Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในชุมชน

หน่วยที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในชุมชน

Published by Nantaporn Bamrungphol, 2021-02-24 04:25:35

Description: หน่วยที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในชุมชน

Search

Read the Text Version

บริบททางสงั คมที่เปล่ียนไปอย่างรวดเรว็ ทาให้ความเป็ นอยู่ร่วมกนั ของประชาชนมีเงื่อนไข ที่ซบั ซ้อนมากขึ้น มีผลต่อรูปแบบการพฒั นาสุขภาพชุมชน จากสภาวการณ์เข้าสู่ยุคผ้สู งู อายุ ท่ี เพิ่ มมากขึ้น ตามมาด้วยปั ญหาเรื้อรัง พฤติ กรรมเสี่ ยงต่อสุขภาพ ปั ญหาสุขภาพจิ ต ปัญหาเจบ็ ป่ วยด้วยโรคท่ีสามารถป้องกนั ได้ โรคอบุ ตั ิใหม่ ภยั พิบตั ิท่ีเพิ่มมากขึน้ ทงั้ หมด ความถ่ี และความรนุ แรง จาเป็ นอย่างย่ิงที่ทุกคนในชุมชนจะต้องมีส่วนร่วมรบั ผิดชอบต่อการสร้าง เสริมสขุ ภาพ การป้องกนั โรคและพฒั นาสขุ ภาพในชมุ ชน โดย ครูนันทพร บำรุงผล รายวชิ า พ32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4

สถานการณ์และแนวโน้มการเจ็บป่ วยและการตายของคนไทย สาเหตุการตายของประชากรไทยได้เปลี่ยนไปจากเดิมมาก ในอดีตคนไทยตาย จากโรคติดเชื้อท่ีแพร่ระบาด ทัง้ ทางน้า อากาศ หรือพาหะนาโรคชนิ ดต่างๆ ปัจจุบนั การตายของประชากรส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการกินอยู่ และการใช้ชีวิต ของตนเอง สาเหตุการตายท่ีสาคญั ได้แก่ โรคเกี่ยวกบั ทางเดินหายใจ และหลอดเลือด มะเรง็ เอดส์ โรคหวั ใจ ความดนั เลือด รวมทงั้ อบุ ตั ิเหตบุ นถนน นอกจากนี้ ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สงั คมผ้สู ูงอายุ คือมีผ้สู ูงอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป เกินร้อยละ ๑๐ และนับวนั ประชากรไทยจะยิ่งมีผสู้ งู อายมุ ากขึน้



สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย ภาวะแปรปรวนทางจติ และพฤติกรรม อาการของภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม อาการผิดปกติ ทงั้ ท่ีก่อนหน้าเป็ นคนสดใสร่าเริง เช่น นอนไม่หลบั เดินไปเดิน มา มีพฤติกรรมแปลกๆ เช่น พดู คนเดียว หวาดระแวง เกบ็ ตวั ไม่สุงสิงกบั ใคร ไม่พดู จา ใดๆ เป็ นชวั่ โมง หรืออาจเคล่ือนไหวช้าหรืออาจมีอาการประสาทหลอน คิดว่ามีบางส่ิง บางอย่างเกิดขึน้ เช่น ได้ยินเสียงคนมาพดู คยุ มาเตือน หรอื มาตาหนิในเรอ่ื งต่างๆ ทงั้ ๆ ท่ี ความจริงไม่มีคนพดู หงุดหงิดฉุนเฉียวโกรธงา่ ย ร้สู ึกสิ้นหวงั มองโลกในแง่ร้าย ไม่มีสมาธิ ความจาเสื่อม

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย ภาวะแปรปรวนทางจติ และพฤติกรรม สาเหตขุ องภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม ๑. กรรมพนั ธ์ุ ๒. ระบบสารเคมีในสมอง ๓. ความผิดปกติในส่วนอ่ืนๆของสมอง ๔. ความเครียดต่างๆในชีวิต ๕. การเลีย้ งดทู ี่เขม้ งวด ๖. มีการเปล่ียนแปลงระดบั ฮอรโ์ มนในเลือด ๗. ผทู้ ่ีเกบ็ กดไมแ่ สดงอารมณ์ออกมา

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย ภาวะแปรปรวนทางจติ และพฤติกรรม การป้องกนั ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม ๑. หมนั่ สารวจจิตใจเพอ่ื ทาความเขา้ ใจกบั ตนเอง ๒. มีวิธีคลายเครียดอยา่ งเหมาะสม ๓. ออกกาลงั กาย

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคความดนั เลือดสูง อาการของโรคความดนั เลือดสงู โรคความดนั เลอื ดสงู ส่วนใหญ่จะไมม่ ีอาการ เน่ืองจากความดนั เลอื ดจะเพิ่มอย่างช้าๆ ทาให้ร่างกาย โดยเฉพาะหลอดเลือดปรบั ตัวได้ทัน ผ้ปู ่ วยความดันเลือดส่วนใหญ่ จึงมีโรคแทรกซ้อนโดยที่ไม่รู้ว่าเป็ นความดนั เลือดสูง สาหรบั คนท่ีมีอาการจะพบว่า ผปู้ ่ วยมกั จะมีอาการปวดศีรษะ ปวดมึนๆ บางคนปวดตลอดวนั หากเป็นมากจะมีอาการ คล่ืนไส้อาเจียน เลอื ดกาเดาไหล ตามวั เหน่ือยงา่ ยหายใจหอบ แน่นหน้าอก

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคความดนั เลือดสูง สาเหตขุ องโรคความดนั เลือดสงู โรคความดนั เลอื ดสงู มีอยู่ ๒ ชนิด ๑. โรคความดนั เลือดที่ไม่ทราบสาเหตุ เป็นความดนั เลอื ดสงู ที่พบมากท่ีสดุ มกั จะ มีสาเหตหุ ลายองคป์ ระกอบรวมกนั ได้แก่ ๑) การกินอาหารเคม็ ๒) กรรมพนั ธ์ุ ๓) ความผิดปกติของหลอดเลอื ด

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคความดนั เลือดสูง สาเหตขุ องโรคความดนั เลอื ดสงู โรคความดนั เลอื ดสงู มีอยู่ ๒ ชนิด ๒. โรคความดนั เลอื ดที่ทราบสาเหตุ สาเหตทุ ่ีพบได้บอ่ ย คือ ๑) ผปู้ ่ วยที่เป็นโรคไต ๒) เนื้องอกที่ต่อมหมวกไต ๓๕)) โยราคโหคลเคอนดเยลาอื บดา้แดงใหญ่ตีบ ๔) ยาคมุ กาเนิด

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคความดนั เลือดสูง การป้องกนั โรคความดนั เลือดสงู ๑. ควบคมุ น้าหนักให้อย่ใู นเกณฑป์ กติ ๒. ออกกาลงั กายอยา่ งสมา่ เสมอ ๓. เลือกอาหารที่มีเกลือตา่ ๔. ลดปริมาณแอลกอฮอล์ งดสบู บหุ รี่ ๕. ทาจิตใจให้รา่ เริงแจม่ ใส จดั การความเครียด ๖. กินอาหารท่ีมีคณุ ภาพ ๗. ปรกึ ษาแพทยเ์ กี่ยวกบั การใช้ยา และการคมุ กาเนิด

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคเบาหวาน โรคเบาหวานมี ๒ ชนิด ได้แก่ ๑. โรคเบาหวาน ชนิ ดพึ่งอินซูลิน เป็ นเบาหวานชนิ ดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรง และอันตรายสูง เช่ือว่าร่างกายมีการสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นต่อต้านตับอ่อนของตัวเอง จนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ หรือเรียกว่า “โรคภูมิแพ้ตัวเอง” ทัง้ นี้เป็ นผลมาจาก ความผิดปกติทางกรรมพนั ธุ์ รว่ มกบั การติดเชื้อ หรือการได้รบั สารพิษจากภายนอก ๒. โรคเบาหวาน ชนิดไม่พึ่งอินซูลิน เป็นเบาหวานชนิดท่ีพบเหน็ เป็ นส่วนใหญ่ มีความ รนุ แรงน้อย โดยตบั อ่อนของผ้ปู ่ วยชนิ ดนี้ยงั สามารถสร้างอินซูลินได้ แต่ไม่เพียงพอต่อ ความต้องการของรา่ งกาย จงึ ทาให้มีน้าตาลท่ีเหลอื ใช้กลายเป็นเบาหวานได้

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคเบาหวาน อาการของโรคเบาหวาน ๑. ปวดปัสสาวะบอ่ ยครงั้ ขึน้ ๒. ปัสสาวะกลางคืนบอ่ ยขนึ้ ๓. กระหายน้า และด่ืมน้าในปริมาณมากๆ ต่อครงั้ ๔. อ่อนเพลีย เหน่ือยงา่ ยไมม่ ีเร่ียวแรง ๕. เบอ่ื อาหาร ๖. น้าหนักตวั ลดโดยไม่ทราบสาเหตุ ๗. ติดเชื้อบอ่ ยกวา่ ปกติ ๘. สายตาพร่ามองไมช่ ดั ๙. อาการชาไมค่ ่อยมีความร้สู ึก

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคเบาหวาน สาเหตขุ องโรคเบาหวาน ๑. กรรมพนั ธุ์ ๒. โรคอ้วน ๓. ผสู้ งู อายเุ ม่ืออายมุ ากขนึ้ ๔. โรคของตบั อ่อน เช่น ภาวะตบั อ่อนอกั เสบเรือ้ รงั จากการดื่มเหล้า ๕. การติดเชื้อไวรสั บางชนิดเมอื่ ยงั เป็นเดก็ ๖. การได้รบั ยาบางชนิด เช่น สเตียรอยด์ ๗. การตงั้ ครรภ์ เน่ืองจากขณะตงั้ ครรภจ์ ะมีการหลงั่ ฮอรโ์ มนจากรก ซ่ึงมีผลต่อต้าน การทางานของอินซูลิน

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคเบาหวาน การป้องกนั โรคเบาหวาน ๑. ออกกาลงั กายเป็นประจา ๒. ควบคมุ น้าหนัก ๓. กินอาหารสขุ ภาพ ประเภทถวั่ ผกั ธญั พชื ไม่ขดั สี ๔. ไม่ดื่มแอลกอฮอล์

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคมะเร็ง อาการของโรคมะเรง็ ๑. ไม่มีอาการใดเลยในช่วงแรกท่ีรา่ งกายมีเซลลม์ ะเรง็ เป็นจานวนน้อย ๒. มีอาการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งตามสญั ญาณอนั ตราย ๘ ประการ ได้แก่ ๑) มีการเปล่ียนแปลงของระบบขบั ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ เช่น ถ่ายอุจจาระ เป็นสีดา หรอื ปัสสาวะเป็นเลือด ๒) กลนื อาหารลาบาก หรอื มีอาการเสียดแน่นท้องเป็นเวลานาน ๓) มีอาการเสียงแหบ และไอเรอื้ รงั ๔) มีเลอื ดหรือตกขาวที่ผิดปกติ เช่น มีกล่ินเหมน็ ๕) แผลซึ่งรกั ษาแลว้ ไมย่ อมหาย

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคมะเร็ง อาการของโรคมะเรง็ ๖) มีการเปลี่ยนแปลงของหดู หรอื ไฝตามรา่ งกาย ๗)มีก้อนท่ีเต้านม หรือส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย ๘) หอู ื้อ หรือมีเลอื ดกาเดาไหล ๓. มีอาการป่ วยของโรคทวั ่ ไป เช่น อ่อนเพลีย เบ่ืออาหาร น้าหนักลด ร่างกายทรุดโทรม ไมส่ ดชื่น และไม่แจม่ ใส ๔. มีอาการที่บ่งบอกว่ามะเรง็ อย่ใู นระยะลกุ ลาม หรือเป็นมาก ขึ้นอย่กู บั ว่าเป็นมะเรง็ ชนิ ดใด

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคมะเร็ง การป้องกนั โรคมะเรง็ ๑. ไม่กินอาหารที่มีราขนึ้ ป้องกนั โรคมะเรง็ ตบั ๒. ลดอาหารไขมนั ๓. ลดอาหารดองเคม็ อาหารปิ้ งย่าง รมควนั และอาหารเกลือไนเตรท์ ไนไตรท์ ๔. ไม่กินอาหารสกุ ๆ ดิบๆ ๕. หยดุ หรอื ลดการสบู บหุ ร่ี ๖. ลดการดื่มแอลกอฮอล์ ๗. ไมค่ วรตากแดดมากเกินไปจะเส่ียงต่อการเกิดมะเรง็ ผิวหนัง

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคมะเร็ง การป้องกนั โรคมะเรง็ ๘. กินผกั ตระกลู กะหลา่ ให้มาก ๙. กินอาหารท่ีมีกากมาก ๑๐.กินอาหารท่ีมีเบตาแคโรทีน และวิตามินเอสงู ๑๑. กิ นอาหารท่ีมีวิตามินบีสงู ๑๒.ควบคมุ น้าหนักตวั ๑๓.ออกกาลงั กายและลดการกินอาหารท่ีให้พลงั งานสงู

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคหัวใจ อาการของโรคหวั ใจ อาการผิดปกติเบือ้ งต้นของร่างกาย ที่อาจเป็ นข้อบ่งชี้ว่ามีอตั ราเส่ียงต่อการเป็ นโรคหวั ใจ มีดงั นี้ ๑. โรคหวั ใจมีอาการผิดปกติท่ีเกิดขึน้ เฉียบพลนั ๒. โรคหวั ใจที่อาการผิดปกติที่สงั เกตได้จากร่างกาย

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคหัวใจ สาเหตขุ องโรคหวั ใจ เกิดจากหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจแขง็ ตัว หรือมีไขมนั ไปเกาะผนัง ของหลอดเลือด ทาให้หลอดเลือดแดงตีบแคบลง ปริมาณเลือดผ่านได้น้อย เป็ นผล ทาให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหวั ใจขาดเลือด และหากเลือดแดงตีบตนั แคบมากจนอุดตัน จะทาให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหวั ใจตายได้

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคหัวใจ ปัจจยั เส่ียงของการเกิดโรคหวั ใจ ๑. ไม่ออกกาลงั กาย ๒. น้าหนักตวั ที่มากเกินปกติ ๓. ระดบั ไขมนั ในเลือดสงู ๔. คนที่เป็นโรคเบาหวาน ๕. ความดนั เลือดสงู ๖. สบู บหุ ร่ี

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่ วย และการตายของคนไทย โรคหัวใจ การป้องกนั โรคหวั ใจ ๑. ควบคมุ น้าหนักตวั ให้อย่ใู นเกณฑม์ าตรฐาน ๒. กินอาหารสขุ ภาพ หลีกเล่ียงอาหารไขมนั อ่ิมตวั ๓. ออกกาลงั กายอย่างสมา่ เสมอ ๔. ไมส่ บู บหุ รี่ ๕. ตรวจสขุ ภาพประจาปี

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคปอดอักเสบ อาการของโรคปอดอกั เสบ ๑. มีอาการไมแ่ น่ชดั ขึน้ อย่กู บั ชนิดของเชื้อ ๒. มีอาการไอในระยะแรกจะไอแห้ง จากนัน้ จะมีเสมหะเหนียวขุ่น หายใจเรว็ หอบ เหนื่อย ถ้ามีอาการรนุ แรงตวั จะเขียว ๓. ผปู้ ่ วยบางรายมีอาการปวดศีรษะ ปวดกลา้ มเนื้อ ปวดท้องคลน่ื ไส้อาเจียน

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคปอดอกั เสบ สาเหตขุ องโรคปอดอกั เสบ ๑. เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรียจากการหายใจเข้าสู่ปอดโดยตรง เข้าส่กู ารสาลกั ทางกระแสเลือด หรอื การใช้เขม็ ฉีดยาร่วมกบั ผอู้ ่ืน ๒. โรคปอดอกั เสบเป็นภาวะแทรกซ้อนของไข้หวดั ใหญ่ ต่อมทอนซิลอกั เสบ หลอดลม อกั เสบ หลอดลมพอง

สาเหตุและแนวทางการป้องกนั การเจบ็ ป่ วย และการตายของคนไทย โรคปอดอักเสบ การป้องกนั โรคปอดอกั เสบ ๑. ฉีดวคั ซีนป้องกนั โรคปอดอกั เสบ ๒. หลีกเลี่ยงปัจจยั เส่ียงต่างๆ เช่น การสบู บหุ ร่ี การดื่มเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ ๓. หมนั่ ดแู ลสขุ ภาพของตนเองให้แขง็ แรงอยเู่ สมอ ๔. ในช่วงที่มีการระบาดของโรคซ่ึงอาจนาไปส่โู รคปอดอกั เสบไม่ควรไปอยใู่ นชมุ ชน แออดั ควรป้องกนั โดยการสวมหน้ากากอนามยั หมนั่ ล้างมือให้สะอาด ไมใ่ ช้สิ่งของ ร่วมกบั ผอู้ ื่น

การส่งเสริมและการพฒั นาสุขภาพในชุมชน การส่งเสริมและพฒั นาสขุ ภาพในชุมชนให้ประสบความสาเรจ็ ต้องเกิดจากการมีส่วน ร่วมและการเป็ นห้นุ ส่วนของสมาชิกและองค์กรกลุ่มต่างๆ ที่อยู่ในชุมชนท่ีมีเป้าหมาย รว่ มกนั ในการพงึ่ พาตนเองด้านการดแู ลสขุ ภาพของชมุ ชน สรุป การเจ็บป่ วยและการตายของคนไทยจากโรคที่สาคัญ ได้แก่ โรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคจิตและพฤติกรรม โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ และโรคมะเร็ง โดยมีสาเหตมุ าจากพฤติกรรมการกินอาหารที่มีไขมนั สงู อาหารท่ีมีเชื้อรา อาหารดองเคม็ และขาดการออกกาลังกาย สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ซึ่งทุกคนในชุมชนมีบทบาท และ ความรบั ผิดชอบต่อการสร้างเสริมสขุ ภาพ การป้องกนั โรค และพฒั นาสุขภาพในชุมชนร่วมกนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook