบเพื่อความสมดลุ พรอ้ มรบั การเปลีย่ นแปลงด้านสงั คม ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นวฒั นธรรม ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ทางานและสง่ มอบงานใหต้ รง ให้ความสาคญั กบั วัสดุทเี่ หลอืเลือกจานรบั สญั ญาณดาวเทยี ม การส้ินเปลืองสาของวสั ดทุ ใ่ี ช้ เวลาไดม้ ารตราฐานตาม ใชจ้ ัดเกบ็ คดั แยก คุณภาพใหเ้ หมาะสมกบั งาน ในการติดต้งัหมายเหตุ หากเปน็ การบรู ณาการในหนว่ ยการเรยี นรหู้ นว่ ยใดหน่วยหนง่ึ ให้นาแผนภูมนิ ไ้ี ปนาเสนอในหนว่ ยการเรียนรนู้ น้ั

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 10 จานวน3 ช่ัวโมง สปั ดาหท์ ่ี 13ชือ่ วชิ าสางสง่ และสายอากาศชอื่ หน่วยงานบรรจสุ ารทาความเยน็ ในเครอื่ งทาความเยน็ และเครื่องปรับอากาศช่อื งาน งานบรรจุสารทาความเย็นในเคร่ืองทาความเย็น1. สาระสาคญั การเตมิ สารทาความเยน็ เขาในระบบ ( Charging the system) คือการปฏบิ ตั เิ พ่ือนาสารทาความเย็นเขาไปใชงานเพื่อสรางความเย็นในระบบ เนอื่ งจากระบบทาความเย็นจะอาศยั สารทาความเย็นเปนตัวกลางในการรบั ความรอนจากภายในไปถายเทออกมาภายนอก สารทาความเยน็ ในระบบจะตองมีปรมิ าณถกู ตองเพื่อไมใหเกดิ ความเสียหายหรอื ไมไดความเย็นตามตองการจงึ ตองศกึ ษาวิธปี ฏิบตั ใิ นการเติมสารทาความเย็นใหถูกตองตอไป วิธีเติมสารทาความเย็นเขาในระบบสามารถทาได 2 วธิ ีคือการเตมิ สารทาความเยน็ ในสถานะทเ่ี ปนแกสและการเตมิ สารทาความเย็นในสถานะท่เี ปนของเหลว2. สมรรถนะประจาหนว่ ย 1.ปฏบิ ัตงิ านบรรจุสารทาความเยน็ ในเคร่ืองทาความเย็นและเครื่องปรบั อากาศ 2.ตรวจสอบรอยร่ัวของเครอื่ งทาความเย็นและเคร่ืองปรับอากาศ3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ปฏบิ ตั ิงานบรรจุสารทาความเยน็ ในเคร่ืองทาความเยน็ และเคร่ืองปรบั อากาศได้ 3.1.1 บรรจสุ ารทาความเยน็ ในเครอื่ งทาความเย็นได้อย่างถูกต้อง 3.1.2 บรรจสุ ารทาความเยน็ ในเครือ่ งปรับอากาศได้อย่างถูกตอ้ ง 3.1.3 ตรวจสอบการรว่ั ซมึ ขณะบรรจุสารทาความเย็นได้อย่างถูกต้อง 3.2 ตรวจสอบรอยรั่วของเคร่ืองทาความเย็นและเคร่ืองปรับอากาศ 3.2.1 ตรวจสอบรอยรว่ั ของเครื่องทาความเย็นโดยการสงั เกตจากเคร่ืองมือวดั ได้อย่าง ถกู ต้อง 3.2.2 ตรวจสอบรอยรั่วของเครื่องทาความเย็นโดยใช้ฟองสบู่ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3.2.3 ตรวจสอบรอยรัว่ ของเคร่ืองทาความเยน็ โดยใช้เครื่องอิเล็กทรอนกิ ส์ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 3.2.4 ตรวจสอบรอยรว่ั ของเคร่อื งปรบั อากาศโดยการสังเกตจากเคร่ืองมือวัดได้อยา่ งถูกต้อง 3.2.5 ตรวจสอบรอยรว่ั ของเครอื่ งปรับอากาศโดยใชฟ้ องสบู่ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 3.2.6 ตรวจสอบรอยรว่ั ของเครื่องปรับอากาศโดยใชเ้ ครื่องอิเลก็ ทรอนิกส์ได้อย่างถูกต้อง A15

4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การบรรจุสารทาความเย็นเข้าในระบบ (Charging the system) การปฏบิ ตั เิ พ่ือนาสารทาความเยน็ เข้าไปใช้งานเพอื่ สรา้ งความเยน็ ในระบบเนื่องจากระบบทาความเย็นจะอาศยั สารทาความเย็นเปน็ ตัวกลางในการรบั ความร้อนจากภายในไปถา่ ยเทออกมาภายนอกสารทาความเย็นในระบบจะต้องมีปริมาณถูกต้องเพ่ือไม่ใหเ้ กดิ ความเสียหายหรือไม่ได้ความเย็นตามตอ้ งการจึงต้องศึกษาวิธปี ฏบิ ตั ิในการเติมสารทาความเยน็ ให้ถูกต้องต่อไปวิธีเตมิ สารทาความเย็นเขา้ ในระบบสามารถทาได้ 2วิธคี อื การเตมิ สารทาความเย็นในสถานะทีเ่ ปน็ แกส๊ และการเตมิ สารทาความเย็นในสถานะทเ่ี ปน็ ของเหลว 4.1.1การบรรจุสารทาความเย็นในสถานะที่เป็นแก๊ส (Vapor refrigerant charging) คือวิธีการเติมสารทาความเย็นจากถังบรรจุสารทาความเย็นเข้าในระบบโดยสารทาความเย็นมีสถานะเป็นแก๊สซ่ึงสามารถเติมเข้าได้ทั้งทางด้านความดันต่าและด้านความดันสูงเม่ือระบบหยุดทางานหรือเติมเข้าในระบบได้เฉพาะด้านความดันต่าเม่ือระบบทางานเน่ืองจากการเติมวิธีน้ีสารทาความเย็นจะถูกปล่อยออกจากถังในสภาพท่ีเป็นแก๊สตลอดเวลาความดันภายในถังจะลดลงสารทาความเย็นเหลวในถังจึงเดือดกลายเป็นไอทาให้อณุ หภมู ิและความดันภายในถงั ลดลงจนไมส่ ามารถเติมเข้าระบบต่อไปได้จึงควรแก้ไขเพื่อเพิ่มความดันภายในถังโดยการแช่ถังน้ายาไว้ในน้าอุ่นอุณหภูมิประมาณ 90 °F ตลอดเวลาที่ทาการเติมสารทาความเย็นห้ามใช้เปลวไฟจากหวั เชอื่ มในการเพิ่มความดนั ใหส้ ารทาความเยน็ ในถงั 4.1.2 การเติมสารทาความเย็นในสถานะทเ่ี ป็นของเหลว (Liquid refrigerant charging) คอืการเติมสารทาความเย็นจากถังบรรจสุ ารทาความเยน็ เข้าในระบบโดยสารทาความเยน็ มีสถานะเป็นของเหลวซ่งึ สามารถเติมเข้าในระบบได้โดยผ่านท่อสารทาความเยน็ เหลว (Liquid line) ท้ังในขณะระบบหยดุ ทางานและระบบกาลงั ทางานการเติมสารทาความเย็นวิธนี ส้ี ามารถทาได้รวดเรว็ กว่าวิธีการเตมิ แก๊สมากจึงเหมาะที่จะใชก้ บั ระบบทาความเยน็ ขนาดใหญ่และมขี ้อสงั เกตคือการเติมสารทาความเยน็ เข้าระบบวธิ ีนีจ้ ะไม่ทาให้เกิดการเดอื ดของสารทาความเย็นเหลวที่อย่ใู นถงั เหมือนการเติมสารทาความเยน็ ในสถานะที่เปน็ แกส๊ จงึ ไมต่ อ้ งทาการเพ่ิมอุณหภูมิให้กบั ถังน้ายา A16

5. กิจกรรมการเรียนรู(้ สปั ดาหท์ .่ี ...13........)ข้ันสนใจปญั หา (Motivation) เป็นขั้นการสร้างความสนใจโดยเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นอยากคิดอยากทาโดยการเชือ่ มโยงความรู้เดิมกบั ความรใู้ หม่เข้าดว้ ยกันซึ่งในขนั้ ตอนนี้ครูจะใช้คาถามประกอบกับส่ือpower pointหรืออปุ กรณ์ของจริงในการนาเขา้ สบู่ ทเรยี น พรอ้ มท้ังบอกจุดประสงค์ในการเรยี นการสอนของแผนการเรยี นขั้นใหเ้ น้อื หา (Information) 1.ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2.แบง่ กลุ่มในการปฏบิ ัตงิ าน 2.1 แนะนาอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการบรรจนุ า้ ยา 2.2 สาธติ การบรรจุนา้ ยานชดุ ฝกึ ของจริง 2.3 ใหผ้ ้เู รยี นซกั ถามอภปิ รายสว่ นท่ยี ังไมเ่ ขา้ ใจ 2.4 มอบใบปฏบิ ัติงานให้ผูเ้ รียนลงมือปฏบิ ัตงิ านตามขัน้ ตอน 3.ผูเ้ รียนฝึกปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนขนั้ พยายาม (Application) 1.ตรวจผลการปฏิบตั งิ านของแตล่ ะกลุ่ม 2.ทาแบบทดสอบหลังเรยี นขัน้ สาเร็จผล (Progress) 1.ใหค้ ะแนนแตล่ ะกลุ่มตามผลงานแจง้ ผเู้ รียน 2.มอบใบมอบหมายงานใหผ้ ู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ เพื่อทารายงานสง่ พรอ้ มทง้ั นาเสนอข้อมลู ครั้งต่อไป6. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 6.1 สอื่ 1. ใช้ของจริงประกอบการบรรยายและสาธติ 2. ใบความรู้ 3. หนงั สือ/ตาราเรียน 4. สอ่ื การสอน 5. ใบงาน 6. ใบมอบหมายงาน 6.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. ข้อมลู จากสถานประกอบการ 2. ขอ้ มลู ทางอินเทอร์เนต็ A17

7. หลักฐานการเรยี นรู้ 7.1 หลักฐานความรู้ 1. รายงานการบรรจุสารทาความเย็น 2. ผลคะแนนจากการประเมินแบบทดสอบก่อน/หลังเรยี นประจาหน่วย 7.2 หลักฐานการปฏบิ ตั ิงาน 1. ผลการปฏบิ ัติงานตามใบงาน 2. รายงานทไ่ี ด้จากใบมอบหมายงาน 3. ผลคะแนนจากการประเมินการปฏิบตั งิ าน8. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้8.1 เครอ่ื งมือประเมนิ1. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียนประจาหนว่ ย2. แบบทดสอบความรูร้ ายวิชา3. แบบประเมินการปฏบิ ัตงิ าน4. แบบสงั เกตพฤติกรรม8.2 เกณฑ์การประเมิน8.2.1 กาหนดคา่ คะแนนตามลาดับความสาคัญของสาระการเรียนรู้8.2.2 เกณฑ์คะแนนทผ่ี ่าน1.แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 80%2.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผ่าน 60%3.แบบประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมคา่ นิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงคค์ ะแนนขน้ึ อยู่กับผปู้ ระเมินตามสภาพจรงิ9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย (ถ้าม)ี 9.1 ใหผ้ ้เู รียนไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติมจากรา้ นซ่อมเคร่ืองทาความเยน็ ตเู้ ยน็ หรอื ตู้แช่ โดยสงั เกตการบรรจสุ ารทาความเย็น และสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการเติมสารทาความเยน็ แต่ละชนดิ วา่ แตกต่างกนั อย่างไรและข้อมลู เก่ยี วกับความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานรวมถงึ ข้อควรระวังในบรรจสุ ารทาความเย็น 9.2 ให้ผู้เรยี นจดั ทารายงานพรอ้ มทัง้ นาเสนอหน้าห้องเรียนใหเ้ พือ่ นๆในหอ้ งเรียนรู้ร่วมกนั A18

10. เอกสารอา้ งองิ 1.ชูชยั ตศิรวิ ัฒนา. การทาความเย็นและปรบั อากาศ.สานักพมิ พส์ .ส.ท : กรุงเทพ , 2546. 2.สมศกั ด์ิ สุโมตยกุล.เคร่อื งทาความเย็นและเครอื่ งปรับอากาศ.ซีเอด็ ยูเคชน่ั : กรงุ เทพฯ,2545 3.Dossat,R.J. Principle of Reffigeration. 4 th Edition. U.S.A. : Prentice-HallInternational,1997 4.ANDREW,A D.,Turnquist, C.H. and Bracciano,A.F. Modern Refrigeration and Airconditioning.2nd Edition. U.S.A. : The Good heat-Willcox Co.,Inc.,1975 A19

11. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 11.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ 11.2 ปัญหาอปุ สรรคที่พบ 11.3แนวทางแกป้ ญั หาและหรอื พัฒนา A20

รายการตรวจสอบและอนญุ าตให้ใช้ เห็นควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้ เหน็ ควรปรบั ปรุงเกีย่ วกับ ลงชอ่ื ( ) หวั หน้าหมวด / แผนกวชิ า // ควรอนุญาตใหน้ าไปใชส้ อนได้ ควรปรับปรุงเกีย่ วกบั . อน่ื ๆ ลงชอื่ ( ) รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ // อนญุ าตให้นาไปใช้สอนได้ อ่ืน ๆ ลงชื่อ ( ) ผู้อานวยการ //


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook