Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

Published by สุทธิดา แสงมุกดา, 2022-02-25 03:29:56

Description: รายงานเดียวชิ้นที่ 3 นางสุทธิดา แสงมุกดา เลขที่ 21 ห้อง 5

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอื่ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ จดั ทาโดย นางสุทธิดา แสงมกุ ดา เลขที่ 21 ห้อง 5 รหัสนกั ศกึ ษา 646550100-2 เสนอ ดร.กฤษฎาพนั ธ์ พงษบ์ รบิ ูรณ์ รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วทิ ยาลยั บัณฑติ เอเชยี

ก คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพครู วิทยาลัยบณั ฑติ เอเชยี โดยมจี ุดประสงค์ในการศึกษาและรวบรวม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้อ่านได้รู้ความหมายที่ถูกต้อง รวมถึงสามารถนาไป ปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน หรือ นกั เรยี น นักศึกษา ทีก่ าลงั หาข้อมูลเรอ่ื งนี้อยู่ หากมขี ้อแนะนาหรอื ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทา ขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทีน่ ด้ี ว้ ย สุทธิดา แสงมุกดา ผจู้ ัดทา

สารบญั ข เร่อื ง หน้า คานา ก สารบัญ ข คอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ นต็ กับเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 เทคโนโลยแี ละสารสนเทศเพอื่ การเรียนรู้ 8 สอื่ เพื่อการเรียนรู้ 15 หลกั การออกแบบนวตั กรรมและสอ่ื เพื่อการเรยี นรู้ 17 การเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ เครอื ข่ายการเรียนรู้ 21 การจดั การเรียนรูบ้ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ 22 ระบบการสืบค้นผา่ นเครอื ข่ายเพอ่ื การเรยี นรู้ 25 การสบื ค้น และรบั ส่งขอ้ มลู แฟม้ ข้อมลู 26 สารสนเทศเพ่ือใช้ในการจดั การเรยี นรู้ 29 การวเิ คราะห์ปัญหาทเ่ี กิดจากการใช้นวัตกรรม 32 บรรณานุกรม 35

1 คอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอร์เน็ตกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของอนิ เตอร์เนต็ อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุก เคร่ืองท่ัวโลก สามารถติดต่อส่ือสารถึงกันได้ โดยใช้มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลท่ีเป็นหน่ึงเดียว หรือท่ีเรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) ซ่ึงโปรโตคอล ท่ีใช้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีช่ือว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control Protocol/Internet Protocol) พฒั นาการของอนิ เทอร์เน็ต ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหา ทอี่ าจจะเกดิ ขึ้น ดังนน้ั ค.ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทางการทหาร และความ เป็นไปไดใ้ นการถูกโจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์ การถกู ทาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการ ส่ือสารข้อมูล อาจทาให้เกิดปัญหาทางการรบ และในยุคน้ี ระบบคอมพิวเตอร์ ท่ีมีหลากหลายมากมายหลาย แบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร และโปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความคิด ในการวิจัยระบบที่ สามารถเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และแลกเปล่ียนข้อมูล ระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ ตลอดจนสามารถ รบั ส่งขอ้ มูลระหวา่ งกนั ไดอ้ ย่างไมผ่ ิดพลาด แมว้ า่ คอมพวิ เตอรบ์ างเคร่อื ง หรือสายรับส่งสัญญาณ เสียหายหรือ ถูกทาลาย กระทรวงกลาโหมอเมริกัน (DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนท่ีมีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Licklider ได้ทาการ ทดลอง ระบบเครือข่ายท่ีมีช่ือว่า DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) และตอ่ มาได้พฒั นาเป็น INTERNET ในทส่ี ุด

2 อินเทอรเ์ นต็ ในตา่ งประเทศ อินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet (Advanced Research Projects Agency Network) ซง่ึ เป็นหน่วยงานทส่ี ังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรฐั (U.S.Department of Defense – DoD) - ค.ศ.1960 (พ.ศ.2503) ARPA ได้ถกู ก่อตง้ั และได้ถกู พัฒนาเรื่อยมา - ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซ่ึงหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปล่ียนช่ือจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง และในปีค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองท่ีได้ทดลองการเช่ือมต่อ คอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่งเข้าหากันเป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัย สแตนฟอร์ด มหาวิทยาลยั แคลิฟอร์เนยี และมหาวทิ ยาลยั ยูทาห์ เครือขา่ ยทดลองประสบความสาเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายท่ีใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้ โอนหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง ให้แก่ หน่วยการส่ือสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency – ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทางานท่ี รับผิดชอบบริหารเครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนมุ ตั ิมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานท่ใี ช้กับ Internet ซง่ึ เปน็ การทางานโดยอาสาสมัคร ทง้ั สน้ิ - ค.ศ.1983 (พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองในระบบ ทาให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระท่ังปัจจุบัน จึงสังเกตุได้ว่า ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองท่ีจะต่อ internet ได้จะต้องเพ่ิม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกาหนดท่ีทาให้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทกุ platform คุยกนั รเู้ รอื่ งและสอื่ สารกันไดอ้ ย่างถูกต้อง - การกาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีข้ึนเมื่อ ค.ศ.1986 (พ.ศ.2529) เพ่ือสร้าง ฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจดั ทาฐานข้อมูลของตนเอง จึงไมจ่ าเป็นตอ้ งมีฐานขอ้ มูลแบบรวมศนู ย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การ เรียกเว็บ http://www.yonok.ac.th จะไปท่ีตรวจสอบว่ามีช่ือนี้ หรือไม่ ที่http://www.thnic.co.th ซ่ึงมี ฐานข้อมูลของเว็บท่ีลงท้ายด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น- DARPA ได้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เร่ือยมาจนถงึ - ค.ศ.1980 (พ.ศ.2533) และให้ มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation NSF) เข้ามาดแู ลแทนร่วม กับอีกหลายหนว่ ย

3 อนิ เตอร์เน็ตในประเทศไทย - พ.ศ. 2530 ประเทศไทยได้มีการเช่ือมโยงเครือข่ายเตอร์เน็ตครั้งแรก โดยมีจุดประสงค์เพ่ือ เชือ่ มโยงกับมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) เช่ือมโยงกับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลีย แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร เนอ่ื งจากการสง่ ขอ้ มูลลา่ ชา้ - พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (Nectect) ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมมือกันเช่าสายโทรศัพท์เพ่ือต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ แตล่ ะสถาบันเข้าดว้ ยกนั โดยเรียกเครือขา่ ยสมยั นั้นว่า “เครือขา่ ยไทยสาร“ - พ.ศ. 2537 เครือข่ายไทยสารเติบโตขึ้นเร่อื ยๆ และมีหนว่ ยงานต่างๆของราชการเข้ามาเช่ือมต่อใน เครือข่ายมากขึ้นเร่ือยๆ และต่อมาทางหน่ว ยงานเอกชนมีคว ามต้องการใช้บริการมากขึ้น การสื่อสารแห่งประเทศไทย จึงได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชนเปิดให้บริการอินเตอร์เน็ตแก่บิษัทต่างๆ หรือบุคคล ทั่วไปที่สนใจ โดยเรียกบริษัทเอกชนท่ีให้บริการทางอินเตอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ว่า ISP (Internet Service Provider) ใความเป็นจริง ไม่มใี ครเป็นเจา้ ของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกาหนด มาตรฐานใหมต่ ่าง ๆ ผูต้ ดิ สนิ วา่ ส่ิงไหนดี มาตรฐานไหนจะไดร้ ับการยอมรับ คอื ผ้ใู ช้ ที่กระจายอยู่ท่ัวทุกมุมโลก ทไ่ี ด้ทดลองใชม้ าตรฐานเหล่านนั้ และจะใช้ตอ่ ไปหรือไมเ่ ทา่ นั้น สว่ นมาตรฐานเดิมที่เป็นพ้ืนฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข้อมูล การ จะเปล่ยี นแปลงระบบพ้ืนฐาน จึงไมใ่ ช่เรือ่ งงา่ ยนัก หลกั การทางานของอินเทอร์เน็ต การสือ่ สารข้อมลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซง่ึ เปน็ ระเบยี บวธิ ีการสอ่ื สารท่เี ปน็ มาตรฐานของการเช่ือมต่อกาหนดไว้ โปรโตคอลท่เี ปน็ มาตรฐานสาหรับการเช่อื มต่ออนิ เทอร์เนต็ คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ุกเครอ่ื งท่ีเชอื่ มต่อเข้ากับเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตจะต้องมหี มายเลขประจาเคร่ือง ท่ีเรียกวา่ IP Address เพ่ือเอาไวอ้ ้างองิ หรือติดต่อกับเคร่ืองคอมพิวเตอรอ์ น่ื ๆ ในเครอื ขา่ ย ซ่งึ IP ในทนี่ ี้กค็ ือ Internet Protocol ตวั เดยี วกบั ใน TCP/IP น่นั เอง IP address ถูกจัดเป็นตวั เลขชุดหนงึ่ ขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดน้จี ะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 สว่ น ส่วนละ 8 บติ เท่าๆ กัน เวลาเขียนกแ็ ปลงใหเ้ ปน็ เลขฐานสิบกอ่ นเพอ่ื ความง่ายแลว้ เขยี นโดยคั่นแต่ละสว่ นดว้ ยจุด (.) ดังนน้ั ในตวั เลขแต่ละสว่ นนจ้ี งึ มีค่าได้ไมเ่ กิน 256 คอื ต้ังแต่ 0 จนถึง 255 เทา่ นน้ั เชน่ IP address ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของสถาบันราชภฎั สวนดสุ ติ คือ 203.183.233.6 ซง่ึ IP Address ชุดน้ีจะใชเ้ ป็นท่ีอยู่เพ่อื ตดิ ต่อกับเครื่องพิวเตอรอ์ ่นื ๆ ในเครือข่าย

4 บรกิ ารบนอนิ เตอรเ์ น็ต บริการคน้ ขอ้ มูล World Wide Web การนาเสนอข้อมูลในระบบ WWW (World Wide Web) พัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดย ทีมงานจากหอ้ งปฏิบตั กิ ารทางจุลภาคฟิสิกสแ์ หง่ ยุโรป (European Particle Physics Labs) หรือที่รู้จักกัน ใน นาม CERN (Conseil European pour la Recherche Nucleaire) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และได้มี การ พัฒนาภาษาท่ีใช้สนับสนุน การเผยแพร่เอกสารของนักวิจัย หรือเอกสารเว็บ (Web Document) จากเครื่อง แม่ข่าย (Server) ไปยังสถานที่ต่างๆ ในระบบ WWW เรียกว่า ภาษา HTML (Hypertext Markup Language) การเผยแพร่ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ผ่านส่ือประเภทเว็บเพจ (WebPage) เป็นท่ีนิยมกันอย่าง สูงในปัจจุบัน ไม่เฉพาะข้อมูลโฆษณาสินค้า ยังรวมไปถึงข้อมูลทางการแพทย์ การเรียน งานวิจัยต่างๆ เพราะ เขา้ ถึงกลมุ่ ผู้สนใจไดท้ วั่ โลก ตลอดจนข้อมูลทีน่ าเสนอออกไป สามารถเผยแพร่ ไดท้ ้งั ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลภาพ ข้อมูลเสียง และภาพเคลื่อนไหว มีลูกเล่นและเทคนิคการนาเสนอ ท่ีหลากหลาย อันส่งผลให้ระบบ WWW เติบโตเป็นหนึ่ง ในรูปแบบบริการ ท่ีได้รับความนิยมสูงสุดของ ระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งลักษณะเด่นของการ นาเสนอข้อมูลเว็บเพจ คือ สามารถเช่ือมโยงข้อมูลไปยังจุดอ่ืนๆ บนหน้าเว็บได้ ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงไป ยังเว็บอ่ืนๆ ในระบบเครือข่าย อันเป็นท่ีมาของคาว่า HyperText หรือข้อความที่มีความสามารถ มากกว่า ข้อความปกตินั่นเอง จึงมีลักษณะคล้ายกับว่าผู้อ่านเอกสารเว็บ สามารถโต้ตอบกับเอกสารนั้นๆ ด้วยตนเอง ตลอดเวลาทมี่ กี ารใช้งาน เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 1.1. ความหมายและองคป์ ระกอบของเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer net-work) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้า ดว้ ยกนั โดยใช้ส่ือกลางตา่ งๆ เครือข่ายคอมพิวเตอรส์ ามารถแบง่ ออกได้ 6 ประเภท ดงั นี้ 1. เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน (local area network : LAN) 2. เครือขา่ ยนครหลวง หรอื แมน (metropolitan area network : MAN) 3. เครอื ข่ายบริเวณกว้าง หรือแวน (wide area network : WAN) 4. เครือข่ายภายในองค์กร หรอื อนิ ทราเนต็ (intranet) 5. เครือข่ายภายนอกองค์กร หรอื เอก็ ทราเนต็ (extranet) 6. เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต (internet) 1.2. การเลือกใช้ฮารด์ แวรข์ องระบบเครือข่ายขนาดเลก็ 1. อปุ กรณใ์ นระบบเครือขา่ ยขนาดเล็ก 1.1. การ์ดแลน (LAN card) เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีรับส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เคร่ือง หน่ึงไปสคู่ อมพวิ เตอรอ์ กี เคร่อื งหนง่ึ โดยผา่ นสายแลน

5 1.2. ฮบั (hub) เป็นอปุ กรณ์ท่ที าหนา้ ทีเ่ สมือนกับชุมทางขอ้ มูล มีหน้าที่เป็นตัวกลางคอยส่ง ข้อมลู ให้คอมพวิ เตอร์ในเครอื ข่าย 1.3. สวิตช์ (switch) เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณเช่นเดียวกับฮับ แต่ต่างจากฮับ คือ การ รับส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เคร่ืองหนึ่งนั้นจะไม่กระจายไปยังทุกเครื่อง เน่ืองจากข้อมูลจะตรวจสอบก่อนว่า เป็นของเครื่องใด แลว้ จึงสง่ ไปยงั ปลายทาง 1.4. โมเด็ม (modem) เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีแปลงสัญญาณเพ่ือให้สมมารถส่งผ่าน สายโทรศพั ท์ได้ 1.5. อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์ (router) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเชื่อมโยงเครือข่าย หลายเครือข่ายเข้าด้วยกนั เราเตอร์ทาหนา้ ท่เี ลือกเส้นทางทดี่ ที ีส่ ดุ 1.6. สายสัญญาณ (cable) เปน็ อปุ กรณท์ ีท่ าหนา้ ทเี่ ป็นส่อื กลางในการรับสง่ ขอ้ มลู 2. การเชอื่ มต่อระบบเครอื ข่ายขนาดเล็ก 2.1. การเช่ือมต่อเครือข่ายระยะใกล้ หากมีคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายไม่เกินสอง เครอ่ื ง อุปกรณ์ในระบบเครือขา่ ยนอกจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์แล้ว ยังต้องมีการ์ดแลนและสายสัญญาณ โดยไม่ ตอ้ งใชฮ้ บั และสวิตช์ เพราะถ้ามีคอมพิวเตอร์สองเคร่ือง ก็สามารถเชอ่ื ต่อโดยใชส้ ายไขว้ (cross line) 2.2. การเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกล จากข้อกาจัดของเครือข่ายท่ีใช้สายแลนท่ีไม่สามารถ เดนิ สายใหม้ คี วามยาวมากกว่า 100 เมตรได้ จึงต้องหาทางเลอื กสาหรบั ระบบเครอื ข่ายระยะไกล ดังนี้ - แบบท่ี 1 คอื ต้องติดต้ังเครอ่ื งทวนสญั ญาณ (repeater) ไวท้ กุ ๆระยะ 100 เมตร - แบบท่ี 2 คือ ใช้โมเด็มหมุนโทรศัพท์เข้าหากันเมื่อต้องการเช่ือมต่อ เละเม่ือเสร็จสิ้นก็ยกเลิกการ เชื่อมต่อ - แบบท่ี 3 คือ เป็นเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพดีที่สุดในปัจจุบันสายสัญญาณท่ีเลือกใช้ คือ สายใย แกว้ นาแสง สามารถส่งข้อมูลระยะไกลไดแ้ ละมีความเร็วสงู - แบบท่ี 4 คือ ใช้จุดเช่ือมต่อแบบไร้สาย (wireless lan) เป็นการเช่ือมต่อโดยใช้สัญญาณวิทยุทาง อากาศแทนการใชส้ ายโทรศัพท์ - แบบที่ 5 คือ เทคโนโลยี G.SHDSL ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีตระกูล DSL (Digital Subscriber Line) เป็นเทคโนโลยโี มเดม็ ที่ทาใหค้ ูส่ ายทองแดงกลายเป็นสื่อสัญญาณดิจิทลั ความเรว็ สงู - แบบท่ี 6 คือ เทคโนโลยีแบบ ethernet over VDSL เป็นเทคโนโลยีระบบเครือข่ายแบบล่าสุดที่ สามารถจะติดตงั้ ใชง้ านได้เอง สามารถเช่อื มต่อใชก้ ับโทรศพั ท์ได้ 1.3. การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ของระบบเครือขา่ ยขนาดเล็ก 1. ระบบปฏิบัตกิ ารลินกุ ซ์ เซ็นโอเอส (Linux community enterprise operating system) นิยมเรียกย่อว่า CentOS ซ่ึงช่วยประหยัดงบประมาณขององค์กร เน่ืองจาก CentOS เป็นซอฟแวร์ เปิดเผยโค้ด (open source software) ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดโค้ดไปใช้งานโดยไม่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธ์ิ ซอฟต์แวร์ 2. ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ (Windows server) ปัจจุบันถูกพัฒนาเป็น windows Server 2008 ซึ่งออกแบบมาเพ่ือนสนับสนุนระบบเครือข่าย แอพพลิเคช่ันและบริการอ่ืนๆ ที่มีความทันสมัย บนเว็บไซต์

6 อนิ เทอรเ์ น็ตเป็นแหล่งข้อมูลทีท่ ุกคนสามารถเข้าถึงเพื่อค้นหา แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ได้อย่างแทบไม่มี ขีดจากัด การใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือประโยชน์ดังกล่าว จาเป็นท่ีเราจะต้องมีความรู้และทักษะในการค้นหาข้อมูล (Search) รู้จักแหล่งเรียนรู้ และวิธีการนาเสนอข้อมูลความรู้และผลงานอย่างเหมาะสม กิจกรรมน้ีจะช่วยให้ เราสามารถใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลในหัวข้อเร่ืองท่ีนักเรียนสนใจ และเปิดเวทีเพื่อ นาเสนอผลงานของเราบนโลกออนไลน์ได้ (โดยการเลอื กสร้างBlog หรอื Web Page) อินเทอรเ์ น็ตมาใช้ในการศึกษาสามารถทาได้หลายรปู แบบดว้ ยกัน การประยุกต์เน็ตเป็นเครือข่ายท่ีสามารถติดต่อสื่อสารกันได้กับแหล่งที่เช่ือมต่อเข้าด้วยกัน สามารถ สืบค้นข้อมูลได้และมีสถาบันต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนทั่วโลกได้เชื่อมเครือข่ายร่วมกัน จึงเป็นแหล่งท่ีจะ สืบค้นขอ้ มูลเพอื่ นามาศึกษาหาความรู้ได้ การนาอินเทอร์เนต็ ใช้งานเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตทางการศึกษา ดงั นี้ การใช้เครือข่ายเพ่ือการติดต่อส่ือสารเป็นการติดต่อระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เพ่ือส่งรายงาน การบ้าน วิทยานิพนธ์ ในรูปแบบแฟ้มข้อมูล การเป็นสมาชิกกลุ่มสนทนาเพ่ือเป็นเวทีแลกเปล่ียนความคิดเห็น เผยแพร่ ผลงานวจิ ัย ชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกันทางด้านวชิ าการ และแจ้งขา่ วความเคลอ่ื นไหวทางวิชาการ การใช้เครือข่าย เพ่ือการสืบค้นข้อมูลซ่ึงผู้เรียน นักวิจัย และ ผู้สอนสามารถสืบค้นจากฐานข้อมูลทางการศึกษา และOnline Library Catalog ของห้องสมุดต่าง ๆ ท่ีเช่ือมโยงในอินเทอร์เน็ตจากประเทศในทวีปต่าง ๆ ทั่วโลก การใช้ เครอื ข่ายเพอ่ื การสอน หรือการสอนทางไกลโดยผ่านเครือข่าย โดยเปิดเป็นหลักสูตรการสอนในระดับปริญญา และในแบบประกาศนียบัตร เรียกว่าOnline Program ซึ่งผู้เรียนสามารถสมัครและเรียนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ส่วนกิจกรรมการเรียนการสอน เอกสารและการติดต่อต่าง ๆ อยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูล อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การใช้ Internet ในชีวิตประจาวันสง่ ผลในด้านการศึกษา เราต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพ่ือค้นคว้า หาข้อมลู ได้ ไม่วา่ จะเป็น ขอ้ มูลทางวิชาการจากท่ีต่าง ๆ ซ่งึ ในกรณีน้ี อินเตอรเ์ นต็ จะทาหน้าท่ีเหมือนห้องสมุด ขนาดยักษ์ ส่งข้อมูลท่ีเราต้องการ มาให้ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ท่ีบ้านหรือท่ีทางานของเรา ไม่ก่ีวินาทีจาก แหล่งข้อมูลท่ัวโลก ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม ศิลปกรรม สังคมศาสตร์ กฎหมาย ความ บันเทิง และการ พักผ่อนหย่อนใจ หรือสันทนาการ เช่น เลือกอ่านวารสารต่างๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต ท่ีเรียกว่า magazine แบบ online รวมถึงหนังสือพิมพ์ และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบบนจอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับหนงั สือ การใชอ้ นิ เตอร์เน็ตเพอื่ การค้นหาข้อมลู ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เนอื่ งจากขอ้ มลู ที่อย่บู นเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต ในปัจจบุ ันมมี ากมายและกระจัดกระจายอยู่ตามที่ต่างๆ ดังนัน้ ผใู้ ชอ้ ินเตอร์เน็ตจงึ จาเปน็ ต้องเรียนรู้วิธีการใชบ้ รกิ ารอนิ เตอรเ์ นต็ และเลือกใช้ให้เหมาะสม เพื่อการค้นหา ข้อมูลในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล ศึกษา ค้นควา้ และวิจยั ได้หลายวิธีด้วยกนั วิธีที่เป็นทน่ี ยิ มมากท่ีสุดในปัจจบุ นั คอื การสบื คน้ ทางเวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ เนอ่ื งจากสามารถรองรับข้อมูลได้หลายๆ รูปแบบ และเช่ือมโยงข้อมูลที่ เก่ียวเนื่องกันให้เราได้ศึกษาอย่างสะดวกสบาย และมีซอฟต์แวร์ สาหรับอ่านข้อมูลในเว็บที่สมบูรณ์แบบมาก การค้นหาข้อมูล ในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นต้องใช้เครื่องมือช่วยค้น ( Search engine) ซ่ึงซอฟต์แวร์สาหรับอ่านข้อมูลในเว็บ (Web Browser) ส่วนใหญ่บริการเช่ือมต่อกับเคร่ืองมือเหล่าน้ี ไว้ให้แลว้ ผใู้ ช้เพียงแต่กดปุ่มสาหรับเรียกเครื่องมือน้ีขึ้นมา พิมพ์คา หรือข้อความที่ต้องการสืบค้นลงไป เคร่ือง ก็จะแสดงผลการค้น โดยการแสดงชื่อของข้อมูลท่ีเราต้องการศึกษา (Web Page) ซ่ึงถ้าต้องการเข้าไปอ่าน ก็ สามารถกดลงไปบนชื่อนั้นได้เลย ข้อมูลดังกล่าวจะปรากฏบนจอไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครอ่ื งใดในโลกกต็ าม

7 นอกจากน้ีการเข้าใช้คอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืนๆ ท่ีต่ออยู่กับเครือข่าย และมีการอนุญาตให้เข้าไปใช้ได้ เช่น การตดิ ต่อเข้าสเู่ คร่ืองคอมพวิ เตอรข์ องห้องสมุดเพ่อื ค้นหา ยมื ต่อเวลาการยืม หรือการจองหนังสือส่ิงพิมพ์ ต่าง ๆ ก็เป็นที่นิยมกันมาก ปัจจุบันมีห้องสมุดหลายแห่งเปิดให้บริการบริการน้ีสามารถเข้าใช้ได้โดยการ ใช้ คาสั่ง Telnet และตามดว้ ยชอื่ เครือ่ ง หรือหมายเลขของเครอ่ื งแล้วพิมพช์ ื่อในการขอเข้าใช้ (Login) บางเคร่ือง อาจต้องใช้รหัสลับ (Password) ด้วย หลังจากนั้นต้องทาตามคาส่ังที่ปรากฏบนจอ ซ่ึงจะแตกต่างกันไปในแต่ ละระบบของเครื่อง นอกจากห้องสมดุ แล้ว เราอาจจะใชค้ อมพวิ เตอรท์ ่ีเปน็ ฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้ด้วย โดยในบาง ฐานข้อมูล นอกจากผู้ใช้จะเข้าไปค้นหาบทความที่เคยตีพิมพ์ในวารสารต่าง ๆ แล้วยังสามารถใช้บริการพิเศษ อื่น ๆ เช่น บริการส่งอีเมล์แจ้งให้ทราบเกี่ยวกับบทความใหม่ ๆ ท่ีได้ตีพิมพ์ในวารสารการศึกษาที่สนใจเล่ม ล่าสุด โดยต้องมีการกาหนดชื่อของวารสารท่ีสนใจไว้ล่วงหน้า หรือ มีบริการส่งแฟกซ์ บทความน้ันให้แก่ผู้ใช้ที่ สนใจ อินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีบทบาทในยุคน้ี โดยการนาความรู้ การเช่ือมโยงแหล่ง ความรู้มาประกอบกันเพื่อให้ผู้เรียน ที่ต้องการเรียนรู้ให้เข้าถึงได้จึงนับว่าเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษาในการ ใช้สืบค้นข้อมูลต่างๆจากความจาเป็นและความสาคัญของอินเทอร์เน็ตดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษา พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นประโยชน์ต่อสถาบันเพ่ือใช้ในการวางแผนการบริหารจัดการและการลงทุน ด้านเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพอื่ เป็นประโยชนส์ าหรบั ตัวเราเอง การใช้อนิ เทอรเ์ นต็ เพือ่ การศึกษา ยุคแห่งสังคมความรู้เป็นยุคที่นักการศึกษามีบทบาทต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างย่ิง อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางของการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลก เราต่างก้าวหน้าผ่านยุ คแห่ง สังคมข่าวสารมาแล้วซ่ึงทาให้ประจักษ์ได้ว่าข่าวสารต่าง ๆ น้ันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศท้ังด้าน เศรษฐกิจ สังคมการศกึ ษา และอื่น ๆ ไดน้ นั้ ตอ้ งอาศยั ความรู้ในการจัดการ การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามี ความหมายครอบคลุมกิจกรรมด้านการศึกษาที่ถูกวางรูปแบบโ ดยครูผู้ทาหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ผ่านทาง อินเทอร์เน็ต เน่ืองจากรูปแบบการส่ือสารและการควบคุมนักเรียนทางไกลแบบOnline มีลักษณะพิเศษที่ แตกต่างจากการเรียนการสอนในหอ้ งเรียนซึ่งทากนั เปน็ ปกติ ดังนั้นเปา้ หมายของการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตจึง ประกอบดว้ ยวตั ถปุ ระสงคห์ ลัก 3 ประการ ได้แก่การสรา้ งกจิ กรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้เหมาะสมกับระดับผู้เรียนการเสริมทักษะและความรู้เพ่ือให้ครูสามารถดา เนินการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ การกาหนดเป้าหมายการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กิจกรรมการศึกษาในระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ เพราะจานวนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต่อการใช้ อินเทอร์เน็ตเพ่ือการศึกษามีความสัมพันธ์กันในอัตราส่วนที่ลดลงโดยพบว่าข้ันพ้ืนฐานจะมีจา นวนประชากรท่ี ใช้อินเทอร์เน็ตมาก จานวนของผู้ใช้ท่ีมีทักษะ หรือความสามารถในการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตกลับมี จานวนที่ลดลงจากข้อเท็จจริงดังกล่าวทาให้วิธีการท่ีจะสร้างให้มีกิจกรรมเพื่อการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตอย่าง ได้ผล จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องดาเนินการวางแผนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เป็นบริการสาธารณูปโภคของ ประเทศท่ีมีประสิทธิภาพให้ครอบคลุมทุกพื้นท่ีในเวลาอันรวดเร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ซ่ึงปัจจุบันมหาวิทยาลัย ตา่ ง ๆ ได้รบั การสนบั สนนุ จากทบวงหาวิทยาลัย (Uninet) ส่วนโรงเรยี นระดบั มัธยมศึกษาก็ได้รับการสนับสนุน จาก Schoolnet Thailand เช่นกัน การบริการอินเทอร์เน็ตระดับพื้นฐาน แต่ละข้ันจะมีรูปแบบของกิจกรรม การศึกษาทแี่ ตกตา่ งกัน

8 การใช้ระบบเครือข่ายระดับพื้นฐานคือการใช้อินเทอร์เน็ตตามโครงสร้างของสาธารณูปโภคท่ีมีใช้กัน อยใู่ นทกุ แห่งสาเหตุทีจ่ ะทาให้ กลมุ่ ผใู้ ช้ทย่ี ังไมร่ ู้จักเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตเปล่ียนเจตคติมายอมรับเพ่ือเข้าร่วมใน การใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน่าจะเป็นเพราะความสามารถในการส่ือสารระหว่างบุคคล และ ความสามารถของอินเทอร์เน็ตในการเข้าถึงข้อมูลท่ีมีอยู่ในคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืนๆ ทั่วโลกด้วยเวลาอันรวดเร็ว ด้วยเหตนุ ้จี งึ สามารถแบ่งบรกิ ารท่ีมีอยใู่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ว่า เป็นบริการด้านการส่ือสารระหว่างบุคคล ต่อบุคคล และบุคคลต่อกลุ่มบุคคล เป็นบริการเพื่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูล การใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันที่ สามารถนามาเป็นตัวอย่างได้แก่ การใช้ e-mail ในการส่ือสารระหว่างบุคคล การใช้ WWW เพ่ือสืบหาและ เข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆการเข้าถึงแหล่งข้อมูลและความรู้ ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตถูกนามาใช้เพ่ือการสืบค้น ข้อมูลมากท่ีสุด ซึ่งผู้ใช้ที่มีอาชีพแตกต่างกันย่อมใช้บริการที่มีอยู่ในปริมาณต่างกัน บ้างเป็นการสืบค้นข้อมูลท่ี เป็นตัวอักษร บ้างก็เป็นข้อมูลท่ีนาเสนอในรูปแบบของมัลติมีเดีย ท่ีล้วนแต่แปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลแล้ว ทั้งส้ินทางด้านการศึกษา อาจจะคล้ายคลึงกับการไปห้องสมุดท่ีหาตารา วารสาร โดยท่ีมีบรรณารักษ์คอยให้ คาปรึกษา เพ่ือจะได้ข้อมูลและความรู้ท่ีต้องการ การใช้ข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตก็เช่นเดียว เพราะผู้ใช้ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ทันที สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตได้แม้จะอยู่ต่างสถานท่ีก็ตาม เว้นเสียแต่ว่าในการศึกษาครั้งนั้นมีจุดประสงค์แตกต่างกันการร่วมกันใช้ข้อมูล แหล่งความรู้ การร่วมใช้ข้อมูล และแหล่งความรู้เป็นเรื่องปกติของกลุ่มผู้ใช้ท่ีต้องการจะมีประสบการณ์ด้านการแลกเปล่ียนความคิดเห็นและ ขอ้ มูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้จะไม่เพียงแต่มีปฏิสัมพันธ์กับข้อมูลหรือผู้เชี่ยวชาญเพียงลาพัง เท่านน้ั แต่จะเขา้ ร่วมกิจกรรมทางอินเทอรเ์ น็ต เชน่ การแสดงความคิดเห็น การสนทนา ผ่านเครือข่ายกบผู้ท่ีมี ความสนใจในเรื่องเดียวกัน การสมัครเข้าเป็นสมาชิกองค์กรต่าง ๆ เพ่ือร่วมกันใช้ข้อมูลหรือร่วมแสดงความ คิดเห็นการร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ปัจจุบันมีรูปแบบของการร่วมกันในเครือข่ายอยู่ 3 รูปแบบได้แก่ การร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ซึ่งเป็นการท างานระหว่างบุคคล ที่ยังบกพร่องใน รปู แบบท่ีเหมาะสมแม้จะมจี ดุ หมายเพือ่ การใช้ขอ้ มูลร่วมกันก็ตาม ย้อนกลับไปยังประเด็นการศึกษาซ่ึงเป็นการ รวมกันระหว่างการเรียนในโรงเรียนหรือการเรียนทางไกลสาหรับผู้ใหญ่ที่จาเป็นจะต้องมีการสื่อสารกัน ตลอดเวลาครูผู้สอนตอ้ งจดั โปรแกรม กจิ กรรมการเรียนการสอน และการแลกเปล่ยี นขอ้ มูลเพ่ือให้กระบวนการ เรียนรู้ สาหรับการเรียนของนักเรียนก็เช่นกันท่ีต้องจัดให้มีกิจกรรมที่จะร่วมกันทางานกับผู้อื่น เพ่ือให้เกิด บคุ ลิกภาพของการร่วมกนั ทางาน หรอื ต้องการให้สรา้ งสังคมของการเรียนรู้แบบรว่ มมือนัน้ เอง เทคโนโลยแี ละสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ ความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ สงั คมของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงความเป็นอยู่ไปอย่างรวดเร็ว กล่าวกันว่าได้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในลกั ษณะท่เี รยี กว่า การปฏวิ ตั ิ มาแล้วสองคร้ัง ครั้งแรกเกิดจากการท่ีมนุษย์รู้จักใช้ระบบชลประทานเพื่อการเพาะปลูก สังคมของมนุษย์จึงเปล่ียน จากการเรร่ อ่ นมาเปน็ การตงั้ หลักแหล่งเพ่อื ทาการเกษตร ต่อมาเม่ือประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากท่ี เจมส์ วัตต์ ประดิษฐ์ เคร่ืองจักรไอน้า มนุษย์นาเอาเครื่องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิตและการสร้างยานพาหนะเพ่ือการ คมนาคมขนสง่ ผลทตี่ ามมาทาใหเ้ กดิ การปฏิวตั ิทางอุตสาหกรรม

9 ความก้าวหน้าทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพ้ืนฐานการ ดารงชวี ิตได้เป็นอยา่ งดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างท่ีพักอาศัยมีคุณภาพ ผลิตสินค้าและให้บริการต่าง ๆ เพ่ือตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวนมากมีราคาถูกลง สินค้าได้คุณภาพ เทคโนโลยีทาให้มีการติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมถึงกันทาให้ประชากรใน โลกติดตอ่ รับฟงั ขา่ วสารกนั ได้ตลอดเวลา การสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศมกั จะสร้างโดยใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์เป็นหลักเน่ืองจากคอมพิวเตอร์มี ความสามารถและประสิทธิภาพในการจัดการเก็บข้อมูลมากกว่าอุปกรณ์อย่างอ่ืน รวมทั้งยังสามารถคานวณ ประมวลผลข้อมูลได้อย่างรวดเร็วถูกต้องแม่นยา แต่ไม่จาเป็นต้องสร้างมาจากระบบคอมพิวเตอร์เพียงอย่าง เดยี วเราสามารถใช้อุปกรณช์ นดิ อน่ื สร้างระบบสารสนเทศได้ เน่ืองจากคอมพิวเตอร์สามารถทางานและจัดการข้อมูลได้ดีกว่าอุปกรณ์ชนิดอื่น จึงทาให้ คอมพวิ เตอรก์ ลายเปน็ อุปกรณ์สาคญั ในการสรา้ งระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า เป็นเร่ืองที่เก่ียวข้องกับวิถี ความเปน็ อยขู่ องสงั คมสมยั ใหมอ่ ยู่มาก เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อทุกสิ่งทุกอย่างท้ังทางการดาเนินชีวิต เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การศึกษาและอืน่ ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีส่ือสารในรูปแบบ ตา่ ง ๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ลักษณะเด่นที่สาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศคือ ช่วยเพ่ิมผลผลิต ลดต้นทุน และเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการทางาน ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ท่ีได้รับการสรุป คานวณ จัดเรียง หรือประมวล แล้วจากข้อมลู ตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งอยา่ งเป็นระบบตามหลักวิชาการ จนไดเ้ ปน็ ขอ้ ความรู้ เพือ่ นามาเผยแพร่และใช้ ประโยชนใ์ นงานด้านต่าง ๆ เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่างๆ และหาทางนามาประยุกต์ให้เกิด ประโยชน์ เทคโนโลยีจงึ เปน็ ค้าทีม่ ีความหมายกวา้ งไกล เป็นคาทเี่ ราไดพ้ บเหน็ และได้ยนิ อย่ตู ลอดมา เม่ือรวมคาวา่ เทคโนโลยกี ับสารสนเทศเข้าดว้ ยกนั จงึ หมายถงึ เทคโนโลยีท่ีใชจ้ ัดการสารสนเทศ เป็น เทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การ ส่ือสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีท่ีทาให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และ การดูแลข้อมลู ความสาคญั ของสารสนเทศ สารสนเทศแท้จริงแล้วย่อมมีความสาคัญต่อทุกสิ่งท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ด้านการเมือง การปกครอง ด้านการศกึ ษา ด้าน เศรษฐกจิ ด้านสังคม ฯลฯ ในลกั ษณะดังตอ่ ไปน้ี

10 1. ทาให้ผู้บริโภคสารสนเทศเกิดความรู้ (Knowledge) และความเข้าใจ (Understanding) ใน เรื่องดังกล่าวข้างต้น 2. เมื่อเรารู้และเข้าใจในเรื่องที่เก่ียวข้องแล้ว สารสนเทศจะช่วยให้เราสามารถตัดสินใจ (Decision Making) ในเรื่องตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม 3. นอกจากน้ันสารสนเทศ ยังสามารถทาให้เราสามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ที่ เกิดข้ึนได้อย่างถกู ตอ้ ง แม่นยา และรวดเรว็ ทนั เวลากบั สถานการณ์ต่าง ๆ ทเี่ กิดขนึ้ ความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มี 6 ประการ Souter (1999) ไดแ้ ก่ ประการแรก การส่ือสารถือเป็นสิ่งจาเป็นในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ส่ิงสาคัญท่ีมีส่วน ในการพัฒนากิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms) และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) ประการท่ีสอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่า โทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ อินเทอร์เน็ต อีเมล์ ทาให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในท่ี ต่างๆ ได้สะดวก ประการท่ีสาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมผี ลใหง้ านดา้ นต่าง ๆ มรี าคาถูกลง ประการทสี่ ่ี เครอื ขา่ ยส่อื สาร (Communication networks) ได้รบั ประโยชนจ์ ากเครือข่ายภายนอก เน่ืองจากจานวนการใช้เครือข่าย จานวนผู้เชื่อมต่อ และจานวนผู้ท่ีมีศักยภาพในการเข้าเช่ือมต่อกับเครือข่าย นับวันจะเพิ่มสงู ขึ้น ประการท่ีห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารทาให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการ ใช้ ICT มีราคาถกู ลงมาก ประการท่ีหก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อใหเ้ กดิ การวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีกท้ังยังทาให้ วถิ ีการตัดสนิ ใจ หรอื เลอื กทางเลอื กไดล้ ะเอียดขึน้ จะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สาคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลกด้าน ความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัย และการพัฒนาต่างๆ การสอื่ สารดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยีการส่ือสาร (Communication Technology) มีการพัฒนารูปแบบให้สามารถ ติดต่อส่อื สาร ถึงกันไดง้ า่ ย มีหลายรูปแบบ อุปกรณต์ ่างๆ ไดเ้ พ่มิ คณุ สมบตั ิให้สามารถเช่อื มโยงถึงกันได้ การเพมิ่ คุณคา่ ของระบบคอมพิวเตอร์มีมากข้ึนเมอ่ื มกี ารนาเทคโนโลยีการส่ือสารมาประยุกต์เข้าด้วย ระบบกนั ท่ีเรยี กว่า “เครือข่ายคอมพวิ เตอร์” อินเตอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ท่ีเชื่อมต่อกันทั่วโลก โดยมี มาตรฐาน การรับส่งข้อมูลระหว่างกันเป็นหน่ึงเดียว ซ่ึงคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองสามารถรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ได้ หลายรูปแบบ เชน่ ตวั อักษร ภาพกราฟิก และ เสียงได้ รวมท้งั สามารถคน้ หาข้อมูลจากที่ต่างๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว ทาใหก้ ารติดตอ่ ส่ือสารนน้ั เป็นไปอย่างรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ ค่าใช้จ่ายถูกกว่าหลายเท่า นี่เป็น เหตผุ ลหลักทวี่ า่ ทาไมเราต้องใช้อนิ เตอรเ์ น็ตซึ่งนบั เปน็ การปฏิวัติ สงั คมข่าวสารครั้ง ใหญท่ ่ีสุดในยุคของเรา

11 ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต มดี ังน้ี ด้านการศึกษาเราสามารถต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลได้ เหมือนห้องสมุดขนาดยักษ์ ส่งข้อมูลที่เราต้องการมาในเวลาไม่ก่ีวินาทีจากแหล่งข้อมูลท่ัวโลกไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรม ศลิ ปกรรม สงั คมศาสตร์ กฎหมายและอืน่ ๆ ผู้ใช้ท่ีต่อเข้าอินเตอร์เน็ตสามารถรับส่งข้อมูลจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กับผู้ ใช้คนอ่ืนๆ ทั่ว โลกในเวลาอนั รวดเรว็ ด้านธุรกิจและการค้าอินเตอร์เน็ตมีบริการซื้อขายสินค้าผ่านคอมพิวเตอร์เราสามารถเลือกดูสินค้า คณุ สมบตั ติ ่างๆ ผ่านจอคอมพวิ เตอร์ สงั่ ซื้อและจ่ายเงินด้วยบัตรเครดติ ไดท้ นั ทซี งึ่ นับว่าสะดวกและรวดเรว็ มาก เราสามารถสรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นเทคโนโลยีทุกรูปแบบท่ีนามา ประยุกต์ในการประมวลผล การจัดเกบ็ การสอื่ สาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยท่ี ระบบทางกายภาพประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ติดต่อส่ือสาร และระบบเครือข่าย ขณะที่ระบบ นามธรรมเกี่ยวข้องกับการจัดรูปแบบของการมีปฏิสัมพันธ์ด้านสารสนเทศท้ังภายในและภายนอกระบบให้ สามารถดาเนนิ การรว่ มกันได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารกับการเรียนรู้ จากความเปล่ียนแปลงนิยามของการเรียนรู้ ที่หมายถึงการที่บุคคลมีความเข้าใจ รับรู้ปัญหาหรือ เรอ่ื งราวที่ได้ประสบมา ท่ีมีความเก่ียวข้องกับการการเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาบุคคลนั้น ๆ เช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้จากประสบการณ์การทางาน การเรียนรู้ยุคใหม่ต้องมีประสิทธิภาพ และมคี วามเหมาะสมกบั สภาพสังคม ในปัจจุบันการเรียนรู้มุ่งหวังที่จะให้เกิดองค์ความรู้แก่ตัวผู้เรียน โดยมุ่งจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ไม่ใช่แค่การตีกรอบให้ผู้เรียนอยู่เฉพาะแต่ในส่วนท่ีเป็นความต้องการของครูผู้สอนเพียง อยา่ งเดยี ว แต่ตอ้ งใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรยี นรู้มากขนึ้ ด้วย เป้าหมายทางการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่ท่ีการให้การศึกษาแก่ประชาชนเข้าสู่โลกแห่ง เทคโนโลยี โดยเน้นท่ีความรอบรู้ของคนในชาติ การเรียนรู้กับการสร้างสังคมเป็นส่ิงท่ีต้องให้เกิดข้ึนกับคนใน ชาติ การเรียนรู้ต้องรวดเร็ว ใช้เวลาน้อย ต้นทุนต่า และท่ีสาคัญ ความรู้จะมีบทบาทที่สาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ควบคกู่ บั การใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ การปฏิรูปการศกึ ษา มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน คือการสร้างโอกาสให้แก่ผู้เรียนเข้าถึง แหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ได้มากและสะดวกขึ้น ดังน้ันการปฏิรูปการศึกษาจึงต้องใช้ระบบเครือข่าย อนิ เทอร์เนต็ เขา้ มามบี ทบาทในการจัดการเรยี นรู้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดระบบการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนสามารถ ตอบโต้กนั ได้แมว้ า่ จะอยหู่ า่ งกนั ผ้เู รยี นสามารถส่งการบ้านทางอินเทอร์เน็ตได้ ครูสามารถตรวจงานให้คะแนน ได้ แม้กระท่ังการช้ีแนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือใช้ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายมีบทบาทสาคัญยิ่งในการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยช้ันนาของ ต่างประเทศ เช่น ญ่ีปุ่น ฮ่องกง สิงค์โปร์ ให้ความสาคัญอย่างยิ่งกับการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา การนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถใช้ในด้านการศกึ ษา

12 จะชว่ ยพัฒนาการเรียนรู้และอานวยความสะดวกในด้านการสอนและแหล่งการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่มีข้อจากัดในด้านสถานท่ี การสอนโดยใช้ระบบสารสนเทศจะจัดการเรียนรู้ได้ตามความแตกต่างของผู้เรียน ระบบการเรียนรู้ท่ีใช้ในด้านการศึกษามีหลายระบบ เช่น E-learning, e – Book, e – Library และ e – Classroom การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการเรียนรู้เป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาที่ ทาให้คุณเรียนรู้โดยไม่มีข้อจากัดในประเด็นต่าง ๆ เพียงแต่ผู้เรียนรู้ต้องศึกษาวิธีการเพื่อเข้าสู่ระบบท่ีต้องการ ใหถ้ ูกตอ้ ง การบรู ณาการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั การเรยี นรู้ ในโลกปัจจุบัน พบว่าความต้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น เพราะว่าท่ีผ่านมาอาจจะมีการ ตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจามามากแล้ว การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนการสอน ผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยตี ่างๆ ทจ่ี ะนามาใชเ้ พ่อื ชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นไดร้ ับความรใู้ หม่ ซึ่งแต่เดิมมักเป็นการสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยเน้นการท่องจา และปรับเปล่ียนมาสู่การใช้เทคนิค วิธีการท่ีจะช่วยผู้เรียนได้รับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้เทคนิคช่วยการจา เช่น Mnemonics เป็นต้น ความต้องการของการศึกษาในขณะนี้คือ การสอนท่ีผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่ายโยง (Transfer) โดยเน้นการใชว้ ิธกี ารต่าง ๆ อาทิ สถานการณจ์ าลอง การคน้ พบ การแกป้ ัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ สาหรับผู้เรียนจะได้รับ ประสบการณก์ ารแก้ปญั หาที่สอดคลอ้ งกับสภาพชีวิตจริง สาหรับการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ ผู้เขียนจะขอนาเสนอใน รปู แบบต่างๆ ดงั ตอ่ ไปนค้ี ือ 1. สิ่งแวดล้อมทางการเรยี นรู้ (Learning environment) เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ท่ีนาทฤษฎีการเรียนรู้มาเป็นพื้นฐาน การออกแบบรว่ มกับสือ่ หรอื เทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงหลอมรวมทั้งสองสิ่งเข้าไว้ด้วยกัน ท่ีประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่งการเรยี นรชู้ นิดต่างๆ ท่ีจดั เตรยี มไว้สาหรับให้ผเู้ รยี นค้นหาคาตอบ มีฐานการช่วยเหลือไวค้ อยสนับสนนุ ผู้เรียนในกรณที ี่ไมส่ ามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนการเรียนรู้แบบ ร่วมมือกันแก้ปัญหาที่สนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่างๆส่ิงแวดล้อมทางการเรียนรู้ในปัจจุบัน สามารถแยกตามคุณลกั ษณะของสอ่ื ได้ 3 รูปแบบ คือ (1) สิ่งแวดลอ้ มทางการเรยี นรบู้ นเครือขา่ ย (2) มลั ตมิ เี ดียท่พี ฒั นาตามแนวคอนสตรคั ติวิสต์ (3) ชดุ การสร้างความร้ตู ามแนวคอนสตรคั ตวิ ิสต์

13 2. การเรียนรแู้ บบออนไลน์ (E-learning) การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรู้แบบออนไลน์เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่าน เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรอ์ ินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออนิ ทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อน ร่วมช้ันเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในช้ัน เรียนปกติ ซึ่งการให้บริการการเรียนแบบออนไลน์ มีองค์ประกอบท่ีสาคัญ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะต้องได้รับ การออกแบบเป็นอย่างดี เพราะเม่ือนามาประกอบเข้าด้วยกันแล้วระบบท้ังหมดจะต้องทางานประสานกันได้ อย่างลงตวั ดงั น้ี 1) เนื้อหาของบทเรียน 2) ระบบบริหารการเรียน ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง กาหนดลาดับของเนื้อหาในบทเรียน เราเรียก ระบบนี้ว่าระบบบริหารการเรียน (E-Learning Management System: LMS) ดังนั้นระบบบริหารการเรียน จึงเปน็ ส่วนทเี่ อื้ออานวยใหผ้ ู้เรยี นได้ศึกษาเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเองจนจบหลักสูตร 3) การติดต่อสื่อสาร การเรียนแบบ E-learning นารูปแบบการติดต่อส่ือสารแบบ 2 ทาง มาใช้ ประกอบในการเรียน โดยเคร่ืองมือที่ใช้ในการติดต่อส่ือสารอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ประเภทReal- time ได้แก่ Chat (message, voice), White board/Text slide, Real-time Annotations, Interactive poll, Conferencing และอืน่ ๆ สว่ นอกี แบบคอื ประเภท Non real-time ได้แก่ Web-board, E-mail 3. หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-books) เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล ไม่บังคับการพิมพ์ และการเข้าเล่ม แผ่นซีดีรอม สามารถจัดเก็บข้อมูลได้จานวนมากในรูปแบบของตัวอักษร ท้ังลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมช่ัน วิดีโอ ภาพเคล่ือนไหวต่อเน่ือง คาพูด เสียงดนตรี และเสียงอื่นๆ ที่ประกอบตวั อักษรเหลา่ นน้ั 4. หอ้ งสมดุ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-library) เป็นแหล่งความรู้ท่ีบันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และให้บริการสารสนเทศทาง อเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ รือผา่ นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต 1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศ และ สะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เป็นการเปลี่ยนรูปแบบสิ่งพิมพ์แบบเดิมให้อยู่ในรูปของ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีเครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ามารถอ่านได้ ทาไดโ้ ดยการจัดเก็บในรูปดิจิตัล ได้แก่ ซีดีรอม หรือจัดเก็บ ในฮาร์ดดสิ ต์ 2. ระบบเครือข่าย เพ่ือเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่งสารสนเทศอื่น ๆ ทาให้ ผ้ใู ชส้ ามารถติดต่อกับห้องสมดุ และแหลง่ สารสนเทศ อนื่ ๆไดท้ ่ัวโลก 3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศท่ีต้องการโดยไม่ต้องมายัง หอ้ งสมุด คือ ทางไปรษณีย์ โทรสาร และทางอนิ เตอรเ์ น็ต

14 5. แผนการจดั การเรียนรู้ เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในข้ันตอนต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลัก การบรู ณาการทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซึ่งสังเคราะห์จากทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม และคุณลักษณะของ โปรแกรมทางด้าน ICT ดงั กรอบแนวคิดในการจดั การเรียนรู้ดงั นี้ กรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการ ICT ที่สังเคราะห์จากทฤษฎีการเรียนรู้คอน สตรัคตวิ ิสต์ ทฤษฎพี ุทธปิ ญั ญานยิ ม และคณุ ลกั ษณะของโปรแกรมทางดา้ น ICT จากกรอบแนวคิดในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้ (Method) ร่วมกับสื่อ(Media) ซ่ึงในท่ีน้ีก็คือเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน่ คอมพวิ เตอร์ อนิ เทอร์เน็ต วดี ทิ ศั น์ ฯลฯ การการเลือกวิธีการจะต้องอยู่บนพื้นฐานของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและเลือกใช้ส่ือให้ สนองตอ่ การรับรู้ของผูเ้ รียน ดงั กรอบแนวคดิ ขา้ งต้น

15 ในขั้นแรกท่ีเป็นการเช่ือมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ผู้สอนอาจกระตุ้นให้ผู้เรียนใส่ใจหรือกระตุ้น ประสบการณ์เดมิ โดยใชส้ ่ือพวกวีดิทัศน์ และต้ังคาถามที่ให้ผู้เรียนสามารถเรียกกลับประสบการณ์เดิมเหล่าน้ัน มาใชใ้ นการเรียนรู้สง่ิ ใหม่ ข้ันจัดประสบการณ์เรียนรู้ตั้งแต่ข้ันการกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการมอบหมายภารกิจการเรียนรู้ การสง่ เสริมการสร้างและการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง และการขยายแนวคดิ ทหี่ ลากหลาย เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีสามารถสนับสนุนการแสวงหาและค้นพบความรู้ เช่น อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ในการสร้างและนาเสนอผลงานผู้สอนอาจให้ผู้เรียนใช้โปรแกรมประยุกต์คอมพิวเตอร์ เช่น MSWord, MSPower point เป็นต้น และอาจใช้ Social media ในการแลกเปล่ียนแนวคิด ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน อื่นๆได้อีกดว้ ย สือ่ เพ่ือการเรยี นรู้ การออกแบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรยี นรู้ ความหมาย การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา “การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) คือ การนาส่ิงใหม่ๆ ซ่ึงอาจจะ เป็นความคิด วิธีการ หรือการกระทา หรือส่ิงประดิษฐ์ข้ึน ทั้งในส่วนท่ีไม่เคยมีมาก่อน หรือเป็นการพัฒนา ดดั แปลงจากสงิ่ ทีม่ อี ยูแ่ ตเ่ ดมิ ให้ดีขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้นามาใช้ บงั เกิดผลเพิม่ พนู ประสิทธิภาพตอ่ การเรยี นรู้ การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา หมายถึง กระบวนการ แนวคิด หรือวิธีการใหม่ๆ ทางการศึกษา ซ่งึ อยใู่ นระหว่างการ ทดลองท่ีจะจัดขึ้นมาอย่างมีระบบและกว้างขวางพอสมควร เพื่อพิสูจน์ประสิทธิภาพ อัน จะนาไปสกู่ ารยอมรบั นาไปใช้ในระบบการศึกษาอยา่ งกวา้ งขวางต่อไป ความคิด วิธีการใหม่ๆ ทางการเรียนการสอนซึ่งรวมไปถึงแนวคิดวิธีปฏิบัติท่ีเก่ามาจากที่อื่นและมี ความเหมาะสมทจี่ ะนามาใช้ในการเรยี นการสอนในปจั จุบัน การออกแบบนวัตกรรมการศึกษาเป็นส่ิงที่ถูกสร้างขึ้นมาเพ่ือแก้ปัญหาทางการศึกษา หรือเพ่ือ ปรับปรงุ เปลย่ี นแปลง ส่ิงท่ีมีอยู่เดมิ ให้ได้ มาตรฐานคุณภาพเพิ่มขึน้ ผสู้ รา้ งนวตั กรรมจะคานึงถึงว่า นวัตกรรมท่ี สร้างข้ึนมาจะต้องดีกว่าของเดิมคือ จะต้องได้รับประโยชน์มากกว่าเดิม หรือมีความสะดวกมากข้ึน ไม่ยากต่อ การใช้ ตรงกบั ความตอ้ งการของผูใ้ ช้ สรุป “การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) คือ การนาส่ิงใหม่ๆ ซึ่ง อาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรือการกระทา หรือส่ิงประดิษฐ์ขึ้น ท้ังในส่วนที่ไม่เคยมีมาก่อน หรือเป็นการ พัฒนาดัดแปลงจากส่ิงท่ีมีอยู่แต่เดิม ให้ดีขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ท่ีได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้ นามาใช้บงั เกดิ ผลเพ่ิมพนู ประสทิ ธภิ าพตอ่ การเรยี นรู้

16 ประเภทนวตั กรรมการศกึ ษา นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถิ่น และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก นวตั กรรมทางด้านหลักสตู รไดแ้ ก่ การพฒั นาหลกั สูตรบูรณาการ หลักสตู รรายบุคคล หลักสูตร กจิ กรรมและประสบการณ์ และหลักสูตรท้องถ่นิ นวตั กรรมการเรยี นการสอน เปน็ การใช้วิธีระบบในการปรบั ปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การ เรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและ สนับสนุนการเรยี นการสอน นวัตกรรมสือ่ การสอน เนอ่ื งจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่าย และเทคโนโลยโี ทรคมนาคม ทาใหน้ ักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิต สื่อการเรียนการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเอง การเรียนเป็นกลุ่ม และการเรียนแบบ มวลชน ตลอดจนสื่อทีใ่ ช้เพ่อื สนับสนุนการฝกึ อบรมผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล เป็นนวตั กรรมทใ่ี ชเ้ ปน็ เครือ่ งมือเพอื่ การวัดผลและประเมินผลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการ ประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนนุ การวัดผล ประเมนิ ผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการ บริหารจัดการ เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษา ให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการ เปล่ียนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการ ฐานขอ้ มลู ในหน่วยงานสถานศึกษา แนวคิด และกระบวนการออกแบบนวตั กรรมการศกึ ษา กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรเู้ มื่อครูได้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนแล้ว ก็ต้ังเป้าหมายในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนนั้นคือ กาหนดจุดประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ี่ตอ้ งการให้เกิดขึน้ ในตัวผูเ้ รยี นตามเป้าหมายของหลกั สูตร เชน่ ความสามารถใน กระบวนการแกป้ ัญหา ความสามารถในทักษะกระบวนการสร้างค่านิยมกาหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการ เรียนรู้เม่ือได้กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้แล้ว ครูควรศึกษาค้นคว้าหลักวิชาการ แนวคิดทฤษฎีผลงานวิจัยที่ เก่ียวข้องกับจดุ ประสงค์ในการพฒั นาคณุ ลกั ษณะของผูเ้ รียน และนามาผสมผสานกับความคิดแลประสบการณ์ ของตนเอง กาหนดเป็นกรอบแนวคิดของกระบวนการเรียนรู้ข้ึนเพ่ือจัดสร้างเป็นต้นแบบนวัตกรรมขึ้น เพ่ือใช้ แก้ปญั หาหรอื พฒั นาการเรียนร้ขู องผู้เรยี น สรา้ งต้นแบบนวตั กรรม เมือ่ ตัดสนิ ใจไดว้ ่าจะเลือกจดั ทานวตั กรรมชนดิ ใดครผู ตู้ ้องศึกษาวิธีการจัดทานวัตกรรมชนดิ น้นั ๆ อย่างละเอยี ด เชน่ จะจัดทาบทเรยี นสาเร็จรปู ในรายวชิ าหน่ึง ต้องศึกษาค้นคว้าวิธกี ารจัดทาบทเรยี นสาเรจ็ รปู

17 ว่ามีวธิ ีการจัดทาอยา่ งไรจากเอกสารตาราท่เี กย่ี วข้อง แล้วจัดทาตน้ แบบบทเรียนสาเรจ็ รปู ใหส้ มบรู ณต์ าม ข้อกาหนดของวธิ กี ารทาบทเรียนสาเรจ็ รูป สาหรับเครื่องมือท่ีตอ้ งใชใ้ นการวดั ผลสัมฤทธ์ิหรอื เคร่ืองมืออ่ืน ๆ ต้องมีการพฒั นาเคร่ืองมือตาม วิธีการทางวจิ ยั ดว้ ย การสร้างต้นแบบนวตั กรรมจะต้องนาไปทดลองใช้เพือ่ หาประสทิ ธิภาพของนวัตกรรม ซ่ึงมี ขนั้ ตอนการหาประสิทธิภาพนวตั กรรม การออกแบบ รายละเอยี ดนวัตกรรม ในการออกแบบนวัตกรรมการเรียนร้ปู ระเภทส่อื การสอนผอู้ อกแบบตอ้ งคานึงถึงดังนี้คือ 1. วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ 2. ลกั ษณะผูเ้ รียน ความเหมาะสมกับวยั ความสนใจ ระดับช้นั ความรู้ ทกั ษะ 3. พ้นื ฐาน และประสบการณข์ องผู้เรียน 4. รปู แบบการเรยี นการสอน และการเรียนรู้ 5. ธรรมชาติเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และวิธกี ารนาเสนอท่ีเหมาะสม 6. สภาพการเรียน 7. ทรัพยากรตา่ ง ๆ เชน่ วสั ดุอุปกรณ์ ครภุ ณั ฑ์ งบประมาณ 8. ราคานวัตกรรมที่เหมาะสม โครงสร้างของการออกแบบนวัตกรรม ดังนีค้ อื 1.ชอื่ นวัตกรรม ผู้พัฒนาควรต้ังช่อื นวัตกรรมใหส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ และเขา้ ใจงา่ ย 2.วัตถุประสงค์ของนวัตกรรม การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ของนวัตกรรมให้ชัดเจนส่งผลให้ การพัฒนา นวัตกรรมน้ัน รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้ึน 3.ทฤษฎี หลักการ ในการออกแบบนวัตกรรม ผู้พัฒนาต้องพิจารณาทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อให้ สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ ซึง่ ทฤษฎกี ารเรยี นรูถ้ อื เปน็ สง่ิ สาคัญที่จะใช้ในการพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษา 4.ส่วนประกอบของนวัตกรรม ในการออกแบบนวัตกรรมผู้พัฒนาต้องพิจารณาส่วนประกอบของ นวตั กรรม ว่ามอี ะไรบ้าง 5.การนานวัตกรรมไปใช้และประเมินผล เป็นส่วนที่แสดงความสาเร็จของนวัตกรรม ประกอบด้วย วิธวี ัดผล เครือ่ งมอื ท่ใี ชว้ ดั ผล และวิธีการประเมินผลประเภทของนวัตกรรมการเรยี นการสอน เมื่อการเรียนการ สอนมีลักษณะเป็นระบบ ประกอบด้วยตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) การ นานวัตกรรมมาใช้จัดการเรียนการสอนจึงมีจุดหมายท่ีจะปรับปรุงหรือเพ่ิมประสิทธิภาพให้กับระบบการเรียน การสอน หลักการออกแบบสื่อเพอื่ การเรียนรู้ ประกอบด้วย 9 ขน้ั ตอน ดังนี้ ขน้ั ตอนที่1 เรา้ ความสนใจ (Gain Attention) ขนั้ ตอนท่ี2 บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objectives)

18 ขน้ั ตอนที่ 3 ทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) ขนั้ ตอนที่4 การเสนอเนือ้ หา (Present New Information) ข้นั ตอนที่ 5 ชี้แนวทางการเรยี นรู้ (Guide Learning) ข้ันตอนท่ี6 กระตุ้นการตอบสนอง (Elicit Responses) ขัน้ ตอนท่ี 7 ใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั (Provide Feedback) ขั้นตอนท่ี8 ทดสอบความรู้ (Access Performance) ขน้ั ตอนท่ี9 การจาและนาไปใช้ (Promote Retention and Transfer) ดงั นั้นในการออกแบบนวตั กรรมการเรียนรู้ผู้ออกแบบต้องคานึงถึงหลักการข้างต้น เพื่อให้นวัตกรรม น้ันสามารถนามาใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์หลัก คือเพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในการเรียนการสอน และเพ่มิ ความสามารถในการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น ให้มีประสอทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน การออกแบบ เคร่ืองมือศึกษาคุณภาพ และประสทิ ธิภาพนวัตกรรม ขน้ั ตอนในการจดั ทาเคร่ืองมือประเมนิ คุณภาพและประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมมีดงั น้ี 1 ศึกษาวัตถปุ ระสงค์ของนวตั กรรมการเรียนการสอนที่สรา้ งขึน้ 2 กาหนดเครื่องมือที่ต้องใชป้ ระกอบการประเมนิ คณุ ภาพและประสิทธภิ าพ 3 ศึกษาแนวทางการสร้างเคร่ืองมือ 4 ออกแบบและสรา้ งเคร่ืองมือ 5 ตรวจสอบและผา่ นการกลน่ั กรองของผูเ้ ชย่ี วชาญ 6 ศึกษาคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพของเครื่องมือ 7 จดั ทาเปน็ เคร่ืองมือฉบับจริง การออกแบบ การศึกษาคณุ ภาพ และประสิทธิภาพนวัตกรรม ข้ันการศกึ ษาคณุ ภาพของนวัตกรรมการเรยี นการสอนดาเนินการดงั น้ี 1 .กล่ันกรองเบ้ืองต้นโดยให้ผู้เรียนและครูผู้สอนกลุ่มสาระนั้นอ่านเพื่อตรวจสอบข้อบกพร่อง และ ปรบั ปรงุ แก้ไขใหเ้ หมาะสม 2 .นานวัตกรรมการเรียนการสอนที่ปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้วให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 3-5 คน ประเมินเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพ และใหข้ อ้ เสนอแนะเพื่อปรับปรุงนวัตกรรม 3. วิเคราะห์ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญเพ่ือดูว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับใด และปรับปรุง ข้อบกพรอ่ งตามขอ้ เสนอแนะ จัดทาเป็นนวัตกรรมการเรียนการสอนท่ีพร้อมสาหรับนาไปทดลองใช้ การศึกษาประสิทธิภาพของ นวตั กรรมการเรียนการสอนดาเนินการดงั น้ี นานวัตกรรมการเรียนการสอนท่ีผ่านการตรวจสอบและประเมินคุณภาพของผู้เช่ียวชาญแล้ว ไปทดลองใช้กับผู้เรียนท่ีมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับกลุ่มเป้าหมายของการแก้ปัญหาหรือพัฒนา ตามรูปแบบและ วธิ กี ารทีก่ าหนดนาผลการทดลองมาคานวณหาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้สูตร E1/E2

19 การออกแบบ เครอ่ื งมือการนานวัตกรรมไปใช้ 1) ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียน เรียนศิลปะโดยการหัดวาดรูป ใช้โปรแกรม Microsoft Word โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft PowerPoint 2) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Instruction ) หรือ ( CAI ) เป็นกระบวนการ เรยี นการสอนโดยใชค้ อมพิวเตอร์นาเสนอเน้ือหาเรื่องราวต่าง ๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการ เรียนแบบมปี ฏิสัมพันธ์ (Interactive) 3) นักเรียนสามารถใช้ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตศึกษาค้นคว้าข้อมูลในแต่ละกลุ่มสาระข่าวสาร ทางวชิ าการอ่นื จากทีต่ ่าง ๆ 4) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic ) หรือ ( E-mail ) เพ่ือใช้รับส่งข่าวสาร ข้อมูล รูปภาพ และส่งงานใหค้ รตู รวจในแต่ละกลุ่มสาระ 5) นาระบบ e-Learning มาใชใ้ นการเรียนการสอนในกลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์ – การใชค้ อมพิวเตอร์ในการตดั เกรด การออกแบบ การนานวัตกรรมไปใช้ 1.เพื่อนานวตั กรรมมาใช้แก้ปัญหาในเรอ่ื งการเรยี นการสอน เชน่ 1.1 ปัญหาเรื่องวธิ ีการสอน ปญั หาที่มักพบอยูเ่ สมอ คอื ผู้สอนสว่ นใหญ่ยังคงยึดรปู แบบการสอน แบบบรรยาย โดยมคี รเู ปน็ ศนู ยก์ ลางมากกว่าการสอนในรูปแบบอื่น การสอนด้วยวิธีการแบบน้ีเปน็ การสอนที่ ขาดประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลในบ้นั ปลาย เพราะนอกจากจะทาให้นักเรยี นเกิดความเบอื่ หน่ายขาดความ สนใจแลว้ ยังเปน็ การปิดก้นั ความคดิ และสติปัญญาของผู้เรียนใหอ้ ยู่ในขอบเขตจากัดอีกดว้ ย 1.2 ปญั หาดา้ นเน้ือหาวิชาบางวชิ าเนอ้ื หามากและบางวิชามเี นื้อหาเปน็ นามธรรมยากแก่การเขา้ ใจ จงึ จาเปน็ จะต้องนาเทคนิคการสอนและสอ่ื มาชว่ ย 1.3 ปัญหาดา้ นการวดั และประเมินผล เช่น ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นต่าครผู ้สู อนนาไปใช้ในการปรบั กิจกรรมการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพยงิ่ ขน้ึ หรือใชผ้ ลการประเมนิ เป็นข้อมูลย้อนกลบั ในการพฒั นา คณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนได้ 1.4 ปญั หาเรือ่ งอุปกรณ์การสอน บางเน้ือหามสี ือ่ การสอนเป็นจานวนนอ้ ยไม่เพียงพอต่อการ นาไปใช้เพ่ือทาให้นักเรียนเกดิ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาได้ง่ายข้ึนจึงจาเปน็ ตอ้ งมกี ารพฒั นาคิดคน้ หา เทคนคิ วิธกี ารสอน และผลิตส่ือการสอนใหม่ ๆ เพ่ือนามาใชท้ าให้การเรยี นการสอนบรรลเุ ปา้ หมายได้ เพื่อนานวัตกรรมไปใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นการสอน การสร้างองค์ความรู้ใหม่ใหม้ ปี ระสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ และเปน็ ประโยชนต์ อ่ การศกึ ษาโดยการนาสิง่ ประดิษฐ์หรอื แนวความคดิ ใหม่ ๆ ในการเรยี นการสอนน้ันเผยแพร่ไปสู่ครู – อาจารยท์ า่ นอนื่ ๆ หรอื เพ่อื เป็นตวั อยา่ งอีกรปู แบบหนง่ึ ให้กับครู – อาจารยท์ สี่ อนในวชิ า เดียวกนั ได้นาแนวความคิดไปปรบั ปรงุ ใชห้ รอื ผลิตสือ่ การสอนใหม่ ๆ เพื่อนามาใช้ในการพฒั นาการเรียนการ สอนต่อไป การนานวัตกรรมไปใช้เป็นผลงานทางวชิ าการ นวัตกรรมการเรียนรนู้ อกจากจะเปน็ ประโยชน์ใน ดา้ นการปรับปรุงและพฒั นางานหรือการจดั การเรียนการสอนแล้ว ยังเป็นประโยชน์ ตอ่ การพฒั นาวชิ าชีพอีก

20 ดว้ ย โดยผู้สรา้ งนวัตกรรมสามารถนาผลจากการนานวัตกรรมไปใช้เป็นผลงานวชิ าการเพ่ือขอเล่อื นวทิ ยฐานะ หรือปรบั ตาแหนง่ ให้สูงขนึ้ ได้ การออกแบบ การวัด ประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ระดับคุณภาพของนวัตกรรมการจัดการเรยี นร้เู ป็นลักษณะของนวัตกรรมการจดั การเรยี นรูต้ ามตัวบง่ ช้ี มีระดับ คณุ ภาพ 3 ระดบั คือ ระดับ 3 คุณภาพดมี าก ( มีคา่ คะแนนระหว่าง 2.33 – 3.00 ) ระดบั 2 คณุ ภาพดี ( มีค่าคะแนนระหวา่ ง 1.67 – 2.32 ) ระดบั 1 คุณภาพพอใช้ ( มีค่าคะแนนระหว่าง 1.00 – 1.66 ) ในการประเมินนวัตกรรม ควรเลอื กใช้วธิ กี ารประเมินทเ่ี หมาะสมกับสงิ่ ท่ตี ้องการประเมิน ดังน้ี ตรวจสอบเอกสารรายงานผลการพัฒนานวัตกรรมสงั เกต และตรวจสอบข้อมูลจากการนาเสนอผลงานของผู้ คิดคน้ การออกแบบ การเขยี นรายงานการพัฒนานวัตกรรม การเขยี นรายงานผลการพฒั นานวัตกรรมแบ่งการเขยี นออกเป็น 5 บท ดงั น้ี บทท่ี 1 บทนา นาเสนอรายละเอียดตามหวั ข้อตอ่ ไปนี้ – ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา – วตั ถุประสงค์ของการทดลอง – สมมตุ ิฐานของการทดลอง – ขอบเขตของการทดลอง – ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ ับ – นยิ ามศพั ท์ บทที่ 2 การศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง นาเสนอแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และผลการวิจัยที่ เกย่ี วขอ้ งทน่ี ามาใช้ในการพัฒนานวตั กรรม ดงั น้ี – หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การพัฒนานวัตกรรม – ผลการวจิ ัยที่เกี่ยวข้องกบั การพัฒนานวตั กรรม – หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี และผลการวิจัยท่ีนามาใช้พัฒนานวตั กรรมในกลุ่มสาระ/วชิ าที่คดิ ค้นและ สรา้ งนวตั กรรมการเรียนการสอน บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การสรา้ งและทดลองใช้นวตั กรรมการเรยี นการสอน – วัตถุประสงค์ของการทดลอง – สมมุติฐานของการทดลอง – ประชากรทใ่ี ช้ในการทดลอง – กลมุ่ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการทดลอง – นวัตกรรมและเคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดลอง – การสรา้ งนวตั กรรมและเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการทดลอง

21 – การดาเนินการทดลอง – การวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง – สถิติทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหผ์ ลการทดลอง บทที่ 4 การวิเคราะหข์ ้อมูลและผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล เปน็ การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู โดยนาเสนอในรปู ของตาราง กราฟ หรือบรรยาย ตาม วตั ถปุ ระสงค์ของการทดลองท่ีกาหนดในบทท่ี 1 บทท่ี 5 การสรปุ ผล อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ – สรุปผลการวจิ ยั นาเสนอวัตถปุ ระสงค์ ขน้ั ตอนการดาเนินงาน และผลการวจิ ัยโดยสรุป ให้เห็น ภาพของการดาเนนิ การสรา้ งและพฒั นานวัตกรรมตลอดแนว – อภิปรายผลการวิจยั นาผลท่เี กิดข้นึ จากการวจิ ยั มานาเสนอใหเ้ ห็นภาพรวมที่เปน็ ผลนา่ พอใจ สิง่ ที่ เปน็ ขอ้ สังเกต โดยอา้ งองิ หลกั การ ทฤษฎแี ละผลการวจิ ัยที่สอดคล้องประกอบการอภปิ รายอยา่ งเหมาะสม – ขอ้ เสนอแนะ นาเสนอสง่ิ ที่ควรดาเนนิ การต่อเนอ่ื ง หรือพฒั นาผลการวจิ ัยอยา่ งต่อเน่ือง ท่ีจะทาให้ เกิดคุณภาพในการพัฒนาอย่างเดน่ ชัด แหล่งเรียนรู้และเครือขา่ ย เพ่อื การเรียนรู้ ความหมายแหล่งเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ หมายถงึ แหล่งข้อมลู ขา่ วสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ทีส่ นับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียน ใฝเ่ รียน ใฝ่รู้ แสวงหาความร้แู ละเรยี นรู้ดว้ ยตนเองตามอัธยาศัย อย่างกว้างขวางและต่อเนอ่ื ง เพ่ือเสริมสร้างให้ ผเู้ รียนเกดิ กระบวนการเรยี นรู้ และเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ท่ีสาคัญ 1. แหลง่ การศึกษาตามอัธยาศัย 2. แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวติ 3. แหลง่ ปลูกฝังนสิ ัยรักการอา่ น การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 4. แหลง่ สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ภาคปฏิบัติ 5. แหล่งสร้างเสริมความรู้ ความคิด วทิ ยาการและประสบการณ์ เครือขา่ ยการเรยี นรู้ (Learning Network) หมายถงึ การแลกเปลยี่ นความรู้ ความคิด ข้อมลู ข่าวสาร ประสบการณ์ และการเรยี นรูร้ ะหว่างบคุ คล กลุ่มบุคคล องคก์ าร และแหลง่ ความรู้ทม่ี สี ว่ นร่วมใน กระบวนการเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง จนเปน็ ระบบท่เี ชื่อมโยงกนั สง่ ผลใหเ้ กดิ การเผยแพรแ่ ละการประยุกต์ความรู้ ใหม่ๆ เพ่ือวัตถปุ ระสงคท์ างวชิ าชีพหรือทางสงั คม ความหมาย เครือข่ายการเรียนรู้สว่ นบุคคล PLN (Personal Learning Network) เครือข่ายการเรียนรู้ส่วนบุคคล การเรยี นรสู้ ่วนบคุ คลเปน็ หนึ่งในรากฐานของสถาบันการศกึ ษาและการเปลยี่ นแปลงองค์กรทีป่ ระสบ

22 ความสาเรจ็ เครือขา่ ยการเรียนรสู้ ่วนบคุ คล (PLN) ไม่เพียงแต่สนับสนนุ การพัฒนาวิชาชีพของตัวเอง แต่ยังสามารถเป็นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพในการกระจายนวัตกรรมภายในสถาบันการศึกษาของพวกเขา เรียนรู้ที่ จะเช่ือมต่อกับชุมชนของมืออาชีพใจเหมือนให้มีส่วนร่วมมีการสนทนาและทาให้การร้องขอในช่วงเวลาของ ความจาเป็น เคร่ืองมือฟรีที่มีประสิทธิภาพและส่ือสังคมเช่น Google +, Twitter, และ Facebook ให้เป็นไป ไดส้ าหรับคุณและเพ่ือนร่วมงานของคุณ หากมองในองค์รวมแล้วน้ันเครือข่ายการเรียนรู้ส่วนบุคคล ก็คือการนาเอาเนื้อหา สาระ ข้อมูล จาก สว่ นตา่ ง ๆ ในระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เน็ตท่ีเราใช้กันอยู่ทุกวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในระบบการศึกษา ซ่ึงมีท้ัง สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network และ Social Media) เคร่ืองมือค้นคว้าข้อมูล (Search Engines) บันทึก สว่ นตวั (Blog) หรอื แมก้ ระทั่งสังคมการเรยี นรู้ (Community Learning) ประเภทแหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ ประเภทของแหลง่ เรียนรู้ ประเภทของแหล่งเรียนรู้สามารถแบ่งได้หลากหลาย ตามลักษณะการแบ่งของแต่ละบุคคล ซึ่งมี รายละเอียดของผ้ใู หค้ วามหมายของประเภทแหลง่ เรียนรู้ดังต่อไปนี้ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แหง่ ชาติ (2546 : 8-9) ไดจ้ าแนกประเภทของแหลง่ การเรียนรไู้ ว้ 2 แบบ 1. จัดตามลักษณะของแหลง่ การเรียนรู้ 1.1 แหล่งการเรียนรตู้ ามธรรมชาติ เป็นแหล่งการเรียนรทู้ ่ีผเู้ รียนจะหาความรูไ้ ด้จากสิ่งที่มีอยู่แล้วตาม ธรรมชาติ เช่น แม่น้า ภเู ขา ปา่ ไม้ ลาธาร กรวด หนิ ทราย ชายทะเล เป็นตน้ 1.2 แหลง่ การเรียนรู้ทีม่ นษุ ยส์ ร้างขึ้น เพือ่ สบื ทอดศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ อานวยความสะดวกแก่มนุษย์เช่น โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุดประชาชน สถาบันการศึกษา สวนสาธารณะ ตลาด บ้านเรือน ท่อี ยอู่ าศัย สถานประกอบการ เป็นต้น

23 1.3 บุคคล เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ถ่ายทอดความรู้ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม การสืบสาน วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ทั้งด้านประกอบอาชีพ ตลอดจนนักคิด นักประดิษฐ์ และผู้มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ 2. จัดตามแหลง่ ทต่ี งั้ ของแหล่งการเรยี นรู้ 2.1 แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียนเดิมมีแหล่งการเรียนรู้หลัก คือ ครู อาจารย์ ต่อมามีการพัฒนาเป็น หอ้ งปฏบิ ตั ิการต่าง ๆ เช่น ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องโสตทัศนศึกษา ห้องจริยธรรม ห้องศิลปะ ตลอดจนอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เช่น ห้ อ ง อ า ห า ร ส น า ม ห้ อ ง น้ า ส ว น ด อ ก ไ ม้ ส ว น ส มุ น ไ พ ร แ ห ล่ ง น้ า ใ น โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น ต้ น 2.2 แหล่งการเรียนรู้ในท้องถ่ินครอบคลุมท้ังด้านสถานท่ีและบุคคลซึ่งอาจอยู่ในท้องถ่ินใกล้เคียง โรงเรียน ท้องถิ่นท่ีโรงเรียนพาผู้เรียนไปเรียนรู้ เช่น แม่น้า ภูเขา ชายทะเล สวนสาธารณะ สวนสัตว์ ทุ่งนา สวนผัก สวนผลไม้ วัด ตลาด ร้านอาหาร ห้องสมุดประชาชน สถานีตารวจ สถานีอนามัย ดนตรีพ้ืนบ้าน การละเล่นพ้ืนเมือง แหล่งทอผ้า เทคโนโลยีชาวบ้าน เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน แหล่งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ประเภท เครือขา่ ยการเรียนรู้ 1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะภายใต้โครงสร้างของเครือข่ายการ เรยี นรู้ 1.1 เครือข่ายการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นเอกัตบุคคลเป็นหลัก มีลักษณะของการประสานสัมพันธ์การ ดาเนนิ งานของหน่วยงานต่างๆ ท่เี กย่ี วข้อง เพ่ือขยายการให้บริการทางการศึกษาในระบบโรงเรียน นอกระบบ โรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ไปยังผู้ที่ต้องการ อย่างกว้างขวาง และสนองตอบปัญหาความต้องการ ของแต่ละบคุ คล ตลอดจนจติ ใต้สานกึ ในการมสี ว่ นร่วมพัฒนา 1.2 เครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ทมี่ งุ่ เนน้ ชุมชนเป็นหลัก เป็นการกระตุ้นให้สมาชิกใช้ศักยภาพของตนเองเพ่ือ แก้ไขปัญหาชุมชน เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนในการพ่ึงพาตนเอง บนพ้ืนฐานของการเข้าใจสภาพปัญหา เงือ่ นไข ขอ้ จากดั และความต้องการของตน 2. แบ่งตามโครงสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ซ่ึงพิจารณาถึงโครงสร้างเครือข่ายการเรียนรู้อาศัยความ ร่วมมือระหว่างบุคคล องค์กร และเทคโนโลยีการส่ือสารเช่ือมโยงกันเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ สามารถจาแนก ออกได้เปน็ 4 ประเภท ดังน้ี 2.1 เครือข่ายการเรียนรู้โครงสร้างกระจายศูนย์ มีศูนย์กลางทาหน้าที่ประสานงาน แต่ภารกิจในการ เรียนการสอนจะกระจายความรบั ผดิ ชอบใหส้ มาชกิ เครอื ข่ายซง่ึ ตา่ งก็มคี วามสัมพันธ์เทา่ เทียมกัน รูปแบบน้ีอาจ เรียกว่าการกระจายความรับผดิ ชอบ (Distributed Network) ซึ่งพบได้ในเครือข่ายการพัฒนาชนบท และการ เรียนร้จู ากแหล่งวทิ ยาการชุมชน โดยอาศัยสือ่ บคุ คลเป็นหลกั 2.2 เครือข่ายการเรียนรู้โครงสร้างรวมศูนย์ มีองค์กรกลางเป็นทั้งศูนย์ประสานงาน และเป็นแม่ข่าย รวบรวมอานาจการจัดการความรู้ไว้ในศูนย์กลาง การลงทุนด้านเทคโนโลยีและกาลังคนอยู่ท่ีแม่ข่าย ส่วนลูก ข่ายหรือสมาชกิ เปน็ เพียงผูร้ ่วมใชบ้ ริการจากศูนย์กลาง 2.3 เครือข่ายการเรียนรู้โครงสร้างลาดับข้ัน (Hierarchical Network) มีลักษณะเช่นเดียวกับแผนภูมิ องค์กร การติดต่อส่ือสารข้อมูลต้องผ่านตามลาดับขั้นตอนมาก นิยมใช้การบริหาร จัดการองค์กรต่างๆ ซึ่ง เหมาะแก่การควบคุม ดูแลระบบงาน 2.4 เครือข่ายการเรียนรู้โครงสร้างแบบผสม คือมีท้ังแบบรวมศูนย์และกระจายศูนย์ ซึ่งพบมากในการ จัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน เน่ืองจากการเรียนรู้มิได้อาศัยสื่อใดสื่อหน่ึงเป็นหลัก หากแต่มีการผสมผสาน

24 สือ่ บุคคล และเทคโนโลยจี ึงจาเป็นต้องจัดระบบเครือข่ายแบบผสม เพื่อสนองความต้องการได้อย่างกว้างขวาง และตรง 3. แบ่งตามหน่วยสังคม ได้แบ่งการเครือข่ายการเรียนรู้ออกเป็น 4 ระดับ คือ เครือข่ายการเรียนรู้ระดับ บุคคล เครือข่าย การเรยี นรู้ระดบั กลุ่ม เครือข่ายการเรียนรู้ระดับชุมชน และเครือข่ายการเรียนรู้ระดับสถาบัน 4. แบ่งตามระดับการปกครองและลักษณะของงาน ซ่ึง ประเวศ วะสี (2538) ได้แบ่งประเภทของ เครือข่ายการเรียนรู้ออกเป็น 13 ประเภท คือ เครือข่ายชุมชนเครือข่ายนักพัฒนา เครือข่ายระดับจังหวัด เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายวิชาชีพ เครือข่ายธุรกิจ เครือข่ายสื่อสารมวลชน เครือข่ายนักฝึกอบรม เครือข่าย การประมวลและสังเคราะหอ์ งค์ความรู้ระดับชาติ เครือขา่ ยภาคสาธารณะ เครอื ข่ายวิชาการ เครือข่ายนโยบาย องคก์ รของรัฐ และเครือข่ายผูท้ รงคุณวฒุ ิ ตวั อยา่ งเครอื ข่ายการเรียนรู้ 1. เครือข่ายไทยสาร เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ระดับมหาวิทยาลัยเข้าด้วยกัน กว่า 50 สถาบนั เร่ิมจัดสรา้ งในปพี .ศ.2535 2. เครือข่ายยูนิเน็ต (UNINET) เป็นเครือข่ายเพ่ือการเรียนการสอนที่สาคัญในยุคโลกาภิวัตน์ จัดทา โดยทบวง มหาวทิ ยาลัย ในปี พ.ศ. 2540 3. สคูลเน็ต (School Net) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพ่ือโรงเรียนไทย ได้รับการดูแลและสนับสนุน โดยศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เครือข่ายน้ีเช่ือมโยงโรงเรียนในประเทศไทยไว้ กว่า 100 แห่ง และเปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่น ๆ และบุคคลที่สนใจเรียกเข้าเครือข่ายได้ 4. เครอื ข่ายนนทรี เปน็ เครือขา่ ยของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นับเป็นเครือข่ายที่สมบูรณ์แบบและ ใช้เทคโนโลยีช้ันสูง สามารถตอบสนองความต้องการใช้ของนิสิต อาจารย์ ข้าราชการ ตลอดจนการรองรับ ทางดา้ นทรพั ยากรเซอร์เวอร์อย่างพอเพียง 5. เครือข่ายกระจายเสียงวิทยุ อสมท. จะรวมผังรายการวิทยุในเครือข่าย อสมท. มีไฟล์เสียงรับฟัง ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ได้. 6. เครือข่ายสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมือง เป็นเครือข่ายท่ีใช้แลกเปล่ียนความคิดเห็นประเด็น ตา่ ง ๆ ทางการเมือง และบทวเิ คราะหด์ ้านการเมือง 7. ThaiSafeNet.Org เป็นเครือข่ายผู้ปกครองออนไลน์ มีพันธกิจด้านการเชื่อมโยงครู ผู้ปกครอง นัก การศึกษา … โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้ปกครองออนไลน์ พันธกิจ : ฝึกอบรมครู ผู้ปกครอง 8. เครือข่ายพทุ ธกิ า รวมตัวอยา่ งหนังสอื เครอื ขา่ ยพทุ ธกิ าเพื่อพระพุทธศาสนาและสงั คม ความสาคัญของแหล่งเรยี นรู้และเครือขา่ ยการเรยี นรู้ ความสาคญั ของแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรยี นรมู้ ีความความสาคัญกับผู้เรียน ซึ่งได้รับความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ซ่ึงมี ผู้ให้ความหมายเกี่ยวกับความสาคัญของแหล่งเรียนรู้ดังต่อไปนี้ กิ่งแก้ว อารีรักษ์ (2548 : 118) ให้ ความสาคญั ของการศกึ ษาโดยใช้แหล่งเรยี นรู้ ไว้ดงั นี้ 1.กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยอาศัยการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ือท่ีหลากหลาย 2. ชว่ ยเสรมิ สร้างการเรยี นรู้ใหล้ กึ ซึ้งขน้ึ โดยใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลสะท้อนความคิดเห็น จากแหลง่ การเรยี นรู้ 3. กระตุ้นมงุ่ เนน้ ลึกในเร่ืองใดเร่อื งหน่ึง ซ่งึ ผลักดันให้ผู้เรียนแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มมาก ขึ้น สามารถสรา้ งผลผลิตในการเรียนร้ทู ่ีมคี ุณภาพสงู ข้นึ

25 4. เสริมสร้างการเรียนรู้ จนเกิดทักษะการแสวงหาข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ โดยอาศัยการสร้างความ ต ร ะ ห นั ก เ ชิ ง ม โ น ทั ศ น์ เ กี่ ย ว กั บ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ข้ อ มู ล 5. แหล่งการเรียนรู้เสริมสร้างการพัฒนาการคิด เช่น การแก้ปัญหา การให้เหตุผล และการประเมิน อย่างมวี ิจารญาณ โดยอาศัยกระบวนการวจิ ยั อิสระ 6. เปล่ียนเจตคติของครูและผู้เรียนท่ีมีต่อเน้ือหารายวิชา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 7. พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร วิ จั ย แ ล ะ ค ว า ม เ ชื่ อ ม่ั น ใ น ต น เ อ ง ใ น ก า ร ค้ น ห า ข้ อ มู ล 8. เพิ่มผลสัมฤทธ์ิด้านวิชาการ ในด้านเน้ือหา เจตคติ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยอาศัยแหล่ง การเรียนรทู้ ี่หลากหลายในการเรียนรู้ แหลง่ การเรยี นรู้และเครือข่าย เพอื่ การเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย เพ่ือเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิด กระบวนการเรยี นรู้ ความสาคัญของแหลง่ การเรยี นรู้ มีดังน้ี 1) เป็นแหล่งท่ีรวบรวมขององค์ความรู้ที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า ด้วยกระบวนการ จดั การเรยี นรู้ทีแ่ ตกต่างกนั ของแตล่ ะบคุ คล และเป็นการส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 2) ช่วยกระตุ้นและเสริมสร้างการเรียนรู้ให้ลึกซึ้งข้ึน โดยใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลสะท้อนความ คิดเห็นจากแหลง่ การเรยี นรู้ เพราะมีการเช่อื มโยงและแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ระหวา่ งกนั 3) เพิ่มผลสัมฤทธ์ิด้านวิชาการ เสริมสร้างการเรียนรู้ พัฒนาการคิด การแก้ปัญหา การให้เหตุผล และการประเมินอย่างมีวิจารญาณ จนเกิดทักษะการแสวงหาข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ซ่ึงผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

26 จากการท่ีไดค้ ิดเอง ปฏบิ ตั เิ อง และสรา้ งความรู้ ด้วยตนเอง ขณะเดียวกนั กส็ ามารถเข้าร่วมกิจกรรมและทางาน รว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ 4) ทาให้ผู้เรียนได้รับการปลูกฝังให้รู้และรักท้องถิ่นของตน มองเห็นคุณค่าและตระหนักถึงปัญหาใน ท้องถ่นิ พรอ้ มที่จะเป็นสมาชกิ ที่ดีของท้องถิ่นท้ังปจั จุบันและอนาคต 5) มีส่ือประเภทต่างๆ ประกอบด้วย สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือเสริมกิจกรรมการเรียน การสอนและพัฒนาอาชพี แหลง่ การเรียนรู้ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื แหลง่ การเรยี นรู้ในสถานศึกษา (โรงเรยี น) และแหล่งการ เรียนรู้ในท้องถ่ิน ประกอบด้วย แหล่งการเรียนรู้ประเภทสถานที่และภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งสถานศึกษาควร จาแนกประเภทของแหลง่ การเรยี นรู้โดย คานึงถึงลักษณะที่ต้ัง ลักษณะการใช้งาน ทรัพยากรท่ีมีอยู่และบริบท ของทอ้ งถนิ่ แหล่งเรียนรใู้ นทอ้ งถน่ิ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬา สถานประกอบการ วัด ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ ารภาครัฐและภาคเอกชน แหล่งขอ้ มลู ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ แหลง่ การเรยี นรูอ้ ่นื ๆ เป็นตน้ แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง แหล่งหรือที่รวมสาระความรู้ซ่ึงอาจเป็นสถานท่ีศูนย์รวมข้อมูล ข่าวสาร หรือบุคคลทีเ่ อ้ือให้เกดิ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ แหลง่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ มีความสาคัญ ดังนี้ 1. เป็นแหล่งข้อมูลขา่ วสาร เปิดโลกทัศนข์ องผู้ศึกษาใหก้ วา้ งไกล 2. พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และพัฒนาอาชีพให้ผู้ท่ีศึกษา 3. สามารถนามาถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณใ์ หผ้ ู้อ่ืนไดอ้ ย่างเป็นระบบ 4. ชว่ ยเปลย่ี นทัศนคตแิ ละคา่ นิยม เพ่ือใหเ้ กดิ การยอมรบั สงิ่ ใหม่ แนวความคดิ และมุมมองใหม่ๆ องคป์ ระกอบของแหล่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ มดี งั นี้ 1. สถานท่ีทจ่ี ัดเป็นแหลง่ การเรยี นรู้ 2. กจิ กรรมที่จะทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 3. ผดู้ าเนินการใหเ้ กิดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4. การบริหารจดั การแหล่งการเรียนรตู้ ลอดชีวิต เพือ่ ให้เกดิ บรรยากาศของการเรยี นรู้ ตัวอย่างแหล่งเรียนรตู้ ลอดชีวติ กรงุ เทพมหานคร : พพิ ิธภัณฑ์อัญมณแี ละเคร่อื งประดบั ภาคตะวันออก : เมอื งโบราณ จ.สมทุ รปราการ ภาคกลาง : ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จ.เพชรบุรี ภาคเหนือ : ศนู ยพ์ ฒั นาโครงการหลวงปังคา่ จ.พะเยา

27 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ : สถานที ดลองหม่อนไหม จ.อุบลราชธานี ภาคใต้ : สถานีเพาะเลีย้ งสัตว์ป่าพงั งา เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ และการเรียนรู้ ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ และแหล่งความรู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง จนเป็น ระบบท่ีเชื่อมโยงกัน ส่งผลให้เกิดการเผยแพร่และการประยุกต์ความรู้ใหม่ๆ เพ่ือวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพหรือ ทางสงั คม หลักการสาคัญของเครือข่ายการเรยี นรู้ 1. การกระต้นุ ความคดิ ความใฝแ่ สวงหาความรู้ จิตสานึกในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และการมีส่วน ร่วมในการพฒั นา 2. การถา่ ยทอด แลกเปล่ียน การกระจายความรู้ท้ังในส่วนของวิทยากรสากลและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพือ่ สนับสนนุ การสรา้ งองคค์ วามรูใ้ หมๆ่ 3. การแลกเปลยี่ นขา่ วสารกับหนว่ ยงานต่างๆ ของท้งั ในภาครัฐและเอกชน 4. การระดมและประสานการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพ่ือการพัฒนาและลดความซ้าซ้อน สูญเปล่าให้ มากทีส่ ดุ คุณลักษณะพิเศษของเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ 1. สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก นักเรียนสามารถเรียกข้อมูลมาใช้ได้ง่าย และเช่ือมโยง เข้าหานักเรียนคนอ่ืน ได้ง่ายรวดเร็ว และสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ีที่มี เครอื ขา่ ย 2. เป็นการเรียนแบบรว่ มกนั และทางานร่วมกนั เป็นกลมุ่ คุณลกั ษณะพื้นฐานของเครือข่ายการเรียนรู้ คือการเรียนแบบ ร่วมมือกัน ดังนั้นระบบเครือข่ายจึงควรเป็นกลุ่มของการเรียนรู้โดยผ่านระบบ การสื่อสารที่สังคมยอมรับ เครือข่ายการเรียนรู้จึงมี รูปแบบของการร่วมกันบนพื้นฐานของการ แบง่ ปันความนา่ สนใจ ของข้อมลู ขา่ วสารซ่งึ กนั และกัน 3. สรา้ งกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเป็นผู้กระทามากกว่าเปน็ ผถู้ กู กระทา 4. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรยี นการสอน และเน้นบทบาททเ่ี ปลี่ยนแปลงไป 5. จดั ใหเ้ ครอื ข่ายการเรยี นรเู้ ป็นเสมือนชมุ ชนของการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ รูปแบบเครือข่ายการเรยี นรู้ 1. แบง่ ตามจดุ มงุ่ หมายของการเรยี นรู้ ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะภายใต้โครงสร้างของเครือข่ายการ เรยี นรู้ 1.1 เครอื ข่ายการเรยี นรทู้ ่มี ุ่งเน้นเอกตั บคุ คลเปน็ หลัก มีลกั ษณะของการประสานสัมพนั ธ์

28 การดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือขยายการให้บริการทางการศึกษาในระบบโรงเรียน นอก ระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ไปยังผู้ที่ต้องการ อย่างกว้างขวาง และสนองตอบปัญหาความ ตอ้ งการของแต่ละบุคคล ตลอดจนจิตใตส้ านึกในการมีส่วนร่วมพฒั นา 1.2 เครอื ขา่ ยการเรียนรทู้ ่ีมุ่งเนน้ ชุมชนเป็นหลกั เปน็ การกระตุน้ ใหส้ มาชิกใชศ้ กั ยภาพของ ตนเองเพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนในการพึ่งพาตนเอง บนพ้ืนฐานของการเข้าใจ สภาพปญั หา เงอ่ื นไข ขอ้ จากัด และความต้องการของตน 2. แบ่งตามโครงสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ซึ่งพิจารณาถึงโครงสร้างเครือข่ายการเรียนรู้อาศัยความ ร่วมมือระหว่างบุคคล องค์กร และเทคโนโลยีการส่ือสารเช่ือมโยงกันเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ สามารถจาแนกออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท ดังนี้ 2.1 เครอื ขา่ ยการเรยี นรูโ้ ครงสรา้ งกระจายศูนย์ มีศนู ยก์ ลางทาหน้าทปี่ ระสานงาน แต่ ภารกิจในการเรียนการสอนจะกระจายความรบั ผิดชอบให้สมาชิกเครือข่ายซึ่งต่างก็มีความสัมพันธ์เท่าเทียมกัน รูปแบบนี้อาจเรียกว่าการกระจายความรับผิดชอบ (Distributed Network) ซ่ึงพบได้ในเครือข่ายการพัฒนา ชนบท และการเรยี นรู้จากแหลง่ วิทยาการชุมชน โดยอาศยั ส่ือบคุ คลเปน็ หลัก 2.2 เครือข่ายการเรยี นรู้โครงสรา้ งรวมศูนย์ มอี งค์กรกลางเปน็ ทั้งศูนยป์ ระสานงาน และ เปน็ แม่ขา่ ยรวบรวมอานาจการจดั การความรูไ้ วใ้ นศูนย์กลาง การลงทนุ ด้านเทคโนโลยีและกาลังคนอยู่ท่ีแม่ข่าย ส่วนลูกข่ายหรอื สมาชกิ เป็นเพียงผู้รว่ มใชบ้ ริการจากศูนย์กลาง 2.3 เครือขา่ ยการเรยี นรโู้ ครงสรา้ งลาดับข้นั (Hierarchical Network) มีลกั ษณะ เชน่ เดยี วกบั แผนภูมิองค์กร การติดต่อส่ือสารข้อมูลต้องผ่านตามลาดับข้ันตอนมาก นิยมใช้การบริหาร จัดการ องคก์ รต่างๆ ซง่ึ เหมาะแก่การควบคุม ดแู ลระบบงาน 2.4 เครอื ข่ายการเรยี นร้โู ครงสร้างแบบผสม คือมีท้งั แบบรวมศนู ยแ์ ละกระจายศูนย์ ซง่ึ พบ มากในการจัดการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน เน่ืองจากการเรียนรู้มิได้อาศัยส่ือใดสื่อหนึ่งเป็นหลัก หากแต่มีการ ผสมผสานสื่อบคุ คล และเทคโนโลยีจึงจาเป็นต้องจัดระบบเครือข่ายแบบผสม เพ่ือสนองความต้องการได้อย่าง กว้างขวางและตรง 3. แบ่งตามหน่วยสังคม ได้แบ่งการเครือข่ายการเรียนรู้ออกเป็น 4 ระดับ คือ เครือข่ายการเรียนรู้ ระดับบุคคล เครือข่ายการเรียนรู้ระดับกลุ่ม เครือข่ายการเรียนรู้ระดับชุมชน และเครือข่ายการ เรียนรู้ระดบั สถาบนั 4. แบ่งตามระดับการปกครองและลักษณะของงาน ซ่ึง ประเวศ วะสี (2538) ได้แบ่งประเภทของ เครือขา่ ยการเรียนรู้ออกเป็น 13 ประเภท คือ เครือขา่ ยชุมชนเครือข่ายนักพัฒนา เครือข่ายระดับ จังหวัด เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายวิชาชีพ เครือข่ายธุรกิจ เครือข่ายส่ือสารมวลชน เครือข่ายนัก ฝึกอบรม เครือข่ายการประมวลและสังเคราะห์องค์ความรู้ระดับชาติ เครือข่ายภาคสาธารณะ เครอื ขา่ ยวชิ าการ เครอื ขา่ ยนโยบายองคก์ รของรฐั และเครือข่ายผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

29 ระบบเครอื ขา่ ย ( Network ) จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าดว้ ยกนั เพ่ือการติดต่อสื่อสาร เราสามารถส่ง ข้อมูลภายในอาคาร หรือข้ามระหว่างเมืองไปจนถึงซึกหน่ึงของโลก ซึ่งข้อมูลข่าวสารต่างๆ อาจเป็นข้อความ กราฟิก เสียง หรือข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ การส่งข้อมูลวิธีน้ีเรียกว่า โทรคมนาคม (Telecommunication) หรือ การส่งข้อมูล คอมพิวเตอร์ ในระบบเครือข่ายจะมีหลายชื่อเรียก เช่น Networked , Linked up หรือ online บางครัง้ เรียกสน้ั ๆ วา่ เนต็ (Net) ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรส์ ามารถแยกได้สองประเภท คือ เครือข่ายท้องถ่ิน (Local Area Network) หรือแลน (LAN) คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอยู่ใกล้กันและเครือข่ายระยะไกลหรือบางครั้งเรียกว่า (Wide Area Network) หรือเรียกว่าย่อว่า (WAN) ซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ห่างกันอาจเป็นหลายร้อยหรือหลายพัน กิโลเมตร โดยการเช่อื มโยงสัญญาณเพ่อื การสื่อสารกันสามารถใช้คู่สายโทรศัพท์ที่เช่าเป็นประจา และสัญญาณ ไมโครเวฟใช้ช่องสัญญาณของดาวเทียมปกติโดยให้คอมพิวเตอร์ท่ีเป็นคู่สายติดต่อกันเอง เม่ือมีข่าวสารหรือ ขอ้ ความต้องการจะสง่ ก็ได้ แนวทางการบริหารจดั การและพัฒนาเครือขา่ ยการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ขัน้ ดงั นี้ 1. ข้ันการก่อรูปเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ (learning network forming) เป็นการก่อตัวข้ึนโดยมีแนวทาง สาคัญที่ควรดาเนินการ 4 ประการ ไดแ้ ก่ การสรา้ งความตระหนักในปัญหาและการสร้างสานึกใน การรวมตัว การสร้างจุดรวมของผลประโยชน์ในเครือข่ายการแสวงหาแกนนาท่ีดีของเครือข่าย และการสร้างแนวร่วมของสมาชิกเครือข่าย ถ้าเครือข่ายแห่งใดปฏิบัติได้ตามแนวทางดังกล่าวก็ เชื่อไดว้ ่าจะสามารถกอ่ ต้งั เครือขา่ ยในชุมชนได้อย่างแนน่ อน 2. ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network organizing) การจัดระบบ บริหารเครือข่ายการเรียนรู้ท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จ มีองค์ประกอบสาคัญที่ควรพิจารณา 5 ประการ คอื การจัดผังกลุ่มเครือข่าย การจัดบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในเครือข่าย การจัดระบบ การติดต่อสื่อสาร การจัดระบบการเรียนรู้ร่วมกัน และการจัดระบบสารสนเทศ ดังน้ันถ้าสามารถ จัดระบบบริหารเครอื ข่ายไดค้ รบถว้ นดงั กล่าว ผลทต่ี ามมาก็จะเป็นไปอย่างราบร่ืน 3. ข้ันการใช้เครือข่ายการเรียนรู้(learning network utilizing ) การใช้ประโยชน์จากเครือข่ายการ เรียนรู้จากการดาเนินงานด้านต่างๆ ท่ีสาคัญ 5 ประการ ได้แก่ การใช้เครือข่ายเพ่ือให้เป็นเวที กลางประสานงานร่วมกันระหว่างสมาชิกภายในและภายนอกเครือข่าย การใช้เครือข่ายเพื่อเป็น เวทีแลกเปล่ียนสารสนเทศและความรู้ของสมาชิกเครือข่าย และผู้สนใจการใช้เครือข่ายเพ่ือให้ เป็นเวทีแลกเปลี่ยนระดมทรัพยากรร่วมกันของสมาชิกเครือข่าย การใช้เครือข่ายเพื่อให้เป็นเวที ร่วมสร้างสรรค์และพัฒนาความรู้ใหม่ๆ ให้แก่สมาชิกทั้งภายในและภายนอกเครือข่ายและการใช้ เครอื ขา่ ยเพ่อื ใหเ้ ป็นเวทีสรา้ งกระแสผลกั ดันประเด็นใหมๆ่ ทเี่ ป็นปัญหาของชมุ ชนและสงั คม 4. ข้ันการธารงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network maintaining) การธารงรักษา เครือข่ายเพื่อให้ดาเนินการไปสู่ความสาเร็จน้ัน มีแนวทางปฏิบัติ 6 ประการดังนี้ การจัด

30 ดาเนินการกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันอย่างต่อเน่ือง การรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างสมาชิก เครือข่าย การกาหนดกลไกและการสร้างระบบแรงจูงใจให้แก่สมาชิกของเครือข่าย การให้ความ ช่วยเหลือและช่วยแก้ไขปญั หาอยา่ งจรงิ จัง และการสร้างผนู้ ารุ่นใหม่อย่างตอ่ เนือ่ ง เปน็ ตน้ กระบวนการและวธิ ีการสรา้ งเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ 1. การตระหนักถึงความจาเป็นในการสร้างเครือข่ายเป็นขั้นตอนที่ผู้ปฏิบัติงานหรือฝ่ายจัดการ ตระหนักถึงความจาเป็นในการสร้างเครือข่ายเพื่อท่ีจะทางานให้บรรลุเป้าหมายรวมท้ังพิจารณา ถึงองค์กรต่างๆ ที่เหน็ ว่าเหมาะสมเพือ่ รวมเขา้ เป็นเครือข่ายในการทางานร่วมกัน 2. การติดต่อกับองค์กรท่ีจะร่วมเป็นเครือข่ายหลังจากตัดสินใจเกี่ยวกับองค์กรที่เห็นว่าเหมาะสมใน การเข้าร่วมเป็นเครือข่ายแล้ว ก็จะเป็นขั้นการติดต่อสัมพันธ์เพื่อชักชวนให้เข้าร่วมเป็นเครือข่าย ในการเรยี นรู้ โดยตอ้ งสร้างความคุ้นเคย การยอมรับและความไว้ว่างใจระหว่างกันมีการให้ข้อมูล และแลกเปลีย่ นขอ้ มลู กระตุ้นให้คดิ รว่ มกนั เพอ่ื แก้ปัญหาหรือพฒั นาในเร่ืองเดียวกันของเครือข่าย ถือวา่ เปน็ การเตรยี มกลุม่ เครอื ข่าย 3. การสร้างพันธกรณีร่วมกัน เป็นข้นตอนการสร้างความผูกพันร่วมกัน มีการตกลงใจใน ความสัมพันธ์ต่อกันและตกลงที่จะทางานร่วมกันเป็นเครือข่ายซึ่งการทากิจกรรมเพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการหรือแก้ปญั หาร่มกนั จะต้องมคี วามรเู้ พียงพอทจ่ี ะทากจิ กรรมได้โดยการเชิญวิทยากร มาถา่ ยถอดเพิ่มพนู ความรู้ การไปศกึ ษาดงู าน เป็นต้น ทาใหเ้ กดิ เป็นกลุม่ ศกึ ษาเรียนรู้ข้ึนในองค์กร เครอื ขา่ ย 4. การพฒั นาความสัมพนั ธร์ ่วมกัน เป็นขนั้ ตอนท่สี ร้างเครอื ข่ายใหเ้ กิดผลงานเป็นรูปธรรมโดยเร่ิมทา กิจกรรมท่ีใช้ทรัพยากรร่วมกัน มีการตกลงในเร่ืองของการบริหารจัดการขององค์กรเครือข่าย ซึ่ง เรมิ่ ด้วยการกาหนดวัตถุประสงค์ กาหนดกิจกรรม กาหนดบทบาทของสมาชิก รวมท้ังสิทธิหน้าท่ี ของผเู้ กีย่ วขอ้ งชดั เจนขนึ้ เกิดเปน็ กลุ่มกจิ กรรมขน้ึ ในองคก์ รเครือข่าย 5. การทากิจกรรมร่วมกัน เป็นขั้นตอนที่เกิดข้ึนหลังจากมีการพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกันแล้ และ นาไปสกู่ ารทากจิ กรรมรว่ มกนั จนมผี ลงานเปน็ ทีป่ ากฎชดั เกิดประโยชน์ร่วมกันในองค์กรเครือข่าย จนเกดิ การขยายกลุม่ เครอื ข่ายมากยิ่งขนึ้ 6. การรวมตัวกันจัดต้งั องค์กรใหมร่ ่วมกนั เพือ่ รองรับจานวนสมาชกิ ใหมท่ มี่ ากขึ้น ตัวอย่างเครือขา่ ยการเรยี นรู้ 1. เครือข่ายไทยสาร เป็นเครือข่ายเช่ือมโยงสถาบันการศึกษาต่างๆ ระดับมหาวิทยาลัยเข้าด้วยกัน กว่า 50 สถาบนั เรมิ่ จัดสร้างในปี พ.ศ.2535 2. เครือข่ายยูนิเน็ต (UNINET) เป็นเครือข่ายเพื่อการเรียนการสอนที่สาคัญในยุคโลกาภิวัตน์ จัดทา โดยทบวง มหาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. 2540

31 3. สคูลเนต็ (school Net) เปน็ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ได้รับการดูแลและสนับสนุน โดยศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เครือข่ายน้ีเชื่อมโยงโรงเรียนใน ประเทศไทยไวก้ วา่ 100 แหง่ และเปดิ โอกาสให้โรงเรียนอืน่ ๆ และบคุ คลท่ีสนใจเข้าเครือข่ายได้ 4. เครือข่ายนนทรี เป็นเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นับเป็นเครือข่ายที่สมบูรณ์แบบ และใช้เทคโนโลยีชั้นสูง สามารถตอบสนองความต้องการใช้ของนิสิต อาจารย์ ข้าราชก าร ตลอดจนการรองรับทางด้านทรัพยากรเซอรเ์ วอร์อย่างพอเพียง 5. เครือข่ายกระจายเสียงวิทยุ อสมท. จะรวมผังรายการวิทยุในเครือข่าย อสมท. มีไฟล์เสียงรับฟัง ทางอนิ เทอรเ์ น็ตได้ 6. เครือข่ายสมานฉันท์เพ่ือการปฏิรูปการเมือง เป็นเครือข่ายท่ีใช้แลกเปล่ียนความคิดเห็นประเด็น ต่าง ๆ ทางการเมือง และบทวเิ คราะห์ดา้ นการเมือง 7. ThaiSafeNet.Org เปน็ เครอื ข่ายผ้ปู กครองออนไลน์ มีพันธกจิ ด้านการเช่ือมโยงครู ผู้ปกครอง นัก การศึกษา ประเภทการเรยี นการสอนออนไลน์ ได้แก่ e-Learning เป็นการเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหาน้ัน กระทา ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณ โทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะน้ีได้มีการนาเข้าสู่ตลาด เมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอ ผ่านออนไลน์ เปน็ ต้น e-Book หนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่อ่านสามารถ อ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรืออุปกรณ์ อิเลก็ ทรอนิกส์พกพาอน่ื ๆ ได้ หนงั สือหรอื เอกสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ จะมีความหมายรวมถึงเน้ือหา ท่ีถูกดัดแปลง อยใู่ นรูปแบบทส่ี ามารถแสดงผลออกมาได้ โดยเครือ่ งมืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มีลกั ษณะการ นาเสนอ สอดคล้อง และ คล้ายคลึงกับ การอ่านหนังสือท่ัวไปในชีวิตประจาวัน แต่จะมี ลักษณะพิเศษ คือ สะดวกและรวดเร็ว ในการ ค้นหา และผู้อ่าน สามารถอ่าน พร้อม ๆ กันได้โดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ายส่งคืนห้องสมุด เช่นเดียวกับหนังสือใน ห้องสมดุ ทัว่ ไป e-Education หรือ Virtual Education หรือ หลักในการดาเนินงาน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนที่ใดก็ ได้ (any where) เมื่อใด Online Teaching and Learning คือรูปแบบการจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งที่ อาศยั เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเครอื่ งมอื ก็ได้ (any time) ซงึ่ เปน็ อีกรูปแบบหนงึ่ ของการเรียนการสอนทางไกล โดยที่ Online Teaching and Learning จะเนน้ ระบบและกลไกในการดาเนินงานแบบออนไลน์ Courseware คือ เอกสารประกอบการเรียนการสอนที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการเรียนการสอน ออนไลน์ ซงึ่ ในปัจจุบันนยิ มทาในรูปของเอกสารเว็บ Courseware ท่ีดีจะต้องได้รับการออกแบบเพ่ือให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยเน้นท่ีองค์ความรู้จากห้องสมุดเสมือนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งสามารถจะ

32 เข้าถึงได้ทันที มกี ารแบ่งเนอ้ื หาออกเป็นบทเรยี น มกี ารทดสอบเพื่อประเมินว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในระดับใด มีการออกแบบให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาวิชา ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน โดยใช้การ ส่ือสารผ่านเครือข่าย Virtual University คือมหาวิทยาลัยท่ีมีการเปิดการเรียนการสอนทางไกล โดยกิจกรรมหลักท่ี เก่ียวข้องกับการดาเนินการจัดการเรียนการสอนจะใชร้ ะบบออนไลนเ์ ปน็ หลัก ซง่ึ ก็เป็นอกี รปู แบบหนง่ึ e-Commerce ทางการศึกษา การจดั การศึกษาแบบ Virtual University นี้อาจจะดาเนินการโดยใช้บุคลากร ของมหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ ที่อยคู่ นละแห่งมารว่ มมือกันได้เปน็ เครือขา่ ย การวเิ คราะหป์ ญั หาการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี กิดจากการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 1. ความหมายของปัญหาความหมายปญั หาคือประเด็นทีเ่ ป็นอุปสรรค ความยากลาบาก ความทา้ ทาย หรอื เปน็ สถานการณใ์ ด ๆ ท่ีต้องมีการแก้ปัญหาซึง่ การแก้ปัญหาจะรับรู้ได้จากผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาหรือ ผลงานที่นาไปสู่วัตถปุ ระสงค์หรือเป้าหมาย ประเด็นปัญหาแสดงถงึ ทางออกทีต่ อ้ งการ ควบคู่กบั ความบกพร่อง ข้อสงสยั หรอื ความไม่สอดคล้องทป่ี รากฏขนึ้ ซึง่ ขัดขวางมใิ ห้ผลลัพธ์ประสบผลสาเร็จ 2. วิธีการหรือกระบวนการวิเคราะห์ปัญหากระบวนการวิเคราะห์ปัญหากระบวนการแก้ไขปัญหามี ขั้นตอนทีเ่ ก่ียวขอ้ ง5ประการดังน้ี 1.การกาหนดหรือนยิ ามปัญหา 2.การวิเคราะหส์ าเหตุ 3.การตัดสินใจ 4.การลงมอื ปฏบิ ตั ิ 5.การประเมินผล

33 3. เหตุผล ที่ครูต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับปัญหาการจัดการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศครูต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับ ปัญหาการจัดการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูจะต้องมีความเข้าใจ และผลกระทบที่จะตามมาจากการใช้งาน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศนอกจากจะมี ประโยชนม์ ากมายในการพฒั นาการเรียนการสอนแล้ว ยังมีโทษของการใช้งานและปัญหาอ่ืน ๆหากใช้อย่างไม่ เหมาะสม ครูจึงต้องตระหนักและมีความรู้ มีคุณธรรมในการใช้งาน เพื่อให้เกิดผลประสิทธิภาพที่ดี และเพ่ือ ปอ้ งกนั ปัญหาที่อาจจะตามมาในการจัดการเรยี นรู้ 4. ปญั หา และสาเหตุ การจดั การเรียนรูท้ เี่ กิดจากการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการกระจายโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อการศึกษามีคอมพิวเตอร์ยังไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อความ ตอ้ งการและทีม่ อี ยกู่ ็ขาดการบารุงรักษา รวมทง้ั ไมอ่ ยู่ในสภาพท่ใี ชก้ ารได้ ด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ พัฒนาการเรียนรูค้ รูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ พฒั นาทักษะวชิ าชีพครูน้อยมากและคอมพิวเตอร์มีจานวนไม่เพียงพอกับความต้องการที่ครูจะใช้มีการวางแผน ที่ไม่ดีพอวางแผนจัดการความเสี่ยงไม่ดีพอ ยิ่งสถานศึกษามีขนาดใหญ่มากข้ึนเท่าใด การจัดการกับความเส่ียง ย่อมจะมีความสาคญั มากขึน้ ตามลาดบั ทาใหค้ า่ ใช้จ่ายด้านน้เี พิม่ สูงขึ้น การนาเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งานการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในสถานศึกษา จาเปน็ ตอ้ งพิจารณาให้สอดคลอ้ งและตรงกบั ลักษณะของแนวการสอนหรือนโยบายของสถานศึกษา การขาดการจดั การหรือสนบั สนุนจากผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง ด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร เพ่ือพฒั นาการบริหารจัดการและให้บริการทางการ ศึกษา สถานศึกษายังขาดรูปแบบระบบสารสนเทศ และจัดให้ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในระดบั เบอ้ื งตน้ ปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ส่วนใหญ่การใช้วัสดุ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ และเทคนิค วิธีการครูหรือบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนมีปัญหาด้านงบประมาณไม่เพียงพอและมีความล่าช้า วัสดุ เคร่ืองมือหรืออปุ กรณ์มไี มเ่ พียงพอกับความต้องการ 5. สาเหตุ ของการเกิดปญั หาการจัดการเรียนรู้ท่เี กิดจากการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ ละดา้ น โดยใช้เครื่องมือ

34 5.1 ผู้บริหาร ครู และนักเรียนบุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตส่ือประกอบการจัด กจิ กรรม บุคลากรขาดประสบการณ์ในการใช้สอ่ื นวัตกรรมทางการศึกษา 5.2 เคร่อื งมือ และอปุ กรณ์เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ ขาดงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรม อุปกรณ์ ไมเ่ พียงพอกบั ผู้เรยี น 5.3 วัสดุวัสดุขาดงบประมาณในการจัดซ้ือ ไม่มีงบประมาณและการจัดเก็บไม่มีประสิทธิภาพ ทาให้ วัสดุเกดิ ความเสยี หาย 5.4 วิธีการการจัดกิจกรรมวิธีการ กิจกรรม ครูยึดวิธีการสอนแบบเดิม คือบรรยายหน้าช้ันเรียน แต่ ส่วนใหญ่มีแนวโน้มในการพัฒนาท่ีดีขึ้น ครูยังไม่มีการนาสื่อนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่าง ต่อเนอื่ ง 5.5 สภาพแวดล้อมสภาพแวดล้อมโดยท่ัวไปยังไม่เหมาะสมกับการใช้ส่ือ เน่ืองจากความยุ่งยากและ ไมค่ ลอ่ งตวั มีสถานที่ไมเ่ ปน็ สดั ส่วน ไมม่ หี ้องท่ีใชเ้ พอื่ เกบ็ รกั ษาสอื่ 6. จากข้อ 5. เสนอแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ แตล่ ะดา้ น 6.1. สร้างความตระหนัก ความรับผิดชอบในส่วนท่ียังบกพร่องทางนวัตกรรมของบุคลากร ส่งเสริมให้เข้าร่วมการอบรมสัมมนา ส่งเสริมให้เกิดการศึกษาด้วยตนเอง เพ่ือให้ความรู้และประสบการณ์ใน การใช้สื่อนวตั กรรมทางการศึกษาทม่ี ากขน้ึ 6.2. เพ่ิมงบประมาณให้เพียงพอ ให้หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องจัดหางบประมาณสนับสนุน สานักงานเขตพ้ืนทต่ี อ้ งชว่ ยดูแลและให้ความช่วยเหลือจัดสรรงบประมาณได้ เพื่อใช้ในการพัฒนานวัตกรรมให้ มคี ณุ ภาพดยี งิ่ ขน้ึ และระดมทรัพยากรที่มีในทอ้ งถนิ่ มาชว่ ยสนบั สนนุ 6.3. แนวทางการแก้ไข คือ ใช้ส่อื นวตั กรรมตามความเหมาะสมของเนื้อหาวิชาตามความยากง่าย ของเนือ้ หา แบง่ สือ่ ไปตามหอ้ งให้ครูรับผดิ ชอบ ควรจดั หาหอ้ งเพ่อื การนเ้ี ป็นการเฉพาะ 6.4. จัดกลุ่มให้เพ่ือนช่วยเพื่อน คอยกากับแนะนาช่วยเหลือ จัดครูเข้าสอนตามประสบการณ์ ความถนัด ควรจัดอบรมเพ่ือให้ความรู้ จัดทานวัตกรรมท่ีมีโอกาสเป็นไปได้ และสร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชน สอนเพมิ่ เตมิ นอกเวลา 6.5. เน้นการเรียนการสอนท่ีนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง จัด แบบทดสอบที่หลากหลาย ทั้งแบบปรนัย และอัตนัย และประเมินผลตามสภาพจริง ประเมินผลงานจากแฟ้ม สะสมงาน 7. วิเคราะห์ปัญหา ในช้ันเรียนปัญหา: ครูยังยึดวิธีการสอนแบบเดิมสอนแบบนิรนัยและแบบปรนัย คือ บรรยายหน้าชน้ั เรยี น เครือ่ งมือที่เลอื กใช้: powtoon,prezi และ socrativ

35 บรรณนานกุ รม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2550). 81 แหล่งการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี กรุงเทพฯ : โรงพมิ พส์ านักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ. เกษม คาบุตดา. (2550) . การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียน เพ่ือส่งเสริมการพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม นักเรียนโรงเรยี นอนุบาลมหาสารคาม อาเภอเมือง จงั หวดั มหาสารคาม. (การศึกษาค้นควา้ อิสระ, มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ชนาธปิ แก้วบา้ นดอน. (2557). ความหมายของแหล่งเรียนร.ู้ [เวบ็ บล็อก]. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/560489. นิรนาม. (2555). ความหมายของแหลง่ เรียนรู.้ [เวบ็ บล็อก]. สืบคน้ จาก http://www.thaigoodview.com/node/125007. พันธป์ ระภา พูนสิน. (2554). ความสาคญั ของแหลง่ การเรียนร.ู้ [เวบ็ บลอ็ ก]. สบื คน้ จาก https://sites.google.com/site/punaoy/kha/phumipayya1 / khwamhmaykhxnghaelngkarr eiynru. พันธป์ ระภา พนู สิน. (2554). ประเภทของแหล่งการเรยี นร.ู้ [เว็บบลอ็ ก]. สบื ค้นจาก https://sites.google.com/site/punaoy/kha/phumipayya1 / khwamhmaykhxnghaelngkarr eiynru. สนธยา พลศรี. (2550). เครอื ข่ายการเรยี นรู้ในงานพัฒนาชุมชน. พิมพ์คร้งั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : โอเดยี น สโตร์.สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดมหาสารคาม. (2545). แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นใน จังหวัด มหาสารคาม. มหาสารคาม : ฝา่ ยบรกิ ารทางการศกึ ษา หน่วยศึกษานิเทศก์. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2550). แหล่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตต้นแบบ 4 ภูมภิ าค. กรงุ เทพฯ : ชมุ ชนสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. สทุ ธิธรรม เลชววิ ฒั น.์ (2549). เครือข่ายชุมชนพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันวถิ ีทรรศน.์ เสาวภา ประพนั วงศ.์ (2551,ม.ค. – ธ.ค.). การจดั การแหล่งเรยี นรู้ (Management of Lifelong Learning : Library). อนิ ฟอรเ์ มช่นั , 15(1), 14-19. อนรุ ักษ์ ปญั ญานวุ ัฒน์, รหนั แตงจวง และสกุ ัญญา นมิ านนั ท.์ (2536). ประสิทธิภาพของรูปแบบ การถา่ ยทอดความร้ดู ว้ ยสอื่ บคุ คล : กรณศี ึกษาการเผยแพร่ความรูเ้ รอื่ งโรคเอดสใ์ นชุมชนชาน เมอื งเชยี งใหม.่ เชียงใหม่ : ม.ป.ท. เอกวทิ ย์ ณ ถลาง. (2540). ภมู ิปญั ญาชาวบา้ นสภ่ี มู ภิ าค: วถิ ีชวี ติ และกระบวนการเรียนรู้ของชาวบา้ น ไทย. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook