Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืองานบุคล

คู่มืองานบุคล

Published by minton_noom, 2022-07-31 06:41:22

Description: คู่มืองานบุคคล

Search

Read the Text Version

ก คำนำ คูม่ อื บริหารงานบุคคลเลม่ นี้ จดั ทำขน้ึ เพอื่ เป็นแนวทางสำหรับการบรหิ ารงานและการดำเนินงานบุคคล ของโรงเรียนอนบุ าลวาปีปทมุ ซ่งึ เนือ้ หาประกอบไปดว้ ย แนวคิดหลักในการบริหารงานบคุ คล ขอบขา่ ยและภารกิจ ผู้รับผิดชอบ การดำเนนิ การด้านบรหิ ารงานบคุ คล ทั้งนี้ให้ครู บุคลากรทีป่ ฏิบตั ิหนา้ ทต่ี ่าง ๆ ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย และงานทร่ี บั ผดิ ชอบได้อยา่ งถูกต้อง เป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล เกิดประโยชนส์ ูงสุดตอ่ ทางราชการ ผูป้ ฏิบตั ิ หน้าที่ครจู งึ ควรมีคู่มือ มีแนวปฏบิ ตั แิ ละแนวทางในการปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นอนบุ าลวาปีปทุม หวังเปน็ อยา่ งยิง่ วา่ คูม่ ือบรหิ ารงานบุคคลเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มีความ สนใจในการศึกษาคน้ ควา้ ในเรื่องการดำเนินงานทางดา้ นบุคคลของโรงเรยี น ขอขอบคุณไปยงั แหล่งข้อมูลและ สารสนเทศจากทุกแหล่งท่ีเป็นขอ้ มลู อา้ งอิงเพื่อนำมาประกอบเปน็ เนือ้ หาสาระความรู้ภายในคู่มือนี้ และ ขอขอบคุณคณะทำงานทุกภาคสว่ นท่ีมีสว่ นรว่ มในการดำเนินงานจัดทำเอกสารคู่มอื บริหารงานบคุ คลเลม่ นจ้ี น สำเรจ็ เสรจ็ สิน้ ไปได้ด้วยดี โรงเรียนอนบุ าลวาปปี ทมุ พฤษภาคม 2564

สารบัญ ข เรือ่ ง หน้า คำนำ ก สารบญั ข ความหมายแนวคิดหลกั ในการบรหิ ารบุคคล 1 การปฏบิ ัตริ าชการของข้าราชการครู 4 วนิ ยั และการดำเนินการทางวินยั 6 การเลอ่ื นขัน้ เงินเดือน 11 การฝึกอบรมและลาศกึ ษาต่อ 12 การออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 12

1 การบรหิ ารงานบุคคล ความหมายแนวคดิ หลกั ในการบรหิ ารบคุ คล การบริหารงานบคุ คล หมายถึง การหาทางใชค้ นทอ่ี ยรู่ ่วมกันในองคก์ รนั้น ๆ ให้ทำงานไดผ้ ล ดีทสี่ ุด สนิ้ เปลืองคา่ ใช้จา่ ยน้อยท่ีสุด ในขณะเดียวกันกส็ ามารถทำให้ผู้ร่วมงานมีความสุขมีความพอใจ ที่จะให้ความ ร่วมมือและทำงานร่วมกบั ผู้บริหาร เพือ่ ใหง้ านขององคก์ รนน้ั ๆ สำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี แนวคดิ 1. ปจั จยั ทางการบริหารทงั้ หลายคนถอื เป็นปจั จยั ทางการบริหารทสี่ ำคัญทีส่ ดุ 2. การบรหิ ารงานบคุ คลจะมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลผบู้ ริหารจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจและ มีความสามารถสูงในการบรหิ ารงานบคุ คล 3. การจดั บุคลากรให้ปฏิบตั งิ านได้เหมาะสมกับความรูค้ วามสามารถจะมีส่วนทำใหบ้ ุคลากร มีขวัญ กำลังใจ มคี วามสุขในการปฏิบัติงาน ส่งผลใหง้ านประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธภิ าพ 4. การพฒั นาบคุ ลากรให้มีความรู้ความสามารถอย่างสม่ำเสมอและตอ่ เนื่องจะทำให้บคุ ลากร เปล่ยี นแปลงพฤติกรรมและกระตือรือรน้ พัฒนางานให้ดียง่ิ ขึน้ 5. การบรหิ ารงานบุคคลเนน้ การมสี ว่ นร่วมของบุคลากรและผ้มู สี ่วนไดเ้ สียเป็นสำคัญ ขอบขา่ ยงานบุคลากร 1. สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มปี ระสทิ ธิภาพ 2. สง่ เสริมให้บคุ ลากรในโรงเรียนปฏิบัตติ ามในหน้าทต่ี ามมาตรฐานวชิ าชีพ และจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู 3. สง่ เสริมการประชาสมั พันธข์ ้อมลู ข่าวสารของบุคลากรภายในโรงเรยี นแกผ่ เู้ กีย่ วข้องอยา่ งทวั่ ถงึ และมีประสทิ ธภิ าพ 4. สง่ เสรมิ และสนับสนุนใหค้ รูและบคุ ลากรไดร้ ับการพัฒนาตามสมรรถนะวชิ าชีพครู 5. ประสานความรว่ มมือระหว่างโรงเรียน ผปู้ กครอง และชมุ ชน ในการพฒั นาโรงเรียน 6. สง่ เสริมใหค้ ณะครปู ฏิบตั ิหน้าทดี่ ้วยความซื่อสตั ยส์ จุ รติ 7. ส่งเสริมให้คณะครปู ฏบิ ตั ิตนในการดำเนนิ ชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกจิ พอเพียง เปา้ หมาย (Goals) ปกี ารศึกษา 2562 – 2565 1. สง่ เสริมและพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธภิ าพ 2. สง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรในโรงเรยี นปฏิบัตติ ามในหนา้ ทต่ี ามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณ วิชาชีพครู 3. ส่งเสริมการประชาสัมพนั ธ์ข้อมลู ข่าวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแก่ผู้เก่ยี วข้องอย่างทัว่ ถงึ และมีประสิทธภิ าพ 4. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหค้ รแู ละบคุ ลากรได้รับการพฒั นาตามสมรรถนะวิชาชีพครู

2 5. ประสานความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรยี น ผปู้ กครอง และชมุ ชน ในการพฒั นาโรงเรียน 6. ส่งเสริมใหค้ ณะครปู ฏิบตั หิ น้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สจุ รติ 7. ส่งเสริมใหค้ ณะครูปฏิบัตติ นในการดำเนนิ ชีวิตโดยยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพียง วางแผนอตั รากำลงั /การกำหนดตำแหน่ง มีหนา้ ท่ี 1. จดั ทำแผนงาน/โครงการ แผนปฏิบัตงิ านประจำปแี ละปฏทิ ินปฏิบัตงิ าน 2. จัดทำแผนงานอตั รากำลังครู / การกำหนดตำแหน่งและความต้องการครูในสาขาทโ่ี รงเรียนมี ความต้องการ 3. จัดทำรายงานอัตรากำลังครตู ่อหนว่ ยงานตน้ สังกดั การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตง้ั มหี นา้ ที่ 1. วางแผนดำเนนิ การสรรหาและเลือกสรรและกำหนดรายละเอียดแผนปฏบิ ตั งิ าน 2. กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการสรรหาการเลือกสรรคุณสมบัตขิ องบุคคลท่รี บั สมคั ร 3. จดั ทำประกาศรับสมัคร 4. รบั สมัคร 5. การตรวจสอบคุณสมบัติผ้สู มัคร 6. ประกาศรายช่อื ผมู้ ีสิทธิรบั การประเมนิ 7. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ การสรรหาและเลอื กสรร 8. สอบคัดเลือก 9. ประกาศรายชือ่ ผู้ผ่านการเลือกสรร 10. การเรยี กผ้ทู ่ีผ่านการคัดเลือกมารายงานตัว 11. จดั ทำรายตอ่ หน่วยงานต้นสงั กัด การพัฒนาบคุ ลากร มีหนา้ ที่ 1. จดั ทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการประจำปี 2. สำรวจความตอ้ งการในการพัฒนาครแู ละบุคลากรในโรงเรียน 3. จดั ทำแผนพฒั นาตนเองของครูและบคุ ลากรในโรงเรียน 4. สง่ เสริมและสนับสนุนใหค้ รแู ละบคุ ลากรได้รบั การพฒั นา 5. จดั ทำแฟ้มบุคลากรในโรงเรียน 6. ติดตาม ประเมินผล สรปุ รายงานผลการปฏิบัติงานเสนอผอู้ ำนวยการ 7. งานอ่ืน ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย

3 การเล่อื นข้นั เงินเดอื น มหี นา้ ท่ี 1. จัดทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการประจำปี 2. นเิ ทศ ติดตามผลการปฏิบัติงานของครแู ละบุคลากรในโรงเรียน 3. ประชมุ คณะกรรมการในการพิจารณาเลื่อนข้นั เงินเดอื นประจำปี 4. จัดทำบัญชีผู้ทีไ่ ดร้ บั การพจิ ารณาเลอื่ นข้ันประจำปโี ดยยึดหลักความโปรง่ ใส คุณธรรมจรยิ ธรรม และการปฏิบัติงานท่ีรับผิดชอบ 5. แต่งต้ังผูท้ ่ไี ดร้ บั การเล่อื นขั้นเงินเดือนรายงานต่อตน้ สังกัด เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ มีหน้าที่ 1. จัดรวบรวมเอกสารในการเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ 2. สำรวจความตอ้ งการขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ของคณะครูและบคุ ลากร 3. สง่ เสรมิ และสนับสนุนขอพระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ของคณะครูและบุคลากรในโรงเรียน 4. จัดทำแฟ้มข้อมูลการไดร้ บั พระราชทานเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณข์ องคณะครูและบคุ ลากรในโรงเรยี น วนิ ัยและการรกั ษาวินัย มีหน้าที่ 1. จดั รวบรวมเอกสารเก่ียววนิ ยั และการรักษาวนิ ยั ของข้าราชการครูและบุคลากรในโรงเรียน 2. จดั ทำแฟ้มขอ้ มลู เกย่ี วกบั การทำผดิ เกย่ี วกับวนิ ยั ของขา้ ราชการครูและบุคลากรในโรงเรยี น สวสั ดกิ ารครู มหี นา้ ที่ 1. วางแผนดำเนินงานเกยี่ วกับสวสั ดกิ ารของครูและบุคลากรในโรงเรียน 2. มอบของขวัญเป็นกำลงั ใจในวันสำคญั ตา่ ง ๆ วนั เกดิ แสดงความยนิ ดีท่ผี า่ นการประเมินครู ชำนาญการพเิ ศษของครูและบคุ ลากรในโรงเรียน 3. ซอ้ื ของเยย่ี มไข้เมื่อเจ็บป่วยหรือนอนพักรักษาตวั ในโรงพยาบาล สำมะโนนักเรยี น/รบั นักเรียน มีหน้าท่ี 1. วางแผนในการจดั ทำสำมะโนนักเรยี น 2. สำมะโนนักเรยี นในเขตอำเภอวาปีปทมุ ซึ่งเปน็ เขตบรกิ ารของโรงเรยี น 3. จัดทำเอกสารการรบั สมัครนกั เรียนชน้ั อนุบาลปที ี่ 2 และช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 4. เปดิ รับสมัครนักเรียนชนั้ อนุบาลปที ี่ 2 และชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 5. จดั ทำแฟ้มนักเรียน ชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 และชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 6. สรปุ การจัดทำสำมะโนนกั เรยี นรายงานหนว่ ยงานตน้ สงั กดั

4 การปฏิบตั ริ าชการของข้าราชการครู 1. การลา การลาแบง่ ออกเป็น 9 ประเภท คือ 1. การลาปว่ ย 2. การลาคลอดบตุ ร 3. การลากิจส่วนตวั 4. การลาพักผ่อน 5. การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพธิ ีฮจั ย์ 6. การลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรอื เข้ารบั การเตรียมพล 7. การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏบิ ตั กิ ารวจิ ัย 8. การลาไปปฏบิ ัตงิ านในองค์การระหวา่ งประเทศ 9. การลาติดตามคสู่ มรส การลาป่วย ข้าราชการซงึ่ ประสงคจ์ ะลาป่วยเพื่อรักษาตวั ให้เสนอหรอื จัดสง่ ใบลาต่อผู้บงั คบั บัญชา ตามลำดบั จนถงึ ผูม้ ีอำนาจอนุญาตก่อนหรือในวันทีล่ าเว้นแตใ่ นกรณจี ำเปน็ จะเสนอหรือจัดสง่ ใบลา ในวันแรก ท่มี าปฏบิ ัติราชการก็ได้ ในกรณีทข่ี า้ ราชการผูข้ อลามีอาการปว่ ยจนไม่สามารถจะลงชื่อในใบลาไดจ้ ะใหผ้ ้อู ่ืน ลาแทนก็ได้ แต่เม่ือสามารถลงชือ่ ได้แล้วใหเ้ สนอหรอื จัดสง่ ใบลาโดยเรว็ การลาป่วยตงั้ แต่ 30 วันข้ึนไป ต้อง มใี บรบั รองของแพทยซ์ ึง่ เปน็ ผู้ที่ไดข้ ้ึนทะเบียนและ รบั ใบอนุญาตเป็นผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกบั ใบลาดว้ ย ในกรณจี ำเป็นหรือเห็นสมควรผู้มีอำนาจอนุญาตจะสั่งให้ใช้ใบรับรองของแพทยซ์ ่ึงผมู้ ีอำนาจ อนญุ าตเหน็ ชอบแทนก็ได้ การลาป่วยไม่ถึง 30 วัน ไมว่ า่ จะเปน็ การลาครงั้ เดียวหรอื หลายคร้ังติดต่อกัน ถา้ ผ้มู อี ำนาจ อนุญาตเห็นสมควร จะสัง่ ใหม้ ใี บรบั รองแพทย์ตามวรรคสามประกอบใบลา หรอื ส่งั ใหผ้ ูล้ าไปรับ การ ตรวจจากแพทย์ของทางราชการเพ่ือประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได้ การลาคลอดบตุ ร ขา้ ราชการซง่ึ ประสงค์จะลาคลอดบตุ ร ใหเ้ สนอหรอื จัดสง่ ใบลาต่อผู้บงั คับบัญชา ตามลำดบั จนถึงผู้มีอำนาจอนญุ าตก่อนหรือในวันทล่ี า เว้นแตไ่ ม่สามารถจะลงชอ่ื ในใบลาได้ จะให้ผู้อื่นลา แทน ก็ได้ แตเ่ มื่อสามารถลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรอื จัดสง่ ใบลาโดยเรว็ และมสี ทิ ธิลาคลอดบุตรโดยได้รับ เงินเดือนคร้ังหนึ่งได้ การลาคลอดบุตรจะลาในวันที่คลอดก่อนหรอื หลงั วนั ท่คี ลอดบุตรก็ได้ แตเ่ ม่อื รวมวันลา แลว้ ต้องไม่เกิน 90 วัน การลากิจสว่ นตวั ขา้ ราชการซ่งึ ประสงค์จะลากิจส่วนตัว ให้เสนอหรอื จัดส่งใบลาต่อผบู้ ังคบั บัญชา ตามลำดบั จนถึงผู้มีอำนาจอนุญาต และเม่ือไดร้ ับอนญุ าตแลว้ จึงจะหยดุ ราชการได้ เว้นแตม่ เี หตจุ ำเปน็ ไม่ สามารถรอรับอนญุ าตได้ทันจะเสนอหรือจัดสง่ ใบลาพรอ้ มด้วยระบเุ หตุจำเปน็ ไวแ้ ลว้ หยุดราชการ ไปก่อน ก็ได้ แต่จะต้องชี้แจงเหตุผลใหผ้ มู้ ีอำนาจอนุญาตทราบโดยเรว็ ในกรณีมีเหตุพิเศษท่ีไมอ่ าจเสนอหรือจัดส่ง ใบลาก่อนตามวรรคหน่ึงได้ ใหเ้ สนอหรือจัดส่ง ใบลาพรอ้ มท้งั เหตุผลความจำเปน็ ต่อผ้บู ังคับบัญชาตามลำดบั จนถึงผูม้ ีอำนาจอนุญาตทันทีในวนั แรก ท่มี าปฏิบัตริ าชการ ขา้ ราชการมีสทิ ธลิ ากิจส่วนตัว โดยได้รับ เงินเดอื นปลี ะไมเ่ กิน 45 วันทำการ ขา้ ราชการทีล่ าคลอดบตุ รตามข้อ 18 แลว้ หากประสงคจ์ ะลากจิ สว่ นตวั เพ่อื เลีย้ งดบู ตุ รให้มี สิทธลิ าตอ่ เน่ืองจากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกนิ 150 วนั ทำการ โดยไม่มสี ิทธไิ ด้รับ เงินเดอื นระหว่างลา

5 การลาพักผ่อน ขา้ ราชการมสี ทิ ธลิ าพกั ผอ่ นประจำปใี นปหี นงึ่ ได้ 10 วันทำการ เว้นแตข่ ้าราชการ ดงั ต่อไปน้ี ไม่มีสิทธิลาพักผ่อนประจำปใี นปที ่ีไดร้ บั บรรจเุ ข้ารับราชการยังไม่ถึง 6 เดือน 1. ผู้ซงึ่ ได้รับบรรจเุ ขา้ รบั ราชการเปน็ ข้าราชการคร้ังแรก ผูซ้ ึ่งลาออกจากราชการเพราะเหตุส่วนตัว แลว้ ตอ่ มาไดร้ บั บรรจเุ ข้ารบั ราชการอีก 2. ผู้ซ่งึ ลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือเพื่อสมัครรบั เลือกต้ัง แล้ว ต่อมาได้รับบรรจเุ ข้ารับราชการอกี หลงั 6 เดือน นบั แต่วันออกจากราชการ 3. ผซู้ ่ึงถกู สั่งให้ออกจากราชการในกรณีอื่น นอกจากกรณีไปรบั ราชการทหารตามกฎหมาย ว่าด้วย การรบั ราชการทหารและกรณไี ปปฏบิ ตั งิ านใด ๆ ตามความประสงค์ของทางราชการ แล้วต่อมา ไดร้ บั บรรจุ เข้ารบั ราชการอีกถ้าในปีใดขา้ ราชการผูใ้ ดมไิ ดล้ าพักผอ่ นประจำปีหรอื ลาพกั ผ่อนประจำปี แล้วแตไ่ มค่ รบ 10 วนั ทำการ ใหส้ ะสมวันทย่ี งั มิได้ลาในปนี ัน้ รวมเขา้ กับปีตอ่ ๆ ไปได้ แตว่ นั ลาพักผอ่ น สะสมรวมกับวันลา พักผอ่ นในปีปัจจบุ นั จะตอ้ งไม่เกิน 20 วนั ทำการ สำหรบั ผูท้ ่ีไดร้ ับราชการตดิ ต่อกนั มาแล้วไม่น้อยกวา่ 10 ปี ใหม้ ีสิทธนิ ำวนั ลาพกั ผ่อนสะสม รวมกบั วนั ลาพกั ผ่อนในปีปัจจบุ นั ได้ไม่เกนิ 30 วนั ทำการ การลาอุปสมบทหรอื การลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ขา้ ราชการซ่งึ ประสงค์จะลาอุปสมบทใน พระพทุ ธศาสนา หรือขา้ ราชการทีน่ ับถือศาสนา อสิ ลามซ่ึงประสงคจ์ ะลาไปประกอบพิธีฮจั ย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบยี ให้เสนอหรอื จดั สง่ ใบลาตอ่ ผู้บงั คบั บัญชาตามลำดับจนถงึ ผ้มู ีอำนาจพิจารณาหรือ อนุญาตกอ่ นวนั อุปสมบท หรือก่อนวนั เดนิ ทางไปประกอบพิธฮี จั ย์ไมน่ ้อยกวา่ 60 วนั ในกรณมี ีเหตุพเิ ศษไม่ อาจเสนอหรือจัดสง่ ใบลาก่อนตามวรรคหนง่ึ ใหช้ ้แี จงเหตผุ ลความ จำเป็นประกอบการลา และใหอ้ ยู่ใน ดุลพนิ ิจของผู้มีอำนาจที่จะพจิ ารณาให้ลาหรือไม่ก็ได้ ข้าราชการท่ไี ดร้ ับพระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้ ลาอุปสมบทหรือได้รบั อนญุ าตให้ลาไป ประกอบพิธีฮัจย์แล้วจะต้องอปุ สมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพิธี ฮัจยภ์ ายใน 10 วนั นบั แต่ วันเร่ิมลา และจะต้องกลบั มารายงานตัวเขา้ ปฏบิ ัติราชการภายใน 5 วัน นบั แต่ วนั ทีล่ าสิกขา หรือ วนั ทเ่ี ดนิ ทางกลบั ถึงประเทศไทยหลังจากการเดินทางไปประกอบพธิ ีฮัจย์ การลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรอื เขา้ รับการเตรยี มพล ขา้ ราชการท่ีไดร้ บั หมายเรียกเข้ารับการ ตรวจเลอื ก ใหร้ ายงานลาต่อผู้บงั คับบญั ชาก่อนวนั เขา้ รับการตรวจเลือกไม่น้อยกว่า 48 ชวั่ โมง สว่ น ขา้ ราชการที่ไดร้ ับหมายเรยี กเข้ารบั การเตรียมพล ใหร้ ายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาภายใน 48 ชั่วโมง นบั แต่ เวลารับหมายเรียกเป็นต้นไป และให้ไปเข้า รับการตรวจเลอื กหรือเข้ารบั การเตรยี มพลตามวันเวลาใน หมายเรยี กน้นั โดยไม่ตอ้ งรอรับคำส่ัง อนุญาต และใหผ้ ู้บงั คับบญั ชาเสนอรายงานลาไปตามลำดับจนถงึ หัวหน้าสว่ นราชการ หรือหัวหนา้ ส่วนราชการขน้ึ ตรง การลาไปศึกษา ฝึกอบรมดูงาน หรือปฏบิ ัติการวิจัย ข้าราชการซ่งึ ประสงคจ์ ะลาไปศึกษาฝึกอบรม ดูงาน หรอื ปฏิบตั กิ ารวิจยั ณ ตา่ งประเทศ ใหเ้ สนอหรือจดั สง่ ใบลาต่อผู้บงั คับบญั ชาตามลำดบั จนถึง ปลัดกระทรวงหรือหวั หนา้ สว่ นราชการขึ้นตรงเพือ่ พิจารณาอนญุ าตสำหรบั การลาไปศึกษาฝกึ อบรมดูงาน หรอื ปฏิบัตกิ ารวจิ ยั ในประเทศให้เสนอหรือจดั สง่ ใบลาตามลำดับจนถงึ หัวหน้าส่วนราชการ หรือหวั หน้าส่วน ราชการข้ึนตรงเพ่อื พจิ ารณาอนุญาต เวน้ แต่ขา้ ราชการกรุงเทพมหานครให้เสนอหรือจดั สง่ ใบลาต่อปลัด กรงุ เทพมหานคร สำหรบั หวั หน้า สว่ นราชการใหเ้ สนอหรือจัดสง่ ใบลาต่อปลดั กระทรวง หัวหน้าสว่ น

6 ราชการขึน้ ตรงและขา้ ราชการ ในราชบณั ฑติ ยสถานใหเ้ สนอหรือจดั สง่ ใบลาต่อรฐั มนตรีเจ้าสังกดั ส่วนปลัดกรุงเทพมหานครให้เสนอ หรอื จัดสง่ ใบลาต่อผ้วู า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร เพ่ือพจิ ารณาอนุญาต การลาไปปฏิบัตงิ านในองคก์ ารระหว่างประเทศ ข้าราชการซึง่ ประสงคจ์ ะลาไปปฏบิ ตั งิ านใน องค์การระหว่างประเทศ ใหเ้ สนอหรอื จดั สง่ ใบลา ต่อผบู้ งั คับบญั ชาตามลำดบั จนถึงรัฐมนตรเี จ้าสงั กัดเพื่อ พจิ ารณา โดยถือปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์ ท่กี ำหนด การลาตดิ ตามคสู่ มรส ข้าราชการซึง่ ประสงคต์ ดิ ตามคู่สมรสให้เสนอหรือจดั สง่ ใบลาต่อ ผูบ้ ังคบั บญั ชาตามลำดบั จนถึงปลัดกระทรวงหรอื หวั หน้าส่วนราชการข้นึ ตรงแลว้ แต่กรณี เพอื่ พิจารณา อนญุ าตให้ลาได้ไม่เกนิ สองปีและในกรณีจำเป็นอาจอนุญาตใหล้ าได้อีกสองปี แตเ่ มื่อรวมแล้วตอ้ งไม่เกินสี่ปี ถ้าเกินสป่ี ี ให้ลาออกจากราชการสำหรับปลดั กระทรวง หัวหนา้ สว่ นราชการขน้ึ ตรง และขา้ ราชการ ใน ราชบณั ฑติ ยสถานใหเ้ สนอหรือจัดสง่ ใบลาต่อรฐั มนตรีเจา้ สังกัด สว่ นปลัดกรงุ เทพมหานครใหเ้ สนอ หรอื จัดสง่ ใบลาต่อผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานครเพื่อพิจารณาอนุญาต วนิ ยั และการดำเนนิ การทางวนิ ัย วินยั : การควบคุมความประพฤติของคนในองค์กรใหเ้ ป็นไปตามแบบแผนท่พี ึงประสงค์ วินัยขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา : ขอ้ บญั ญัติที่กำหนดเป็นข้อห้ามและ ข้อปฏิบัติตาม หมวด 6 แหง่ พระราชบัญญัติระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แก้ไข เพม่ิ เติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 โทษทางวนิ ยั มี 5 สถาน คือ วนิ ยั ไมร่ ้ายแรง มีดังนี้ 1. ภาคทณั ฑ์ 2. ตดั เงนิ เดือน 3. ลดขนั้ เงนิ เดอื น วนิ ยั ร้ายแรง มีดังน้ี 4. ปลดออก 5. ไล่ออก การวา่ กล่าวตกั เตือนหรือการทำทัณฑ์บนไมถ่ ือวา่ เป็นโทษทางวนิ ัยใชใ้ นกรณที เี่ ป็นความผิด เล็กนอ้ ย และมเี หตุอนั ควรงดโทษ การวา่ กล่าวตักเตือนไม่ต้องทำเป็นหนงั สือ แตก่ ารทำทัณฑบ์ นตอ้ งทำเป็นหนังสอื (มาตรา 100 วรรคสอง) โทษภาคทัณฑ์ ใชล้ งโทษในกรณีท่ีเป็นความผิดเลก็ นอ้ ยหรือมีเหตุอันควรลดหย่อน โทษภาคทัณฑ์ไมต่ ้องห้ามการ เลื่อนขนั้ เงนิ เดือน โทษตดั เงนิ เดือนและลดขั้นเงินเดอื น ใช้ลงโทษในความผดิ ท่ีไม่ถงึ กับเป็นความผดิ ร้ายแรง และไมใ่ ช่กรณีท่ีเป็นความผดิ เล็กน้อย โทษปลดออกและไล่ออก

7 ใช้ลงโทษในกรณีทเี่ ปน็ ความผิดวนิ ยั ร้ายแรงเทา่ นั้น การลดโทษความผิดวนิ ยั รา้ ยแรง ห้ามลดโทษตำ่ กว่าปลดออก ผู้ถูกลงโทษปลดออกมสี ทิ ธไิ ด้รับบำเหนจ็ บำนาญเสมือนลาออก การสั่งให้ออกจากราชการไม่ใช่โทษทางวนิ ัย วนิ ยั ไมร่ า้ ยแรง ไดแ้ ก่ 1. ไมส่ นบั สนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ 2. ไมป่ ฏิบัตหิ นา้ ทีร่ าชการดว้ ยความซอ่ื สัตยส์ จุ ริต เสมอภาค และเทยี่ งธรรม ต้องมีความวริ ิยะ อตุ สาหะขยันหมัน่ เพยี ร ดแู ลเอาใจใส่ รักษาประโยชนข์ องทางราชการ และต้องปฏิบัตติ น ตามมาตรฐานและ จรรยาบรรณวิชาชพี 3. อาศัยหรือยอมใหผ้ อู้ ่นื อาศัยอำนาจและหน้าทีร่ าชการของตนไมว่ า่ จะโดยทางตรง หรือ ทางออ้ ม หาประโยชน์ให้แกต่ นเองและผ้อู ืน่ 4. ไม่ปฏบิ ตั ิหนา้ ทร่ี าชการให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและ หนว่ ยงาน การศกึ ษามติครม. หรอื นโยบายของรัฐบาลโดยถือประโยชนส์ งู สดุ ของผู้เรยี น และไม่ให้ เกดิ ความเสียหายแก่ ราชการ 5. ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคำสงั่ ของผู้บังคับบญั ชาซง่ึ ส่งั ในหน้าที่ราชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและ ระเบยี บ ของทางราชการแตถ่ า้ เห็นว่าการปฏบิ ตั ติ ามคำส่ังน้ันจะทำให้เสยี หายแก่ราชการ หรือจะ เป็นการไมร่ ักษา ประโยชน์ของทางราชการจะเสนอความเห็นเป็นหนังสือภายใน 7 วัน เพือ่ ให้ผบู้ ังคบั บัญชาทบทวนคำส่งั ก็ได้ และเมื่อเสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บงั คบั บญั ชายืนยันเปน็ หนังสือให้ปฏบิ ัติ ตามคำสัง่ เดิม ผอู้ ยใู่ ต้บังคับบัญชา ตอ้ งปฏิบตั ิตาม 6. ไม่ตรงต่อเวลา ไมอ่ ุทศิ เวลาของตนใหแ้ ก่ทางราชการและผเู้ รยี น ละทงิ้ หรือทอดทงิ้ หน้าท่ี ราชการโดยไมม่ เี หตผุ ลอันสมควร 7. ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างทด่ี แี ก่ผ้เู รียนชุมชน สังคม ไมส่ ภุ าพเรียบร้อยและรักษา ความ สามคั คี ไมช่ ่วยเหลอื เกอื้ กูลต่อผ้เู รียนและข้าราชการดว้ ยกัน หรอื ผู้ร่วมงานไมต่ ้อนรบั หรือ ให้ความสะดวก ใหค้ วามเป็นธรรมต่อผูเ้ รยี นและประชาชนผมู้ าติดต่อราชการ 8. กลน่ั แกล้ง กลา่ วหา หรือร้องเรียนผูอ้ น่ื โดยปราศจากความเปน็ จริง 9. กระทำการหรือยอมใหผ้ ู้อ่ืนกระทำการหาประโยชนอ์ นั อาจทำให้เส่ือมเสยี ความเทยี่ งธรรม หรือ เสอื่ มเสียเกยี รติศักดิ์ในตำแหนง่ หน้าทร่ี าชการของตน 10. เปน็ กรรมการผ้จู ัดการ หรือผูจ้ ัดการ หรือดำรงตำแหน่งอน่ื ใดทม่ี ีลกั ษณะงานคล้ายคลงึ กันนน้ั ในห้างห้นุ ส่วนหรือบริษทั 11. ไมว่ างตนเป็นกลางทางการเมอื งในการปฏบิ ัติหน้าท่ี และในการปฏิบตั ิการอ่ืนทเ่ี กยี่ วข้อง กบั ประชาชนอาศยั อำนาจและหน้าทีร่ าชการของตนแสดงการฝักใฝส่ ง่ เสริม เก้ือกลู สนบั สนุนบุคคล กลมุ่ บคุ คล หรือพรรคการเมืองใด 12. กระทำการอนั ใดอนั ได้ช่ือว่าเป็นผูป้ ระพฤติชัว่

8 13. เสริมสร้างและพัฒนาให้ผูอ้ ย่ใู ต้บังคับบัญชามวี นิ ัย ไม่ป้องกันมใิ หผ้ ูอ้ ยู่ใตบ้ งั คบั บญั ชา กระทำ ผิดวินัย หรอื ละเลย หรือมพี ฤตกิ รรมปกป้อง ชว่ ยเหลือมใิ ห้ผอู้ ยใู่ ต้บังคับบญั ชาถูกลงโทษทางวินยั หรือปฏบิ ัติ หนา้ ทีด่ ังกล่าวโดยไม่สุจริต วินยั รา้ ยแรง ได้แก่ 1. ทุจรติ ต่อหนา้ ทีร่ าชการ 2. จงใจไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายระเบยี บแบบแผนของทางราชการและหนว่ ยงานการศกึ ษามติครม. หรือนโยบายของรฐั บาลประมาทเลินเล่อหรอื ขาดการเอาใจใสร่ ะมดั ระวังรกั ษาประโยชน์ ของทางราชการอนั เป็นเหตใุ ห้เกิดความเสยี หายแก่ราชการอยา่ งรา้ ยแรง 3. ขดั คำสง่ั หรือหลีกเลย่ี งไมป่ ฏิบัติตามคำสงั่ ของผ้บู ังคับบญั ชาซง่ึ ส่ังในหนา้ ท่รี าชการ โดยชอบด้วยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการอันเป็นเหตุใหเ้ สียหายแกร่ าชการอย่างร้ายแรง 4. ละทิ้งหนา้ ที่หรือทอดท้งิ หนา้ ทรี่ าชการ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรเปน็ เหตใุ หเ้ สยี หายแกร่ าชการ อย่างร้ายแรง 5. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดตอ่ ในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกวา่ 15 วัน โดยไม่มเี หตผุ ลอันสมควร 6. กลั่นแกล้ง ดูหมนิ่ เหยียดหยาม กดข่ี หรอื ข่มเหงผู้เรียนหรอื ประชาชนผมู้ าตดิ ต่อราชการ อย่างร้ายแรง 7. กลนั่ แกลง้ กลา่ วหา หรือร้องเรียนผู้อน่ื โดยปราศจากความเป็นจรงิ เปน็ เหตุให้ผู้อ่นื ได้รับ ความ เสยี หายอย่างร้ายแรง 8. กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการหาประโยชน์อนั อาจทำใหเ้ สื่อมเสยี ความเท่ยี งธรรม หรือ เสอ่ื มเสยี เกียรติศกั ดิ์ในตำแหนง่ หน้าทร่ี าชการโดยมุ่งหมายจะให้เปน็ การซือ้ ขายหรอื ให้ได้รบั แตง่ ตงั้ ให้ดำรง ตำแหนง่ หรือวทิ ยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือเป็นการกระทำอันมีลกั ษณะ เป็นการใหห้ รือได้มาซง่ึ ทรพั ย์สนิ หรอื สิทธปิ ระโยชนอ์ ่ืนเพื่อใหต้ นเองหรือผู้อื่นได้รบั การบรรจแุ ละ แต่งต้งั โดยมิชอบ 9. คัดลอกหรือลอกเลยี นผลงานทางวชิ าการของผอู้ ื่นโดยมิชอบหรอื นำเอาผลงานทางวิชาการของ ผอู้ ืน่ หรอื จ้างวาน ใช้ผู้อ่ืนทำผลงานทางวิชาการเพื่อไปใชใ้ นการเสนอขอปรบั ปรงุ การกำหนดตำแหน่ง การ เลอ่ื นตำแหน่ง การเล่ือนวทิ ยฐานะ หรอื การให้ได้รบั เงนิ เดือนในระดับทส่ี งู ข้นึ 10. รว่ มดำเนินการคัดลอกหรือลอกเลยี นผลงานของผู้อน่ื โดยมิชอบ หรอื รับจดั ทำผลงานทาง วิชาการ ไมว่ า่ จะมีค่าตอบแทนหรือไม่เพื่อใหผ้ อู้ น่ื นำผลงานนั้นไปใชป้ ระโยชน์เพ่ือปรับปรุงการกำหนด ตำแหนง่ เลื่อนตำแหน่ง เลื่อนวทิ ยฐานะ หรอื ใหไ้ ด้รบั เงินเดอื นในอันดับทสี่ ูงข้ึน 11. เขา้ ไปเกีย่ วขอ้ งกบั การดำเนินการใด ๆ อันมีลกั ษณะเปน็ การทุจรติ โดยการซื้อสทิ ธิหรอื ขาย เสียงในการเลือกตง้ั สมาชิกรฐั สภา สมาชิกสภาทอ้ งถิ่น ผูบ้ ริหารท้องถ่นิ หรอื การเลือกตั้งอน่ื ท่ีมลี ักษณะเปน็ การส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยรวมทงั้ การสง่ เสรมิ สนบั สนุน หรอื ชกั จูงใหผ้ อู้ นื่ กระทำการ ในลักษณะเดียวกนั 12. กระทำความผิดอาญาจนไดร้ ับโทษจำคุก หรือโทษท่ีหนักกวา่ จำคุกโดยคำพพิ ากษาถึงทส่ี ุด ให้ จำคกุ หรอื ให้รับโทษทหี่ นักกว่าจำคกุ เวน้ แต่เปน็ โทษสำหรับความผดิ ท่ไี ด้กระทำโดยประมาท หรือลหุโทษ หรือกระทำการอื่นใดอนั ไดช้ ือ่ วา่ เป็นผู้ประพฤตชิ วั่ อยา่ งรา้ ยแรง

9 13. เสพยาเสพติด หรือสนับสนุนใหผ้ อู้ ืน่ เสพยาเสพติด 14. เลน่ การพนันเปน็ อาจิณ 15. กระทำการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้เรียนหรือนักศึกษาไม่ว่าจะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ของ ตนหรือไม่ การดำเนนิ การทางวนิ ยั การดำเนินการทางวินัย กระบวนการและขน้ั ตอนการดำเนินการในการออกคำสง่ั ลงโทษ ซึ่งเปน็ ขัน้ ตอนท่ีมลี ำดับก่อนหลงั ต่อเน่อื งกนั อนั ได้แก่ การตั้งเร่ืองกล่าวหาการสบื สวนสอบสวน การพจิ ารณา ความผดิ และกำหนดโทษและการสัง่ ลงโทษรวมทงั้ การดำเนินการต่าง ๆ ในระหว่างการสอบสวนพจิ ารณา เช่น การส่ังพกั การสั่งใหอ้ อกไว้ก่อน เพือ่ รอฟังผลการสอบสวนพจิ ารณา หลกั การดำเนนิ การทางวนิ ยั 1. กรณที ่ีผ้บู งั คับบัญชาพบว่าผู้ใต้บงั คบั บญั ชาผใู้ ดกระทำผิดวินยั โดยมพี ยานหลักฐานในเบือ้ งต้นอยู่ แล้วผูบ้ งั คบั บัญชาก็สามารถดำเนนิ การทางวินัยได้ทนั ที 2. กรณที ม่ี ีการรอ้ งเรียนดว้ ยวาจาใหจ้ ดปากคำ ใหผ้ รู้ ้องเรยี นลงลายมอื ชื่อและวัน เดอื น ปี พรอ้ ม รวบรวมพยานหลักฐานอื่นๆ ประกอบการพจิ ารณาแล้วดำเนินการให้มีการสืบสวนขอ้ เท็จจริง โดยตงั้ กรรมการสืบสวนหรือสั่งให้บุคคลใดไปสบื สวนหากเห็นวา่ มีมลู กต็ ้งั คณะกรรมการสอบสวน ตอ่ ไป 3. กรณมี ีการร้องเรียนเปน็ หนังสือผู้บังคบั บัญชาต้องสืบสวนในเบ้อื งตน้ กอ่ นหากเห็นว่า ไม่มมี ลู กส็ ัง่ ยุติเร่ืองถ้าเหน็ ว่ามมี ลู ก็ตั้งคณะกรรมการสอบสวนต่อไป กรณีหนงั สอื รอ้ งเรยี นไมล่ ง ลายมือช่ือและที่อยูข่ อง ผู้ร้องเรยี นหรือไม่ปรากฏพยานหลกั ฐานทแ่ี น่นอนจะเขา้ ลักษณะของบตั ร สนเท่ห์ มติครม.ห้ามมิให้รับฟัง เพราะจะทำให้ขา้ ราชการเสียขวัญในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ ขัน้ ตอนการดำเนนิ การทางวนิ ัย 1. การตงั้ เรือ่ งกลา่ วหาเป็นการต้ังเรอื่ งดำเนนิ การทางวินัยแก่ข้าราชการเมอ่ื ปรากฏ กรณีมีมลู ท่คี วรกล่าวหาวา่ กระทำผิดวนิ ัยมาตรา 98 กำหนดใหผ้ ้บู งั คับบัญชาแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน เพ่อื ดำเนินการ สอบสวนให้ได้ความจรงิ และความยุติธรรมโดยไม่ชักชา้ ผูต้ ั้งเร่ืองกล่าวหาคือผบู้ ังคับบญั ชาของ ผู้ถกู กลา่ วหาความผดิ วนิ ัยไม่ร้ายแรง ผู้บงั คบั บัญชาชนั้ ตน้ คอื ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาสามารถแต่งตัง้ กรรมการสอบสวนข้าราชการในโรงเรยี นทุกคนความผิดวินยั ร้ายแรง ผูบ้ ังคบั บัญชาผมู้ ีอำนาจบรรจุ และ แตง่ ตัง้ ตามมาตรา 53 เป็นผู้มีอำนาจบรรจุและแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน 2. การแจง้ ข้อกลา่ วหา มาตรา 98 กำหนดไวว้ ่า ในการสอบสวนจะต้องแจ้งขอ้ กล่าวหาและสรปุ พยานหลกั ฐาน ที่สนบั สนนุ ข้อกลา่ วหาเท่าทม่ี ใี ห้ผถู้ ูกกล่าวหาทราบ โดยระบหุ รอื ไมร่ ะบุชอื่ พยานก็ไดเ้ พือ่ ให้ ผู้ถูกกลา่ วหามีโอกาสช้ีแจงและนำสืบแก้ข้อกลา่ วหา 3. การสอบสวน คือ การรวบรวมพยานหลกั ฐานและการดำเนนิ การท้ังหลายอ่ืนเพือ่ จะทราบ ข้อเท็จจรงิ และพฤติการณต์ ่าง ๆ หรือพสิ จู นเ์ กีย่ วกับเรือ่ งท่ีกล่าวหาเพื่อให้ได้ความจรงิ และยุตธิ รรม และ เพื่อพจิ ารณาว่าผถู้ กู กล่าวหาได้กระทำผดิ วินัยจริงหรือไมถ่ า้ ผิดจริงก็จะไดล้ งโทษ ขอ้ ยกเวน้ กรณีทเี่ ป็น

10 ความผิดทป่ี รากฏชดั แจ้งตามท่กี ำหนดในกฎ ก.ค.ศ.จะดำเนนิ การ ทางวนิ ยั โดยไม่สอบสวนกไ็ ด้ ความผดิ ท่ปี รากฏชดั แจง้ ตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ. ว่าดว้ ยกรณีความผดิ ทป่ี รากฏชดั แจ้ง พ.ศ. 2549 ก. การกระทำผดิ วนิ ัยอย่างไม่รา้ ยแรงท่ีเปน็ กรณีความผดิ ทีป่ รากฏอยา่ งชดั แจง้ ได้แก่ (1) กระทำความผิดอาญาจนต้องคำพิพากษาถงึ ที่สดุ ว่าผูน้ ัน้ กระทำผดิ และผ้บู ังคับ บญั ชาเห็นวา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำพิพากษาประจกั ษ์ชดั (2) กระทำผดิ วนิ ัยไม่ร้ายแรงและได้รบั สารภาพเป็นหนงั สอื ตอ่ ผบู้ ังคับบัญชาหรอื ให้ถ้อยคำรับ สารภาพตอ่ ผ้มู หี น้าท่ีสืบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนโดยมกี ารบันทึกถ้อยคำเป็นหนังสอื ข. การกระทำผิดวินัยอยา่ งรา้ ยแรงทีเ่ ปน็ กรณคี วามผดิ ทป่ี รากฏชัดแจ้ง ไดแ้ ก่ (1) กระทำความผดิ อาญาจนได้รบั โทษจำคุกหรอื โทษทห่ี นักกวา่ จำคุกโดยคำพพิ ากษาถงึ ทีส่ ุดให้ จำคุกหรือลงโทษท่หี นักกว่าจำคกุ (2) ละท้ิงหนา้ ที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเปน็ เวลาเกนิ กวา่ 15 วนั ผูบ้ ังคับบญั ชา สบื สวนแลว้ เหน็ ว่าไมม่ ีเหตุผลสมควร หรือมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ ของทางราชการ (3) กระทำผดิ วินยั อย่างร้ายแรงและไดร้ บั สารภาพเป็นหนังสือตอ่ ผู้บงั คับบญั ชาหรือให้ ถ้อยคำรบั สารภาพต่อผมู้ หี นา้ ท่ีสืบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบนั ทึกถ้อยคำเป็นหนังสือ การอทุ ธรณ์ มาตรา 121 และมาตรา 122 แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ทาง การศกึ ษา พ.ศ. 2547 บัญญัตใิ ห้ผู้ถกู ลงโทษทางวนิ ยั มสี ิทธอิ ุทธรณค์ ำสง่ั ลงโทษตอ่ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา อ.ก.ค.ศ.ที่ ก.ค.ศ. ตงั้ แลว้ แตก่ รณี ภายใน 30 วนั เงอ่ื นไขในการอทุ ธรณ์ ผอู้ ทุ ธรณ์ ต้องเปน็ ผู้ที่ถกู ลงโทษทางวนิ ยั และไม่พอใจผลของคำสงั่ ลงโทษผอู้ ทุ ธรณ์ ต้องอทุ ธรณเ์ พอ่ื ตนเองเท่านั้น ไม่อาจอุทธรณ์แทนผูอ้ นื่ ได้ ระยะเวลาอุทธรณ์ ภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ที่ไดร้ บั แจ้งคำส่ังลงโทษตอ้ งทำเปน็ หนงั สือ การอุทธรณ์โทษวนิ ัยไมร่ า้ ยแรง การอทุ ธรณ์คำสัง่ โทษภาคทณั ฑ์ ตดั เงนิ เดือน หรอื ลดข้นั เงนิ เดือนท่ีผู้บังคบั บญั ชาส่งั ด้วยอำนาจของตนเอง ต้องอุทธรณต์ อ่ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ท่ีการศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ. ส่วนราชการ เวน้ แต่ การสัง่ ลงโทษตามมติให้อทุ ธรณ์ต่อ ก.ค.ศ. การอุทธรณ์โทษวินยั ร้ายแรง การอทุ ธรณ์คำส่งั ลงโทษปลดออกหรอื ไล่ออกจากราชการตอ้ ง อทุ ธรณ์ต่อก.ค.ศ.ทัง้ นี้การรอ้ งทกุ ข์คำส่ังให้ออกจากราชการหรือคำส่ังพักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ กอ่ นกต็ อ้ งร้องทกุ ข์ตอ่ ก.ค.ศ.เชน่ เดียวกนั การร้องทกุ ข์ หมายถึงผู้ถูกกระทบสิทธหิ รือไม่ได้รับความเป็นธรรมจากคำสัง่ ของฝา่ ยปกครอง หรอื คับข้องใจจากการกระทำของผูบ้ ังคับบัญชาใชส้ ทิ ธริ ้องทกุ ข์ขอความเป็นธรรมขอใหเ้ พกิ ถอนคำส่งั หรือ ทบทวนการกระทำของฝา่ ยปกครองหรอื ของผ้บู ังคับบญั ชา

11 มาตรา 122 และมาตรา 123 แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ.2547บัญญตั ิใหผ้ ู้ถูกส่งั ให้ออกจากราชการมีสทิ ธริ อ้ งทุกขต์ อ่ ก.ค.ศ.และผูซ้ ่งึ ตน เห็นว่าตนไม่ได้รบั ความ เปน็ ธรรมหรอื มีความคับข้องใจเน่อื งจากการกระทำของผบู้ งั คับบญั ชาหรือ กรณีถูกต้งั กรรมการสอบสวนมี สทิ ธริ ้องทกุ ข์ต่ออ.ก.ค.ศ.เขตพื้นท่กี ารศึกษาอ.ก.ค.ศ.ทกี่ .ค.ศ.ต้ังหรือก.ค.ศ.แลว้ แต่กรณภี ายใน30วนั ผมู้ สี ิทธริ อ้ งทุกข์ ได้แก่ ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เหตุทจ่ี ะร้องทุกข์ (1) ถูกสงั่ ใหอ้ อกจากราชการ (2) ถูกส่งั พักราชการ (3) ถูกสง่ั ใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อน (4) ไมไ่ ด้รบั ความเป็นธรรม หรอื คับข้องใจจากการกระทำของผู้บังคบั บัญชา (5) ถูกต้งั กรรมการสอบสวน การเลอ่ื นขัน้ เงนิ เดอื น ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะได้รบั การพิจารณาเลอ่ื นขั้นเงนิ เดือนในแต่ละครัง้ ตอ้ งอยู่ ในเกณฑ์ ดงั น้ี 1. ในครง่ึ ปที ีแ่ ล้วมามผี ลการปฏบิ ัตงิ าน ความประพฤติในการรักษาวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชพี อย่ใู นเกณฑท์ สี่ มควรไดเ้ ลื่อนขัน้ เงนิ เดือน 2. ในครึ่งปที ี่แล้วมาจนถึงวันออกคำส่งั เลื่อนข้นั เงินเดือนไมถ่ กู ลงโทษทางวนิ ยั ทห่ี นักกว่าโทษ ภาคทณั ฑ์ หรือถูกลงโทษในคดีอาญาใหล้ งโทษในความผิดทเี่ ก่ยี วกับการปฏิบัติหนา้ ท่ีราชการ หรอื ความผิด ทีท่ ำให้เสื่อมเสยี เกียรติศกั ด์ิของตำแหน่งหน้าทร่ี าชการของตน ซงึ่ ไม่ไช่ความผิดท่ีได้กระทำ โดยประมาทหรือ ความผดิ ลหโุ ทษ 3. ในคร่งึ ปีทแ่ี ลว้ มาต้องไมถ่ ูกสง่ั พกั ราชการเกินกว่าสองเดือน 4. ในคร่งึ ปที ีแ่ ล้วมาต้องไมข่ าดราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร 5. ในคร่ึงปีท่แี ล้วมาได้รบั การบรรจเุ ข้ารบั ราชการมาแลว้ เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสี่เดือน 6. ในครึ่งปที ่ีแล้วมาถา้ เป็นผไู้ ด้รับอนญุ าตไปศึกษาในประเทศฝกึ อบรมและดูงาน ณ ต่างประเทศต้องได้ปฏิบัตหิ น้าทร่ี าชการในครึ่งปีทแี่ ล้วมาเป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ ส่เี ดอื น 7. ในครึ่งปที ่แี ล้วมาต้องไมล่ าหรอื มาทำงานสายเกินจำนวนครัง้ ที่หวั หนา้ สว่ นราชการกำหนด 8. ในครงึ่ ปีท่ีแล้วมาต้องมเี วลาปฏบิ ัตริ าชการหกเดอื นโดยมวี นั ลาไมเ่ กนิ ยี่สบิ สามวัน แตไ่ ม่รวมวนั ลา ดังต่อไปน้ี 1) ลาอปุ สมบทหรือลาไปประกอบพิธฮี จั ย์ 2) ลาคลอดบตุ รไมเ่ กนิ เก้าสบิ วัน 3) ลาป่วยซึ่งจำเป็นตอ้ งรกั ษาตวั เป็นเวลานานไม่วา่ คราวเดียวหรือหลายคราวรวมกัน ไมเ่ กนิ หกสิบวันทำการ 4) ลาปว่ ยเพราะประสบอนั ตรายในขณะปฏิบัตริ าชการตามหนา้ ท่ีหรือในขณะเดนิ ทางไป หรือกลับ

12 จากการปฏิบตั ิราชการตามหน้าที่ 5) ลาพกั ผ่อน 6) ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารบั การเตรียมพล 7) ลาไปปฏบิ ัตงิ านในองค์การระหวา่ งประเทศ การฝึกอบรมและลาศกึ ษาต่อ การฝกึ อบรม หมายความวา่ การเพิม่ พนู ความรูค้ วามชำนาญ หรือประสบการณด์ ้วยการเรยี น หรือ การวิจยั ตามหลกั สตู รของการฝึกอบรม หรือการสัมมนาอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การดำเนนิ งานตาม โครงการ แลกเปล่ยี นกับต่างประเทศ การไปเสนอผลงานทางวชิ าการ และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทง้ั นีโ้ ดยมไิ ดม้ ี วัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้ได้มาซง่ึ ปริญญาหรอื ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ที่ ก.พ.รับรอง และหมายความรวมถงึ การ ฝกึ ฝนภาษาและการรับคำแนะนำก่อนฝกึ อบรมหรือการดูงานท่เี ปน็ ส่วนหน่ึงของการฝึกอบรมหรอื ตอ่ จาก การฝกึ อบรมน้นั ดว้ ย การดงู าน หมายความวา่ การเพมิ่ พูนความร้แู ละประสบการณ์ด้วยการสงั เกตการณ์ และการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (การดูงานมีระยะเวลาไมเ่ กิน 15 วัน ตามหลกั สูตรหรอื โครงการ หรอื แผนการดูงาน ในต่างประเทศ หากมีระยะเวลาเกินกำหนดให้ดำเนนิ การเป็นการฝึกอบรม) การลาศึกษาตอ่ หมายความว่า การเพม่ิ พูนความรูด้ ว้ ยการเรียนหรือการวิจัยตามหลักสูตรของ สถาบัน การศึกษา หรอื สถาบันวิชาชีพ เพ่อื ให้ได้มาซึ่งปรญิ ญาหรอื ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ที่ ก.พ.รับรองและ หมายความรวมถึงการฝกึ ฝนภาษาและการได้รบั คำแนะนำกอ่ นเข้าศึกษาและการฝึกอบรม หรือการดูงานที่ เปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษาหรอื ต่อจากการศึกษาน้นั ด้วย การออกจากราชการของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาออกจากราชการเมอื่ (มาตรา 107พ.ร.บ.ระเบยี บ ขา้ ราชการครฯู ) 1) ตาย 2) พน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ 3) ลาออกจากราชการและได้รับอนญุ าตใหล้ าออก 4) ถูกสงั่ ใหอ้ อก 5) ถกู สัง่ ลงโทษปลดออกหรือไลอ่ อก 6) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี เวน้ แต่ไดร้ ับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นทีไ่ ม่ต้องมี ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ การลาออกจากราชการ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาผ้ใู ดประสงค์จะลาออกจากราชการ ให้ยนื่ หนังสือลาออกตอ่ ผูบ้ ังคับบญั ชาเพอ่ื ให้ผมู้ ีอำนาจตาม มาตรา 53เปน็ ผพู้ จิ ารณาอนุญาต

13 กรณผี มู้ ีอำนาจตาม มาตรา 53 พิจารณาเห็นว่าจำเปน็ เพ่ือประโยชนแ์ กร่ าชการจะยับยงั้ การอนญุ าต ใหล้ าออกไว้เปน็ เวลาไม่เกนิ 90 วนั นับแตว่ นั ขอลาออกกไ็ ด้ แตต่ อ้ งแจ้งการยบั ยง้ั พร้อมเหตผุ ลใหผ้ ้ขู อ ลาออกทราบ เม่ือครบกำหนดเวลาที่ยับย้งั แลว้ ใหก้ ารลาออกมผี ลต้ังแตว่ ันถดั จากวันครบกำหนดเวลาทยี่ บั ยงั้ ถ้าผู้มอี ำนาจตามมาตรา 53 ไม่ได้อนุญาตและไมไ่ ดย้ บั ยั้งการอนุญาตให้ลาออก ใหก้ ารลาออก มีผลตงั้ แต่วันขอลาออก ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการเพ่ือดำรงตำแหนง่ ทาง การเมืองหรือเพ่ือสมัครรบั เลือกต้งั ใหย้ ่ืนหนงั สอื ลาออกต่อผบู้ ังคบั บัญชา และให้การลาออกมผี ลนับตั้งแตว่ นั ทผี่ ้นู น้ั ขอลาออก ระเบียบ ก.ค.ศ. วา่ ด้วยการลาออกของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2548 ข้อ 3 การย่นื หนังสอื ขอลาออกจากราชการใหย้ น่ื ล่วงหนา้ ก่อนวันขอลาออกไมน่ ้อยกว่า 30 วนั กรณผี มู้ ีอำนาจอนุญาตการลาออกเห็นวา่ มีเหตุผลและความจำเปน็ พิเศษจะอนุญาตเปน็ ลายลกั ษณ์ อกั ษรกอ่ นวันขอลาออกใหผ้ ู้ประสงค์จะลาออกยน่ื หนังสือขอลาออกล่วงหนา้ น้อยกวา่ 30 วนั ก็ได้ หนงั สอื ขอลาออกท่ียน่ื ล่วงหนา้ กอ่ นวันขอลาออกนอ้ ยกว่า 30 วนั โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาตเป็น ลาย ลกั ษณ์อักษรจากผูม้ ีอำนาจอนญุ าต หรอื ทมี่ ิไดร้ ะบุวันขอลาออก ให้ถือวนั ถัดจากวันครบกำหนด 30 วัน นบั แตว่ นั ย่ืนเปน็ วนั ขอลาออก ขอ้ 5 ผ้มู ีอำนาจอนุญาตการลาออกพิจารณาว่าจะส่งั อนญุ าตใหผ้ ูน้ นั้ ลาออกจากราชการหรอื จะส่ัง ยับยง้ั การอนุญาตให้ลาออกใหด้ ำเนินการ ดงั นี้ (1) หากพจิ ารณาเห็นว่าควรอนุญาตใหล้ าออกจากราชการได้ใหม้ ีคำสั่งอนุญาตใหล้ าออก เป็นลาย ลักษณ์อักษรใหเ้ สรจ็ ส้ินก่อนวันขอลาออกแลว้ แจ้งคำส่ังดังกลา่ วให้ผขู้ อลาออกทราบก่อนวนั ขอลาออกดว้ ย (2) หากพจิ ารณาเหน็ ว่าควรยบั ย้งั การอนุญาตให้ลาออกเนื่องจากจำเป็นเพื่อประโยชนแ์ ก่ ราชการ ใหม้ ีคำส่งั ยับย้งั การอนญุ าตให้ลาออกเป็นลายลักษณ์อักษรใหเ้ สร็จสนิ้ กอ่ นวันขอลาออกแลว้ แจ้งคำส่งั ดังกลา่ วพร้อมเหตผุ ลใหผ้ ูข้ อลาออกทราบก่อนวันขอลาออกด้วย ท้ังน้ีการยบั ย้ังการอนุญาต ให้ลาออกใหส้ ่ัง ยับย้ังไว้ไดเ้ ปน็ เวลาไมเ่ กิน 90 วนั และสง่ั ยบั ย้งั ได้เพยี งคร้ังเดยี วจะขยายอีกไมไ่ ด้ เมอ่ื ครบกำหนดเวลาท่ี ยับยั้งแลว้ ใหก้ ารลาออกมีผลตงั้ แต่วันถดั จากวันครบกำหนดเวลาที่ยบั ยงั้ ข้อ 6 กรณีท่ผี ขู้ อลาออกได้ออกจากราชการไปโดยผลของกฎหมาย เนอื่ งจากผมู้ ีอำนาจ อนญุ าตมิได้ มีคำสั่งอนุญาตให้ลาออกและมิไดม้ ีคำสงั่ ยับย้งั การอนุญาตใหล้ าออกก่อนวันขอลาออก หรือเนื่องจากครบ กำหนดเวลายบั ย้ังการอนญุ าตใหล้ าออกให้ผ้มู ีอำนาจอนุญาตมหี นังสือแจ้ง วนั ออกจากราชการให้ผขู้ อ ลาออกทราบภายใน 7 วัน นับแต่วันท่ผี นู้ ้ันออกจากราชการและแจง้ ใหส้ ว่ นราชการท่ีเกี่ยวข้องทราบดว้ ย ข้อ 7 การยื่นหนังสือขอลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือเพื่อสมัครรบั เลือกต้ังใหย้ ื่นตอ่ ผู้บงั คบั บัญชาอยา่ งช้าภายในวนั ทีข่ อลาออกและใหผ้ บู้ ังคบั บัญชาดังกลา่ ว เสนอ หนังสือขอลาออกน้ันต่อผบู้ งั คบั บัญชาช้นั เหนือขนึ้ ไปตามลำดบั จนถึงผมู้ ีอำนาจอนุญาตการลาออก โดยเร็วเมอ่ื ผู้มีอำนาจอนุญาตได้รบั หนังสือขอลาออกแลว้ ให้มคี ำส่ังอนุญาตออกจากราชการไดต้ ั้งแต่ วันทข่ี อ ลาออก

14 5. ครูอัตราจ้าง กรณคี รูอตั ราจ้างที่จา้ งดว้ ยเงินงบประมาณใหป้ ฏิบัตหิ น้าท่ีครู เชน่ ปฏิบตั หิ นา้ ทค่ี รูผู้ชว่ ย ครูพ่ีเลี้ยง หรือปฏบิ ตั หิ น้าท่คี รูทเ่ี รยี กชอื่ ย่างอื่นให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าดว้ ยลกู จ้าง ประจำของส่วน ราชการพ.ศ. 2537 และแนวปฏบิ ตั ิที่ใช้เพือ่ การนั้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook