Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานสร้างสื่ออั้ม

ใบงานสร้างสื่ออั้ม

Published by Naritsara Kanyaprasit, 2021-02-11 09:00:19

Description: ใบงานสร้างสื่ออั้ม

Search

Read the Text Version

ใบความร้ทู ี่ 1 ความร้เู บ้ืองต้นเกยี่ วกับการตัดต่อวิดีโอ ในปัจจุบนั งานวดิ ีโอไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในชวี ติ ของเรามากข้ึน ดว้ ยความสามารถของงานทางดา้ น มลั ติมเี ดียทท่ี าให้การนาเสนองานของเรานา่ สนใจแล้วราคากล้องวิดโี อกร็ าคาถูกลงมามากและหาซื้อไดไ้ ม ่ ยาก พร้อมกบั โปรแกรมที่ใชใ้ นการตดั ตอ่ วดิ โี อก็มใี หเ้ ลือกใชม้ ากมายและกไ็ มย่ ากจนเกนิ ไปท่ีจะเรียนรู้ สาหรบั สื่อน้ีจะขอนาเสนอการตดั ตอ่ ดว้ ยโปรแกรม Ulead Video Studio เพอ่ื เป็นพนื้ ฐานในการตดั ตอ่ เพื่อ นาไปใชป้ ระโยชน์ดงั น้ี ประโยชน์ของงานวิดีโอ 1. แนะนาองคก์ รและหนว่ ยงาน การสรา้ งงานวดิ โี อเพ่อื แนะนาสถานที่ตา่ งๆ หรือในการนาเสนอ ขอ้ มลู ภายในหนว่ ยงานและองค์กร เพื่อสร้างความนา่ สนใจให้กบั ผชู้ มผฟู้ ังและยงั กอ่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจใน ตวั งานไดง้ า่ ยข้ึน 2. บนั ทึกภาพความทรงจา และเหตกุ ารณส์ าคญั ตา่ งๆ เชน่ การเดนิ ทางไปทอ่ งเทีย่ วในสถานทีต่ า่ งๆ งานวนั เกดิ งานแตง่ งาน งานรับปริญญางานเล้ยี งของหนว่ ยงานหรือองค์กร ซ่งึ เดิมเราจะเกบ็ ไวใ้ นรูปแบบ ภาพน่ิง 3. การทาสื่อการเรียนการสอน คณุ ครูสามารถสรา้ งส่ือการสอนในรูปแบบวดิ ีโอไวน้ าเสนอได้ หลายรูปแบบ เชน่ เป็นวดิ ีโอโดยตรง เป็นภาพวดิ โี อประกอบในโปรแกรม POWER POINT เป็นภาพวดิ ีโอ ประกอบใน Homepage และอื่นๆ 4. การนาเสนอรายงาน วทิ ยานิพนธ์ และงานวจิ ยั ตา่ งๆ ซ่งึ ปรับเปล่ยี นการนาเสนองานจากรูป แบบเดมิ ท่เี ป็นเอกสารภาพประกอบ แผน่ ชาร์จแผน่ ใส ให้ทนั สมยั เหมาะสมกบั สถานการณ์ปัจจุบนั 5. วดิ ีโอสาหรบั บุคคลพเิ ศษ บุคคลสาคญั ในโอกาสพิเศษ อาจหมายถงึ วทิ ยากรท่ีเชิญมาบรรยาย ผู้ จะเกษยี ณอายจุ ากการทางาน เจา้ ของวนั เกดิ คบู่ า่ วสาว โอกาสของบุคคลทไ่ี ดร้ ับรางวลั ตา่ งๆ ทีก่ ลา่ วมาน้ีคอื สว่ นหน่ึงทจี่ ะชว่ ยใหเ้ รามองเห็นความสาคญั ของงานวดิ โี อมากข้นึ และไดร้ ูว้ า่ การทา วดิ ีโอไมไ่ ดล้ งทนุ มากและยงุ่ ยากอยา่ งท่ีคดิ จากประสบการณ์ ในการทางานวดิ ีโอ สรุปไดว้ า่ วดิ โี อทดี่ ี ไมไ่ ด้ ข้ึนอยกู่ บั จานวนเงินลงทนุ ที่ใช้ แตข่ ้นึ อยูก่ บั ความประณีต และความคิดสร้างสรรค์ แนวคดิ ในการสร้างวดิ ีโอ กอ่ นท่ลี งมอื สร้างผลงานวดิ ีโอสักเรื่อง จะตอ้ งผา่ นกระบวนการคดิ วางแผนมาอยา่ งรอบครอบ ไมใ่ ชไ่ ปถา่ ยวดิ โี อแลว้ กน็ ามาตัดตอ่ เลย โดยไมม่ กี ารคิดให้ดีกอ่ นท่ีจะถา่ ยทา เพราะปัญหาทมี่ กั เกดิ ข้นึ เสมอ กค็ ือการทีไ่ มไ่ ดภ้ าพตามท่ีตอ้ งการ เน้ือหาท่ีถา่ ยมาไมส่ อดคลอ้ งกบั สิ่งทตี่ ้องการนาเสนอ ในท่นี ้ีขอแนะนา แนวคดิ ในการทางานวดิ โี ออยา่ งมีประสิทธิภาพ ตรงตามความตอ้ งการ จะไมต่ อ้ งมาเสียเวลาแกไ้ ขภายหลงั โดยมลี าดบั แนวคดิ ของงานสร้างวดิ โี อเบอ้ื งตน้ ดงั น้ี

1. เขียน Storyboard สิ่งแรกทเี่ ราควรเรียนรู้กอ่ นสรา้ งงานวดิ โี อ กค็ อื การเขียนStoryboard คอื การจินตนาการฉาก ตา่ งๆ กอ่ นที่จะถา่ ยทาจริงในการเขยี น Storyboard อาจวธิ ีงา่ ยๆ ไมถ่ งึ ขนาดวาดภาพปรกอบก็ได้ เพียงเขียน วตั ถปุ ระสงค์ของงานใหช้ ดั เจนวา่ ตอ้ งการสื่ออะไรหรืองานประเภทไหน จากน้ันดวู า่ เราตอ้ งการภาพ อะไรบา้ ง เขียนออกมาเป็นฉาก เรียงลาดบั 1, 2, 3,.......(ดูรายละเอยี ดการเขียน Storyboard ทา้ ยใบความรูท้ ี่ 1) 2. เตรียมองค์ประกอบต่างๆ ทต่ี ้องใช้ ในการทางานวดิ ีโอ เราจะตอ้ งเตรียมองคป์ ระกอบตา่ งๆ ให้ครบถว้ น ไมว่ า่ จะเป็นไฟล์วดิ ีโอ ไฟล์ ภาพน่ิง ไฟลเ์ สียง วดิ โี อ การตดั ตอ่ คอื การนาองค์ประกอบตา่ งๆ ทีเ่ ตรียมไวม้ าตดั ตอ่ เป็นงานวดิ ีโอ งานวดิ โี อจะออกมาดี นา่ สนใจเพียงใดข้ึนอยกู่ บั การตดั ตอ่ เป็นสาคญั ซ่งึ เราจะตอ้ งเรียนรู้การตดั ตอ่ ในบทตอ่ ไปกอ่ น 4. ใส่เอ็ฟหรือไฟลด์ นตรี 3. ตดั ต่องานเฟ็กต์/ตัดต่อใส่เสียง ในขน้ั ตอนการตดั ตอ่ เราจะตอ้ งตกแตง่ งานวดิ โี อดว้ ยเทคนิคพิเศษตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็นการเลน่ สี การ ใสข่ อ้ ความ หรือเสียงดนตรี ซ่ึงจะชว่ ยใหง้ านของเรามสี ีสนั และนา่ สนใจมากย่ิงข้นึ 5. แปลงวิดีโอ เพ่ือนาไปใช้งานจริง ข้นั ตอนการแปลงวดิ โี อเป็นขน้ั ตอนสุดทา้ ย ในการทางานวดิ โี อทเ่ี ราไดท้ าเรียบรอ้ ยแลว้ น้นั ไปใช้ งาน โปรแกรม Ulead Video Studio สามารถทาไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ ทาเป็น VCD, DVD หรือเป็นไฟล์ WMV สาหรบั นาเสนอทางอินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ในการตดั ต่อวิดีโอ 1. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์เป็นอปุ กรณช์ ิ้นแรกท่ีจาเป็นตอ้ งมี ปัจจุบนั เทคโนโลยีกา้ วหนา้ ไปไกล ทาให้เราสามารถมเี คร่ือง คอมพิวเตอร์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูงในราคาประหยดั สาหรับ เคร่ืองคอมพิวเตอร์สาหรบั การตัดตอ่ ควรมีสเป็คเครื่องขน้ั ต่า ดงั น้ี * ซพี ยี ู แนะนา Pentium 4 ความเร็ว 1 GHz ข้นึ ไป * แรมหรือหน่วยความจา ขนาด 512 MB ข้ึนไป * ฮาร์ดดสิ ก์ 80 GB ซ่งึ ปัจจบุ นั เครื่องคอมพวิ เตอร์ มคี วามจุ ฮาร์ดดสิ กม์ ากพออยแู่ ล้ว

* ระบบปฏบิ ัติการ แนะนาให้ใช้Windows XP/2000 2. กล้องถ่ายวิดโี อ กลอ้ งถา่ ยวดิ ีโอ มหี ลายประเภท หลายรูปแบบ แตใ่ นท่จี ะ กลา่ วถึงการใชง้ านเฉพาะกลอ้ งถา่ ยวดิ ีโอแบบดิจติ อล หรือ กลอ้ งดิจติ อลแบบ MiniDV 3. Capture Card (การ์ดจบั ภาพวดิ โี อ) เน่ืองจากเราไมส่ ามารถนาภาพวดิ ีโอที่อยู่ ในกลอ้ งวดิ โี อมาใช้ กบั เครื่องคอมพวิ เตอร์โดยตรง ดงั น้ันเราจาเป็นตอ้ งมอี ุปกรณ์ ทเี่ รียกวา่ การ์ดแคปเจอร์ หรือการ์ดจบั ภาพวดิ โี อ ชว่ ยเปลี่ยน เสมอื นเป็นสื่อกลางในการสง่ ถา่ ยขอ้ มลู จากกลอ้ งมายงั เครื่อง คอมพิวเตอร์น้นั เอง และแคปเจอร์ หรือการ์ดจบั ภาพวดิ ีโอ ก็ มหี ลายรูปแบบเชน่ กนั 4. ไดรว์สาหรบั เขียนแผ่น CD หรือ DVD อุปกรณ์น้ีจาเป็นตอ้ งมหี ากเราตอ้ งการสร้างงานให้อยใู่ น รูปแบบ VCD หรือ DVD ซ่งึ ในปัจจบุ นั กห็ าซ้อื ไดไ้ มย่ าก ราคากไ็ มแ่ พง 5. แผ่น CD สาหรบั บนั ทกึ ข้อมูล แผน่ CD-R (CD-ReWrite หรือ CD Record) ใชส้ าหรับ บนั ทึกขอ้ มลู ทว่ั ไป เชน่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ โปรแกรมเพลง รูปภาพ และภาพยนตร์ สามารถเขียนหรือบนั ทึกขอ้ มลู ไดเ้ พียงคร้ัง เดยี วจนกวา่ จะเต็มแผน่

รปู แบบของแผ่นดวี ดี ี แผ่น CD-RW (CD-Write) แผน่ CD-RW (CD-Write) ใชส้ าหรับบนั ทึกขอ้ มลู ทวั่ ไปเชน่ เดยี วกบั แผน่ CD-R แตม่ คี วามพิเศษกวา่ ตรงที่ สามารถที่จะเขียนหรือบนั ทึกซ้า และลบขอ้ มลู ท่เี ขยี น ไปแลว้ ได้ ดีวีดีอาร์ดบั บลิวไดรว์ ดีวดี ีดีอาร์ดบั บลิวไดรว์ (DVD+-RW drive) กค็ ลา้ ย กบั ซดี อี าร์ดบั บลิวไดรวน์ ่ันเอง คือสามารถอา่ นและขียน แผน่ ดีวดี ีแบบพิเศษ คอื แผน่ DVD+-R และ แผน่ DVD+-RW ได้ แผ่นดีวีดอี าร์ ดีวดี อี าร์ (DVD+R : Digital Versatile Disc- Recordable) เป็นแผน่ ดวี ดี ีทีผ่ ใู้ ชส้ ามารถบนั ทึก หรือ เขียนขอ้ มลู ลงไปไดค้ ร้งั เดียว จนกวา่ จะเต็มแผน่ มใี ห้ เลือกแบบดา้ นเดียว และ 2 ดา้ น ในความจุดา้ นละ 4.7 GB แผน่ ประเภทน้ียงั แบง่ ออกเป็น 2 มาตรฐาน (จาก 2 คา่ ย) คอื แผน่ DVD-R DVD+R

แผ่นดีวีดีอาร์ดับบลิว ดวี ดี ีอาร์ดบั บลิว (DVD+RW : Digital Versatile Disc-Re-recordable) เป็นแผน่ ดีวดี ีท่ใี ชเ้ ขยี น และลบ ขอ้ มลู ไดห้ ลายคร้งั มคี วามจุ 4.7 GB รูปแบบไฟล์ ภาพ BMP (Bitmap) ไฟลภ์ าพประเภทท่ีเกบ็ จุดของภาพแบบจุดตอ่ จุด ตรงๆ เรียกวา่ ไฟล์แบบ บิตแมพ( Bitmap ) ไฟล์ประเภท น้ีจะมขี นาดใหญแ่ ตส่ ามารถเกบ็ รายละเอียดของภาพได้ อยา่ งสมบูรณ์ แตเ่นื่องจากการเกบ็ แบบ Bitmap ใชเ้ นื้อท่ี ในการเกบ็ จานวนมาก จึงไดม้ กี ารคดิ คน้ วธิ ีการเกบ็ ภาพใหม้ ขี นาดเล็กลงโดยยงั คงสามารถเกบ็ ภาพได้ เชน่ เดมิ ข้ึนมาหลายวธิ ีการ เชน่ JPEG และ GIF JPEG ( Joint Graphics Expert Group ) เป็นการเกบ็ ไฟล์ภาพแบบท่บี บี อดั สามารถทาภาพ ให้มขี นาดของไฟลภ์ าพเล็กกวา่ แบบ Bitmap หลายสิบ เทา่ แตเ่หมาะจะใชก้ บั ภาพท่ถี า่ ยจากธรรมชาติเทา่ น้นั ไมเ่หมาะกบั การเกบ็ ภาพเหมอื นจริง เชน่ ภาพการ์ตูน เป็ นตน้ GIF ( Graphics Interchange Format ) เป็นวธิ ีการเกบ็ ไฟลภ์ าพแบบบีบอัดคลา้ ยกบั JPEG โดยทว่ั ไปแลว้ ไมส่ ามารถเกบ็ ภาพทีถ่ า่ ยจากธรรมชาติ ไดม้ ขี นาดเลก็ เทา่ กบั แบบ JPEG แตส่ ามารถเกบ็ ภาพท่ี ไมใ่ ชภ่ าพถา่ ยจากธรรมชาติเชน่ ภาพการ์ตูน ไดเ้ ป็น อยา่ งดี นากจากน้ี GIF ยงั สามารถเกบ็ ภาพไวไ้ ดห้ ลายๆ ภาพ ในไฟล์เดยี ว จงึ ถูกนาไปใชส้ รา้ งภาพเคล่อื นไหว

งา่ ยๆ เชน่ ในอนิ เตอร์เน็ต TIFF ( Tagged Image File Format ) คอื การเกบ็ ไฟล์ภาพในลกั ษณะเดยี วกบั ไฟล์แบบ BMP แตใ่ นไฟลม์ ี Tagged File ซ่งึ เป็นสญั ลกั ษณท์ ่ี ชว่ ยโปรแกรมควบคุมการแสดงภาพ เชน่ การแสดงหรือไมแ่ สดงภาพบางสว่ นได้ ภาพทเี่ กบ็ ไวใ้ นลกั ษณะ ของ TIFF จงึ มคี วามพเิ ศษกวา่ การเก็บแบบอืน่ ท่กี ลา่ วมา นอกจากน้ียงั มไี ฟลภ์ าพแบบตา่ งๆ อีกหลายแบบ โดยแตล่ ะแบบจะมจี ุดเดน่ แตกตา่ งกนั ไป มกั นิยมใชใ่ นงานกราฟิกการพิมพ์ รูปแบบของไฟล์ วิดีโอ ไฟล์วดิ โี อท่ีนามาใชง้ านกบั น้ันมหี ลายรูปแบบ โดยเราจะมาทาความรู้จกั กบั ไฟล์วดิ ีโอแบบตา่ ง เพ่ือเป็นแนวทางในการเลอื กใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและตรงตามประเภทของงาน ไฟล์ MPEG MPEG ( Motion Picture Exports Group ) เป็นมาตรฐานสาหรับการบีบอดั วิดโี อและเสียงแบบ ดจิ ิตอล ซ่งึ เป็นรูปแบบของวดิ โี อท่ีมีคณุ ภาพสูงและนิยมใชก้ บั งานทกุ ประเภทโดยไฟล์ MPEGน้ี กย็ งั แยก ประเภทออกไปตามคณุ สมบตั ิตา่ ง ๆ อีกดว้ ย ดงั น้ี MPEG -2 ถือกาเนิดข้ึนในปี 2538 ซ่งึ เป็นรูปแบบของไฟล์ทเ่ี ขา้ รหัสมาเพอ่ื การสร้างภาพยนตร์ MPEG -4 โดยเฉพาะ โดยสามารถสรา้ งเป็น SVCD หรือ DVD กไ็ ด้ ซ่งึ อตั ราการบบี อดั ขอ้ มลู จะน้อย กวา่ MPEG-1 ไฟลท์ ่ไี ดจ้ งึ มขี นาดใหญก่ วา่ และไดค้ ณุ ภาพสูงกวา่ ดว้ ย อกี ทง้ั คา่ บิตเรตกไ็ ม ่ ตายตวั ทาใหส้ ามารถกาหนดอตั ราการบีบอัดขอ้ มลู ไดเ้ อง เป็นรูปแบบของไฟล์แบบใหมท่ ี่ถือกาเนิดข้นึ ในเดือนตลุ าคม 2541 จากความรว่ มมอื กนั ของ วศิ วกรทวั่ โลกและไดเ้ ป็นมาตรฐานของนานาชาติเมอื่ ปี 2542 ซ่งึ ถือเป็นการปฏวิ ตั ิวงการ ดิจิตอลวดิ ีโอ เพราะมรี ูปแบบการบีบอัดท่ีดีกวา่ MPEG-1 และ MPEG-2 โดยไฟล์ ประเภทน้ีจะมคี ณุ ภาพของวดิ โี อสูง สามารถสร้างรหัสภาพวดิ โี อไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพโดยมี จดุ ประสงคเ์ พอื่ การใชง้ านอยู่ 3 ประเภท คอื ระบบโทรทศั น์แบบดิจิตอล งานดา้ นแอพพลิเค ชนั กราฟิกและมลั ตมิ เี ดียตา่ งๆ แตป่ ัจจบุ นั ยงั มสี ่ือที่รองรับไฟลป์ ระเภทน้ีอยนู่ ้อย จงึ ไมค่ อ่ ย ไดร้ บั ความนิยมมากนัก ระบบการส่งสัญญาณโทรทศั น์

ในปัจจบุ นั น้ีมรี ะบบการสง่ สัญญาณโทรทศั น์ท่นี ิยมใชใ้ นแถบภูมภิ าคตา่ งๆ คือ 1. ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เป็นระบบโทรทศั น์สีระบบแรกท่ใี ชง้ านใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ต้งั แตป่ ีค.ศ.1953 ประเทศท่ีใชร้ ะบบน้ีตอ่ ๆ มาไดแ้ ก ่ ญ่ปี ่นุ แคนาดา เปอเตอริโก้ และ เมก็ ซิโก เป็นตน้ 2.ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เป็นระบบโทรทศั น์ทีพ่ ฒั นามาจากระบบ NTSC ทาให้มกี าร เพ้ยี นของสีนอ้ ยลง เร่ิมใชง้ านมาต้งั แตป่ ีค.ศ.1967 ในประเทศทางแถบยโุ รป คอื เยอรมนั ตะวนั ตก องั กฤษ ออสเตรเลยี เบลเยีย่ ม บราซลิ เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวเี ดน สวติ เซอร์แลนด์ และมหี ลายประเทศในแถบเอเซีย ที่ใชก้ นั คือ สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไปถึงประเทศไทยกใ็ ชร้ ะบบน้ี 3. ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire(\"memory sequential\") เป็นระบบโทรทศั น์อกี ระบบหน่ึง คิดคน้ ข้ึนโดย Dr.Henry D.France เร่ิมใชม้ าต้งั แตป่ ีค.ศ.1967 นิยมใชก้ นั อยหู่ ลายประเทศแถบยโุ รป ตะวนั ออก ไดแ้ ก ่ ฝรัง่ เศส อลั จเี รีย เยอรมนั ตะวนั ออก ฮงั การี ตนู ีเซีย รูมาเนีย และรสั เซยี เป็นตน้ มาตรฐานวิดโี อ MPEG-1 MPEG-2 MPEG-4 ความละเอยี ดสูงสุด 352 x 288 1920 x 1152 720 x 576 มาตรฐานในระบบ PAL 352 x 288 720 x 576 720 x 576 มาตรฐานในระบบ NTSC 352 x 288 640 x 480 640 x 480 ความถ่ีของคลืน่ เสียงสูงสุด 48 kHz 96 kHz 96 kHz ชอ่ งสญั ญาณเสียงสูงสุด 288 จานวนเฟรมตอ่ วนิ าทใี นระบบ PAL 25 25 25 จานวนเฟรมตอ่ วนิ าทใี นระบบ NTSC 30 30 30 คณุ ภาพของวดิ โี อ พอใช้ ดีถึงดีมาก ดีมาก ประสิทธิภาพของระบบ ต่า สูง สูงมาก รายละเอียดของเทคโนโลยี MPEG ไฟล์ ประเภทอ่ืนๆ เป็นไฟลส์ าหรบั โปรแกรม QuickTime จากบริษทั Apple ซ่งึ นิยมใช้ MOV สาหรับเคร่ืองแมคอินทอช แตเ่ครื่องพีซกี ส็ ามารถใชไ้ ด้ โดยจะตอ้ งมี ( Quick Time Movie ) โปรแกรม QuickTime เพอ่ื ใชเ้ ปิดไฟล์ โดยไฟล์ประเภทน้ีจะมี คณุ ภาพสูงและประกอบดว้ ยรายละเอียดตา่ งๆ มากมาย เป็นรูปแบบของไฟล์ประเภท DVD – Video ทีม่ คี ณุ ภาพสูงท้งั ดา้ นภาพ VOB และเสียง สามารถเลน่ ไดก้ บั เคร่ืองเลน่ ดีวีดีหรือไดรฟ์ ดีวดี ีจากเคร่ือง คอมพวิ เตอร์

DAT เป็นรูปแบบของไฟล์ประเภท Video CD ท่ีมคี วามละเอียดต่ากวา่ ไฟล์ ประเภทดีวดี ี โดยไดร้ ับการเขา้ รหสั มาจากเทคโนโลยีของ MPEG- AVI 1 คณุ ภาพของวดิ โี อกพ็ อ ๆ กบั เทป VHS สามารถเลน่ ไดก้ บั เครื่องเลน่ ( Audio – Video Interleave ) วซี ดี ีโดยทวั่ ไป หรือเลน่ ไดจ้ ากคอมพวิ เตอร์ เป็นมาตรฐานไฟลว์ ดิ ีโอทเี่ ริ่มมมี าพร้อมกบั Windows 3.11 พฒั นาโดย WMV ไมโครซอฟต์ ซ่งึ มคี วามละเอยี ดสูงเหมาะกบั การใชง้ านในการตดั ตอ่ ( Windows Media Video ) วดิ โี อ แตไ่ มน่ ิยมใชใ้ นการสง่ สญั ญาณหรือโอนยา้ ยไปยงั ปลายทาง อืน่ ๆ เพราะไฟลม์ ขี นาดใหญ่ เป็นไฟลว์ ดิ ีโอของไมโครซอฟต์อีกเชน่ กนั ถือกาเนิดข้ึนมาจาก เทคโนโลยีของ Microsoft Windows Media ซ่ึงสามารถสรา้ งข้ึนมา ไดจ้ ากโปรแกรม Microsoft Movie Maker โดยไฟลป์ ระเภทน้ีกาลงั ไดร้ ับความนิยมทางอินเตอร์เน็ต เชน่ การชมวดิ โี อแบบ Movie on Demand เพราะดว้ ยขนาดไฟลท์ เี่ ล็กและมคี ณุ ภาพดี ทาให้สามารถ โอนถา่ ยขอ้ มลู ไดร้ วดเร็ว มาตรฐานของวดิ ีโอแบบต่าง ๆ มาตรฐานของวดิ ีโอมอี ยูด่ ว้ ยกนั 3 รูปแบบ คือ VCD , SVCD และ DVD ซ่งึ คณุ ภาพของวดิ ีโอกม็ คี วามแตกตา่ งกนั ไปตามแตล่ ะประเภท โดยแตล่ ะรูปแบบกม็ ีคณุ สมบัตดิ งั น้ี VCD (Video Compact Disc) VCD เป็นรูปแบบของวดิ ีโอที่ไดร้ ับความนิยมกนั โดยทั่วไปประกอบดว้ ยภาพและเสียงแบบ ดจิ ิตอล ความจขุ องแผน่ VCD โดยปกติจะอยทู่ ่ี 74/80 นาทหี รือประมาณ 650/700 เมกกะไบต์ โดย ไดร้ บั การเขา้ รหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 1 มคี วามละเอยี ดของภาพอยทู่ ่ี 352 x 288 พิกเซลใน ระบบ PAL และ 352 x 240 พิกเซลในระบบ NTSC คณุ ภาพของวดิ ีโอใกลเ้ คียงกบั เทป VHS ซ่งึ สามารถเลน่ ไดก้ บั เคร่ืองเลน่ วซี ีดโี ดยทว่ั ไปหรือจากไดรฟ์ ซีดีรอมของเครื่องคอมพิวเตอร์ และแผน่ ซีดีท่ใี ช้ เขยี น VCD ไดก้ จ็ ะมอี ยู่ 2 แบบคือแผน่ CD-R ซ่ึงเป็นชนิดทีเ่ ขียนขอ้ มลู ไดค้ ร้งั เดยี ว และแผน่ CD- RW ที่สามารถเขียนและลบเพอื่ เขยี นขอ้ มลู ลงไปใหมไ่ ด้ แตแ่ ผน่ CD-RW มกั จะอา่ นไมไ่ ดจ้ ากจากเครื่อง เลน่ VCD หลายๆ รุน่ SVCD ( Super Video Compact Disc ) SVCD เป็นรูปแบบของวดิ โี อที่คลา้ ยกบั VCD แตจ่ ะให้คณุ ภาพของวดิ ีโอท้งั ในดา้ นภาพและ เสียงท่ดี ีกวา่ โดยเขา้ รหสั มาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 2 จะมคี วามละเอียดของภาพอยูท่ ่ี 482 x 576 พิกเซลในระบบ PAL และ 480 x 480 พกิ เซลในระบบ NTSC ซ่งึ แผน่ ประเภทน้ียงั มเี ครื่อง เลน่ VCD หลาย ๆ รุน่ ท่ีอา่ นไมไ่ ด้ โดยจาเป็นตอ้ งอา่ นจากเครื่องเลน่ DVD หรือ VCD บางรุน่ ท่ี สนบั สนุนหรือเลน่ จาก CD – ROM จากเครื่องคอมพวิ เตอร์เทา่ น้ัน

DVD ( Digital Versatile Disc ) DVD เป็นรูปแบบการเกบ็ ขอ้ มลู แบบใหมท่ ่ีใหค้ ณุ ภาพของวดิ โี อสูงทง้ั ดา้ นภาพและเสียงซ่ึงมากกวา่ รูปแบบของ VCD หลายเทา่ ตวั โดยใหค้ วามละเอยี ดของภาพอยทู่ ่ี 720 x 480 พิกเซลในระบบ PAL และ 720 x 576 พิกเซลในระบบ NTSC โดยมาตรฐานของแผน่ DVD กม็ หี ลายประเภท เชน่ DVD + R/RW , DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซ่งึ ความจุของแผน่ DVD กม็ ใี ห้เลอื กใชต้ าม ชนิดของแผน่ โดยมตี ้งั แต่ 4.7 กกิ ะไบต์ไปจนถึง 17 กกิ ะไบต์ ทาให้สามารถบนั ทึกภาพยนตร์ทง้ั เรื่อง ไดอ้ ยา่ งสบาย ซ่งึ คาดการณ์กนั วา่ ส่ือประเภท DVD คงจะเขา้ มาแทนท่ี VCD ไดใ้ นไมช่ า้ รูปแบบของไฟล์เสียงชนิดต่าง ๆ ในการบนั ทกึ เสียงในระบบ Hard disk Recording จะมรี ูปแบบของการเก็บขอ้ มลู เสียงมากมาย และแตล่ ะรูปแบบกส็ ามารถเปล่ียนไปมากนั ได้ บางรูปแบบที่มกี ารบีบอดั เมอื่ เปล่ยี นกบั มาเป็นรูปแบบท่ีไม ่ มกี ารบีบอดั กจ็ ะได้คณุ ภาพเสี ยงเหมอื นทบ่ี ีบอดั ไปแล้ว เพราะมกี ารสูญเสียคณุ ภาพสญั ญาณไปในข้นั ตอน ของการบีบอดั ไปแลว้ ไมส่ ามารถเรียกกลบั คืนมาไดโ้ ปรแกรมดนตรีมกั จะเกบ็ ข้อมลู เสียงดงั น้ี AIFF ยอ่ มาจาก Audio Interchange File Format เป็นรูปแบบทใ่ี ชก้ นั มากกบั โปรแกรมบน Mac เพราะ Apple เป็นผูร้ ิเริ่ม เป็นไดท้ ง้ั Mono และ Stereo ความละเอียดเร่ิมตน้ ท่ี 8 Bit/22 kHz ไปจนถึง 24 bit/ 96 kHz และมากกวา่ น้นั MP3 เป็นรูปแบบที่รู้จกั กนั ดีในปัจจุบนั ในฐานะทค่ี ณุ ภาพเสียงทด่ี ใี นขณะท่ีขอ้ มลู นอ้ ยมาก ประมาณ 1 MB ตอ่ เพลงความยาว 1 นาทีแบบ Stereo ซ่งึ เป็นการบีบอดั โดยลดความซ้าซอ้ นของขอ้ มูลเสียง และตดั เสียงทห่ี ูของมนุษย์ไมส่ ามารถไดย้ นิ โดยอา้ งองิ จากงานวจิ ยั Psychoacoustic แตไ่ มส่ ามารถให้คณุ ภาพเสียง ทด่ี ีกวา่ เสียงแบบ Full Bandwidth หรือ Hi-fi ได้ เพราะมนั เป็นการบีบอดั ที่สูญเสียหรือเรียกวา่ “Lossy Technology” ถงึ แมว้ า่ เจา้ ของคา่ ยเพลงในเมอื งไทยหรือทว่ั โลกไมช่ อบมนั แตใ่ นเมอื่ มนั คมุ้ คา่ สาหรบั เกบ็ ไว้ ฟังหรือสง่ ตอ่ งานใหเ้ พอื่ น โปรแกรมดนตรีสว่ นใหญก่ ใ็ ห้เราสามารถ import /export งานเป็น MP3 ได้ QuickTime แมไ้ มไ่ ดเ้ ป็นรูปแบบของการเกบ็ ขอ้ มลู เสียงโดยเป็นโปรแ กรมเลน่ media ที่พฒั นาโดย Apple แต่ โปรแกรมดนตรีบางตวั ก็สามารถ Save หรือ Load ขอ้ มลู เสียง , Video , MIDI เป็น File ของ QuickTime ได้ สิ่งสาคญั ที่ควรรู้อีกอยา่ งกค็ ือข้อมลู เสียงที่ save มาจาก QuickTime หรือโปรแกรมที่ Compatible กบั QT อยา่ ง TC Works Spark อาจจะเป็นไฟล์ Extension อยา่ ง .mov , .aif หรือ .WAV กไ็ ด้ แตไ่ มต่ อ้ งเป็น หว่ งเร่ืองน้ี เนื่องจากโปรแกรมดนตรีสว่ นใหญจ่ ะสามารถเลน่ ไฟล์ QT โดยไมส่ นใจวา่ จะเป็นไฟล์ Extension แบบไหนกต็ าม RealAudio คนชอบฟังเพลงบน Internet คงรู้จกั กนั ดี ไฟล์ RealAudio จะแสดง Extension เป็น .ra หรือ .rm ซ่งึ เป็นสว่ นหน่ึงของระบบ RealSystem G2 ไวส้ าหรบั การเลน่ multimedia จาก

RealNetworks ซ่งึ จะมี Tools ในการเลน่ , encode รวมไปถึง tools ในการทา server ให้ใชฟ้ รี ๆ ในการสง่ Audio, Video, Animation ผา่ นเวป แตแ่ มว้ า่ โปรแกรมดนตรีสว่ นใหญจ่ ะไมใ่ ช้ RealAudio ในการบนั ทึก แต่ กบั บางโปรแกรม เราสามารถเกบ็ งานของเราเป็น RealAudio เพ่อื ใชบ้ นเวป็ ซ่งึ แนน่ อน วา่ RealAudio กเ็ ป็น Lossy Format เหมอื นกบั MP3REX เป็นไฟล์เสียงของโปรแกรม Propellerhead Recycle ซ่งึ เป็นโปรแกรมที่ แบง่ ไฟล์เสียงประเภท Loop (เป็นวลดี นตรีหรือจงั หวะทสี่ ามารถเลน่ ซ้าไปเรื่อย ๆ ตอ่ เนื่องกนั ได)้ ออกเป็น ช้นิ ๆ เชน่ เสียงกระเดือ่ ง กลองสแนร์ หรือ ไฮ-แฮท ซ่งึ ไฟลท์ ีถ่ กู แบง่ เหลา่ น้ีสามารถนาไปใชก้ บั Sampler แลว้ Trigger โดย MIDI Sequence ทีส่ ร้างข้ึนมาโดย Recycle เชน่ กนั ทาใหเ้ ราสามารถที่จะเรง่ หรือลด ความเร็วโดยที่ pitch ของเสียงไมม่ กี ารเปลี่ยนเลย ซ่งึ เป็นหลกั การเดยี วกนั กบั Technology Groove Control จาก Spectrasonics และ ILIO แตต่ า่ งกนั ตรงท่ี Groove Control น้ันมกี ารเตรียมไฟล์ทีห่ ่นั ไวแ้ ลว้ กบั MIDI โดยทาง Spectrasonics เอง ไมร่ ูว้ า่ ทาง Spectrasonics จะใช้ Recycle ทารึเปลา่ นะครบั ไฟล์ REX เองมี Extension อยหู่ ลายอนั เลยอยา่ ง .rx2 (Recycle 2.0 หรือสูงกวา่ ).ryc และ .rex ซ่งึ สรา้ งมาจากเวอร์ชนั แรก Sound Designer II โดง่ ดงั มาจาก โปรแกรม Sound Designer Stereo Editing จาก Digidesign และใชก้ บั Pro Tools ดว้ ย Sound Designer II หรือ SD II สนับสนุนไฟลเ์ สียงท่ีความละเอยี ด ตา่ ง ๆ เหมอื นกบั WAV และ AIFF โปรแกรมดนตรีสว่ นใหญก่ จ็ ะมีคณุ สมบตั ิในการแปลงไฟล์ WAV หรือ AIFF มาเป็น SD IIWAV ถกู สรา้ ง ข้ึนจากการรวมตวั กนั ของ Microsoft กบั IBM WAV format สามารถใชไ้ ดก้ บั bit depths และ sample rate ในระดบั ตา่ งกนั ในขณะที่ AIFF เป็นทนี่ ิยมในหมผู่ ใู้ ช้ PC ดว้ ย ในเร็วๆน้ี Acidized WAV files ไดร้ บั ความ นิยมเพิม่ ข้นึ อกี น่ีคอื ชนิดของ WAV files ทีร่ วมขอ้ มลู ของ pitch กบั tempo เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั Acidized WAV สามารถถกู อา่ นไดโ้ ดย Sonic Foundry Acid และโปรแกรมอน่ื ๆทส่ี ามารถให้ samples ที่จดั pitch and tempo ไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ

เค้าโครงวดี ีโอ 1. ชื่อเร่ือง ................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 2. ผ้จู ดั ทา.................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 3. แนวความคิด ........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 4. วตั ถปุ ระสงค์......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 5. กลุ่มเป้าหมาย ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 6. หมายเหตุ............................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................

Subject Storyboard Multimedia filename Title sound Pageno: Filename: File out to : image File in form: VDO note : Narration Script : คาอธิบายวิธีการกรอกข้อมลู storyboard

Subject : ชอื่ เรื่องผลงานที่ทา เชน่ MV เพลงรกั มากมาย ละครส้ันฟา้ มตี า โฆษณางดเหลา้ เขา้ พรรษา Title : ชอื่ หัวขอ้ ยอ่ ยภายใตช้ ือ่ เร่ืองทท่ี า ในทีน่ ้ีหมายถึง ช่ือของฉากน้ี เชน่ ฉากซอ้ นทา้ ย จกั รยาน ฉากมอบแหวน ฉากนางเอกเลน่ ไวโอลิน เป็นตน้ ในผลงานชนิ้ หน่ึงอาจ ประกอบดว้ ยฉากไดห้ ลายรอ้ ยฉาก แตล่ ะฉากจาเป็นตอ้ งใช้ storyboard 1 ใบ Filename : ชอื่ แฟม้ ขอ้ มลู (ในการเกบ็ แบบดิจิตอล) เชน่ movie_section1.swf Pageno. : หนา้ ท่ี ในฉากหน่ึง ๆ อาจมไี ดห้ ลาย page เชน่ ฉากซอ้ นทา้ ยจกั รยาน มี page 1 แสดงใหเ้ ห็นระยะไกล page 2 คอื การซมู เขา้ ไปทใี่ บหนา้ พระเอกและนางเอก เป็น ตน้ File in form : หนา้ กอ่ น ใหร้ ะบชุ อื่ แฟม้ ขอ้ มลู เชน่ movie_section2.swf ข้ึนอยูก่ บั วา่ ผลติ ผลงาน ดว้ ยโปรแกรมอะไรเป็นหลัก File out to : หนา้ ถดั ไป ใหร้ ะบุช่ือแฟ้มขอ้ มลู Sound เพลงทใี่ ชป้ ระกอบในฉากน้ี ใหร้ ะบุช่อื แฟ้มขอ้ มลู ประเภทเสียง เชน่ piano.mp3 รวมท้งั ถา้ มเี สียงบรรยายกใ็ หร้ ะบไุ วท้ ี่นี่เชน่ กนั Image ภาพน่ิงทีใ่ ชป้ ระกอบในฉากน้ี เชน่ doSomething.jpg chicken.gif เป็นตน้ VDO วดิ ีโอท่ใี ชป้ ระกอบในฉากน้ี note : เป็นการให้รายละเอียดปลกี ยอ่ ยเพมิ่ เติม เพอื่ อธิบายใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั เชน่ “ มี เด็กผ้ชู ายวง่ิ ออกมาจากด้านขวาของฉาก และร้องตะโกนเรียก” Narration Script : ใสบ่ ทพดู ท้งั หมดทเี่ กดิ ข้ึนในฉากน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook