Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานการศึกษาลักษณะภาษาถิ่นใต้

โครงงานการศึกษาลักษณะภาษาถิ่นใต้

Published by Supawadee Srisamrit, 2021-01-28 07:55:52

Description: โครงงานการศึกษาลักษณะภาษาถิ่นใต้

Search

Read the Text Version

โครงงานภาษาไทย เรื่อง การศึกษาลกั ษณะภาษาถ่ินใตใ้ นแภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี คณะผจู้ ดั ทา นายอภริ ัตษ์ เรืองหอม เลขที่ 9 นางสาวนนั ทยิ า สร้างชา้ ง เลขที่ 17 นางสาวสุนิษตา สิทธิบาล เลขท่ี 19 นางสาวศุภลกั ษณ์ พรหมแกว้ เลขท่ี 27 ครูผสู้ อน นายธิรพงษ์ คงดว้ ง รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา ภาษาไทย (ท33102) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2563 โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา

กิตติกรรมประกาศ ในการทาโครงงานรายวิชาภาษไทย เร่ือง การศึกษาลกั ษณะภาษาถนิ่ ใตใ้ นอาเภอ เกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี เป็นโครงงานหน่ึงท่ีจะช่วยให้ผศู้ กึ ษาไดร้ ับความรู้ เก่ียวกบั ภาษาถิ่นตอนลา่ งของประเทศไทย ลกั ษณะการพดู รูปแบบการออกเสียง และ สามารถท่จี ะนาการศกึ ษาคร้งั น้ีไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นการพูดภาษาถน่ิ ใตไ้ ด้ และสุดทา้ ยน้ี ขออทุ ิศความดีทีม่ ีในการศกึ ษาโครงงานน้ี แดเ่ พื่อนๆ และทุกคนของคณะ ผจู้ ดั ทา และขอบคุณนกั เรียนช้นั ม.6/4 โรงเรียนทีปราษฎร์พทิ ยาที่คอยช่วยเหลอื และให้กาลงั ใจ คณะผจู้ ดั ทาเสมอมา คณะผจู้ ดั ทา

คำนำ รายงานชุดน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาภาษาไทยช้นั มธั ยมศึกษาช้นั ปี ที่ 6 รายงานเล่มน้ีจะมี เน้ือหาเกี่ยวกบั การจดั ทาโครงงานเก่ียวกบั การศกึ ษาลกั ษณะภาษาถ่ินใตม้ นอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ซ่ึงการกล่าวถงึ ขา้ งตน้ น้นั ศึกษาเกี่ยวกบั ลกั ษณะภาษา รูปแบบการออกเสียง ภาษา คาศพั ท์ ทแี่ ตกต่างกบั ภาษาทว่ั ไป โดยมกี ารรวบรวมคาศพั ทภ์ าษาใตท้ น่ี ิยมใชแ้ พร่หลาย การจดั ทาโครงงานวิชาภาษไทยเร่ืองการศกึ ษาลกั ษณะภาษาถ่นิ ใตใ้ นอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ในคร้งั น้ี คณะผจู้ ดั ทาหวงั วา่ ขอ้ มลู โครงงานชุดน้ีจะกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ ต่อผศู้ กึ ษาไมม่มากก็นอ้ ย หากมขี อ้ ผิดพลาดประการใด ทางคณะผจู้ ดั ทาขออภยั ไว้ ณ ทนี่ ้ี คณะผจ้ ดั ทา

สำรบญั หนา้ เรื่อง 1 2 บทคดั ยอ่ 2 บทที่ 1 บทนา 2 2 ความเป็นมาและความสาคญั ของการศกึ ษาคน้ ควา้ 3 วตั ถุประสงค์ 4 ขอบเขตการศกึ ษาคน้ ควา้ ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 7 7 ความรูเ้ ก่ียวกบั ลกั ษณะภาษาถ่นิ ในภาคใต้ 8 ความรู้เก่ียวกบั ลกั ษณะภาษาถน่ิ ใตใ้ นเกาะสมุย 12 ความรูเ้ กี่ยวกบั การใชเ้ สียง ถอ้ ยคาและสาเนียงของภาษาถ่ินใตใ้ นเกาะสมุย 13 ความรูเ้ ก่ียวกบั การจาแนกภาษาถ่ินใตใ้ นเกาะสมยุ 13 ตวั อยา่ งภาษาถิน่ ใตใ้ นเกาะสมยุ ที่ใชใ้ นชีวิตประจาวนั 15 บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการวิจยั 19 เกณฑใ์ นการวเิ คราะห์ 19 การดาเนินงาน 19 บทท่ี 4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 20 การวเิ คราะหก์ ลวิธีการใชค้ า 20 การใชค้ าเรียกญาติ 20 บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ 21 การสรุป ผลอภิปราย การเสนอแนะ บรรณานุกรม

สำรบญั ตำรำง หนา้ 14 เรื่อง 17 ตารางที่ 1 ระยะเวลาการดาเนินการ ตารางท่ี 2 คาศพั ภ์ าษาไทยถิน่ ใต้

บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็ นมำและควำมสำคญั ของกำรศึกษำค้นคว้ำ ว่าดว้ ยเรื่องภาษาน้นั มีความหมายอยา่ งกวา้ งขวาง น้นั หมายถงึ กริยาอาการทแ่ี สดงออกก มาแลว้ สามารถทีจ่ ะทาความเขา้ ใจกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว แตถ่ า้ ในความหมายอยา่ งแคบ หมายถึง ภาษาในฐานะระบบมนุษยใ์ ชส้ ่ือสารกนั โดยการศกึ ษามนุษยใ์ นวิธีการทางดา้ นวิทยาศาสตร์ เรียกว่า ภาษาศาสตร์ และภาษาทไี่ ดก้ ลา่ วถึง ณ ตอนน้ีคอื ภาษาไทย โดยภาษาไทยเป็นคายืมจาก ภาษาสันสกฤต โดยรูปแบบในทางภาษาและภาษาไทยมีการสื่อสารในบริบทตา่ งๆ เชน่ ภาษา ราชการภาษาปาก โดยสามารถส่ือไดถ้ ึงภาษามนุษย์ โดยเป็นหวั ขอ้ หลกั ในการศกึ ษาในทาง ภาษาศาสตร์นอกจากภาษาท่เี ป็นภาษาราชการ ภาษาปากทพี่ ดู กนั แพร่หลายแลว้ เฉกเชน่ ภาษาองั กฤษ เป็นภาษาราชการในหลายๆประเทศ และยงั เป็นภาษาราชการของโลกอกี ดว้ ย ประเทศไทยก็มีภาษากลางเป็นภาษาราชการ โดยภาษากลางจะใชไ้ ดใ้ นทุกภมู ภิ าคของประเทศ ไทย และมภี าษายอ่ ยๆแตกแขนงออกมานอกเหนือจากภาษาราชการนน่ั คือ ภาษาถ่นิ โดยภาษา ถิ่นของไทยหลกั ๆ แบง่ เป็น 4 ภมู ิภาค ไดแ้ ก่ ภาษาไทยถนิ่ เหนือ ภาษาไทยถิ่นกลาง ภาษาไทยถน่ิ อีสาน และ ภาษาไทยถ่นิ ใต้ นอกเหนือจากภาษาถน่ิ ท้งั 4 ภาค หลกั ๆยงั คงมีภาษา-ถนิ่ และ สาเนียงแต่ละจงั หวดั ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปมากๆ เช่น พ้ืนทท่ี างตะวนั ตกของไทยแถว-กาญจนบรุ ี สุพรรณบุรี จะมีภาษาไทยทม่ี ีลกั ษณะสาเนียงเหน่อ โดยภาษาถ่นิ ทไ่ี ม่รู้จกั หรือนิยมใชก้ นั นอ้ ย น้นั มีมากมายแพร่หลาย ภาษาถ่ินหลๆั ของประเทศไทย มีสาเนียงและคาท่ีแตกตา่ งกนั ภาษาไทย ถิ่นเหนือ จะมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ภาษาไทยกลางเพราะปัจจุบนั รับอทิ ธิพลภาษาไทยกลางท้งั สาเนียงและคาศพั ท์ เช่น กิ๋นขา้ วแลว้ ก๋า = กินขา้ วแลว้ ใชไ่ หม เป็นตน้ ภาษาอีสาน เป็นภาษาทีใ่ ช้ กนั อยา่ งแพร่หลายทางตอนบนทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทยเป็นการพฒั นาในทอ้ งถ่ินของ ภาษาลาวในประเทศไทย แตภ่ าษาลาวและภาษาถ่ินไทยอีสาน มรี ะดบั เสียงวรรณยกุ ตท์ ี่แตกต่าง กนั มาก ยกตวั อยา่ งภาษาอสี านได้ เช่น กินเขา่ แลว้ บ่ / กินเขา่ แลว้ ติ = กินขา้ วแลว้ เหรอ เป็นตน้ และภาษาไทยถ่ินใต้ ท่นี ิยมใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายทางตอนล่างของประเทศไทย โดยลกั ษณะ ภาษาไทยถิน่ ใต้ จะมกี ารออกเสียงและน้าหนกั ของคาที่แตกต่างกนั ไป เชน่ หน่ามต๊าว = ฟักทอง

วตั ถุประสงค์ในกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. เพื่อศึกษาถึงลกั ษณะเฉพาะพ้ืนทข่ี องภาษาถ่ินใต้ ในอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์-ธานี ที่มคี วามแตกตา่ งจากภาษาถนิ่ ใตท้ ว่ั ไป 2. เพอื่ ศึกษาโครงสรา้ งภาษาและทีม่ าของคาศพั ท์เฉพาะทอ้ งถิน่ ในพ้นื ท่ีอาเภอเกาะสมยุ ขอบเขตกำรศึกษำค้นคว้ำ ขอบเขตการศกึ ษาคน้ ควา้ ลกั ษณะภาษาถิน่ ใตใ้ นพ้นื ที่อาเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี สามารถทจ่ี ะศกึ ษาจากเจา้ ของภาษา หรือ คนในพ้นื ที่ในอาเภอเกาะสมุยทเ่ี ป็นคนจงั หวดั สุราษฎร์ธานี โดยการเขา้ สอบถาม หรือทาแบบสารวจคาศพั ทภ์ าษาถิ่นใตท้ ่ีแตกตา่ งจาก ภาษาถิน่ ใตท้ วั่ ไป คาศพั ทแ์ ปลกๆท่ีมใี นพ้นื ทีเ่ ฉพาะเท่าน้นั ศกึ ษาวถิ ีชีวติ ความเป็นอยู่ ทีเ่ ป็นท่ีมาของลกั ษณะภาษาถิน่ ใต้ โดยแบง่ กลุ่มของขอบเขตการศกึ ษาเป็นดงั น้ี 1. ภาษาถน่ิ ใตท้ ว่ั ไป 2. ภาษาถิ่นใตท้ วั่ ไปแบง่ หมวดหมู่ 3. ภาษาถนิ่ ใตเ้ ฉพาะในพ้ืนท่อี าเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะได้รับ 1. ไดศ้ กึ ษาลกั ษณะเฉพาะพ้ืนที่ของภาษาถิน่ ใต้ ในอาเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎร์-ธานี ที่ มีความแตกตา่ งจากภาษาถ่นิ ใตท้ ว่ั ไป และสามารถทีจ่ ะเรียนรูภ้ าษาถิ่นใตใ้ นพ้นื ท่ี เพ่ิม มากข้นึ 2. ไดค้ าศพั ทภ์ าษาถิ่นใต้ และ เรียนรู้วถิ ชี ีวิตความเป็นอยู่ซ่ึงเป็นท่ีมาของภาษาถน่ิ -ใต้ ที่เป็น ลกั ษณะเฉพาะพ้ืนทีอ่ าเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

นยิ ำมศัพท์เฉพำะ 1. ภาษาถนิ่ หมายถึง ภาษาทม่ี คี วามเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะพ้ืนทีน่ ้นั ๆ อาจรวมถึงภาษาที่ คนนิยมใชม้ ากที่สุดในพ้ืนทน่ี ้นั ๆ ไมแ่ มแ้ ต่เฉพาะภาคเพียงเท่าน้นั 2. ภาษาถน่ิ ใต้ คือ ภาษาท่ใี ชเ้ ฉพาะในพ้นื ที่ตอนล่างของประเทศไทย รวมไปถึง ประเทศเพื่อนบา้ นท่มี ีแนวเขตชายแดนตา่ งๆทต่ี ดิ กบั ตอนล่างของประเทศไทย เป็นภาษาทม่ี ีความเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะพ้ืนที่ 3. คาศพั ทเ์ ฉพาะ โดยคาศพั ทห์ รือภาษาท่มี ีเฉพาะพ้ืนท่ี โดยไม่ไดใ้ ชก้ นั แพร่หลาย 4. ช่ือพ้ืนทีต่ ่างๆ โดยจะมชี ื่อพ้นื ท่ีต่างๆท่ีไมเ่ พียงแต่มพี ้นื ทีใ่ นอาเภอเกาะสมยุ เท่าน้นั รวมไปถงึ ช่ือพ้ืนท่ขี องประเทศเพือ่ นบา้ นท่ีใชภ้ าษาถิน่ ใตข้ องไทยดว้ ย 5. อปุ มา คือ การเปรียบเทยี บสิ่งหน่ึงใหเ้ หมอื นกบั อกี สิ่งหน่ึง โดยอปุ มาในทีน่ ้ี ทีเ่ ราใช้ เราใชใ้ นการเปรียบเทียบ เทยี บเคียงเสียงของลกั ษณะภาษา

บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง ในการวิจยั เรื่อง การศกึ ษาลกั ษณะภาษาถ่นิ ใตใ้ นเกาะสมยุ คร้งั น้ี ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและ งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง โดยจาแนกเป็นความรู้หลกั ๆไดด้ งั น้ี 1. ความรูเ้ ก่ียวกบั ลกั ษณะภาษาถน่ิ ในภาคใต้ 2. ความรูเ้ กี่ยวกบั ลกั ษณะภาษาถิ่นใตใ้ นเกาะสมยุ 3. ความรู้เกี่ยวกบั การใชเ้ สียง ถอ้ ยคาและสาเนียงของภาษาถนิ่ ใตใ้ นเกาะสมุย 4. ความรู้เก่ียวกบั การจาแนกภาษาถน่ิ ใตใ้ นเกาะสมุย 5. ตวั อยา่ งภาษาถ่ินใตใ้ นเกาะสมยุ ทีใ่ ชใ้ นชีวิตประจาวนั 1.ควำมรู้เกีย่ วกับลักษณะภำษำถนิ่ ในภำคใต้ ลกั ษณะภาษาถิน่ ทใ่ี ชใ้ นภาคใตข้ องประเทศไทย นบั แตจ่ งั หวดั ชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศ มาเลเซียรวม 14 จงั หวดั และบางส่วนของจงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ อีกท้งั บางหม่บู า้ นในรัฐกลนั - ตนั รัฐปะลสิ รฐั เกดะห์ (ไทรบุรี) รฐั เประ และรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย บางหม่บู า้ น ในเขตตะนาวศรี ทางตอนใตข้ องประเทศพม่าดว้ ย ภาษาไทยถน่ิ ใตม้ ีเพียงภาษาพดู เทา่ น้นั ไม่มีตวั อกั ษรเขียนเฉพาะ ภาษาไทยถิน่ ใตแ้ ยกออกเป็น 5 กลมุ่ คือ ภาษาไทยถน่ิ ใต้ ตะวนั ออก ภาษาไทยถิ่นใตต้ ะวนั ออก ไดแ้ กภ่ าษาไทยถนิ่ ใตท้ พ่ี ดู กนั มากทางฝั่งตะวนั ออกของ ปักษใ์ ต้ บริเวณจงั หวดั นครศรีธรรมราช พทั ลุง สงขลา ปัตตานี (อาเภอโคกโพธ์ิ, อาเภอแม่ลาน, อาเภอหนองจกิ และ อาเภอเมอื ง) ตรงั สตลู (และในรฐั ปะลสิ -หมู่บา้ นควนขนุน บา้ นตาน้า ,ในรัฐเคดาห-์ บา้ นทางควาย บา้ นบาลิง่ ) ภาษาไทยถ่นิ ใตท้ ี่ใชใ้ นกลุ่มน้ี จะมลี กั ษณะของภาษาท่ี คลา้ ยคลึงกนั (ตรงั และสตลู แมจ้ ะต้งั อยูฝ่ ั่งทะเลตะวนั ตก แตส่ าเนียงภาษา ถือเป็นกลมุ่ เดียวกบั พทั ลงุ สงขลา นครศรีธรรมราช คือ ออกเสียงตวั สะกด ก.ไก่ ไดช้ ดั เจน) ภาษาไทยถิ่นใต้ ตะวนั ตก ภาษาไทยถน่ิ ใตต้ ะวนั ตก ไดแ้ ก่ ภาษาไทยถนิ่ ใตท้ พี่ ูดอยบู่ ริเวณพ้ืนท่จี งั หวดั กระบ่ี

พงั งา ภูเกต็ ระนอง สุราษฎร์ธานี และชุมพร ภาษาไทยถ่นิ ใตท้ ่ีพูดอยูบ่ ริเวณพ้นื ที่จงั หวดั เหล่าน้ี จะมลี กั ษณะเด่นท่ีคลา้ ยคลงึ กนั เช่นออกเสียงคาว่า แตก เป็น แตะ ดอกไม้ เป็น เดาะไม้ เป็น สามแยะ ฯลฯ สาเนียงนครศรีธรรมราช กลมุ่ ฉวาง พปิ ูน ท่งุ ใหญ่ ซ่ึงอยทู่ างทศิ ตะวนั ตก ของเขาหลวง กอ็ ยใู่ นกล่มุ น้ี ส่วนจงั หวดั ชุมพร และจงั หวดั สุราษฎร์ธานี แมจ้ ะต้งั อยฝู่ ั่งทะเล ตะวนั ออก แตส่ าเนียงภาษาถอื เป็นกลมุ่ เดียวกบั จงั หวดั พงั งา จงั หวดั ภเู ก็ต คือ ออกเสียงตวั สะกด ก.ไก่ ไมไ่ ด้ การแบง่ เขตระหว่างพ้นื ทที่ ่ีใชภ้ าษาไทยถ่นิ ใตต้ ะวนั ออก (คาที่มีเสียงสระยาว สามารถออกเสียง ก. สะกดไดช้ ดั ) กบั พ้นื ทที่ ่ใี ชภ้ าษาไทยถน่ิ ใตต้ ะวนั ตก (คาทมี่ ีเสียงสระยาว ออกเสียง ก. สะกดไมไ่ ด)้ สามารถกาหนดแนวแบ่งเขตได้ เคร่าๆ ไดโ้ ดยลากเส้นแนวแบ่งเขต จากจงั หวดั สุราษฎร์ธานีฝ่ังอ่าวไทย ลงไปทางใต้ โดยใชแ้ นวเขาหลวง(เทือกเนครศรีธรรมราช) เป็นแนวแบง่ เขต ผา่ นลงไปถึงจุดระหว่างอาเภอทงุ่ สง และอาเภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช จากน้นั วกไปทางทิศตะวนั ตกไปยงั อาเภอคลองทอ่ ม จงั หวดั กระบจี่ รด ทะเลอนั ดามนั ภาษาไทยถ่ินใตส้ าเนียงสงขลา ภาษาไทยถ่ินใตส้ าเนียงสงขลา ไดแ้ ก่ ภาษาไทยถนิ่ ใตท้ พ่ี ูดอยูบ่ ริเวณพ้ืนทีจ่ งั หวดั สงขลา บางส่วนของจงั หวดั ปัตตานี และจงั หวดั ยะลา โดยมีลกั ษณะทเี่ ด่นคือ หางเสียงจะไม่ขาดหว้ น แต่จะค่อยๆเบาเสียงลง ซ่ึงลกั ษณะดงั กลา่ ว ชว่ ยใหภ้ าษาสงขลาฟังแลว้ ไม่หยาบกระดา้ งอยา่ งสาเนียงใตถ้ ิ่นอ่ืน นอกจากน้ียงั คาทีใ่ ชบ้ ่อยใน สาเนียงน้ีคือ คาว่า เบอะ หรือ กะเบอะ ซ่ึงมคี วามหมายในภาษาไทยมาตรฐานว่า เพราะวา่ ก็ เพราะว่า เรียกเงนิ ว่า เบ้ีย ในขณะที่ถ่ินอ่ืนนิยมเรียกว่า ตางค์ และคาท่ีนิยมใชอ้ ีกคาหน่ึง คอื ไม่ หอน ซ่ึงมคี วามหมายว่า ไม่เคย เช่น ฉานไมห่ อนไป เป็นตน้ ภาษาไทยถนิ่ ใตส้ าเนียงเจะ๊ เห ภาษาไทยถน่ิ ใตส้ าเนียงเจะ๊ เห หรือ ภาษาไทยถิน่ ใตส้ าเนียงตากใบ ไดแ้ ก่ ภาษาไทยถนิ่ ใตท้ ี่พดู อยบู่ ริเวณพ้ืนท่จี งั หวดั นราธิวาส จงั หวดั ปัตตานี(เฉพาะ อาเภอยะหร่ิง อาเภอปะนาเระ และ อาเภอสายบรุ ี) รวมท้งั ในเขตรัฐกลนั ตนั ของมาเลเซีย ในหม่บู า้ นท่พี ดู ภาษาไทย จะใชภ้ าษาไทย ถิ่นใตส้ าเนียงเจะ๊ เห นอกจากน้ียงั สามารถแบง่ ยอ่ ยไดอ้ กี หน่ึงภาษาคอื ภาษาถน่ิ พิเทน ซ่ึงพูดกนั ในตาบลพิเทน อาเภอทงุ่ ยางแดง และตาบลกะรุบี อาเภอกะพอ้ จงั หวดั ปัตตานีเท่าน้นั ในเขต จงั หวดั นราธิวาส เนื่องมีคนในจงั หวดั อ่นื ๆ มาอาศยั หรือทางานในจงั หวดั นราธิวาส จึงนา ภาษาไทยถิ่นใตข้ องแตล่ ะจงั หวดั มาพดู กนั ในจงั หวดั นราธิวาส ส่วนใหญจ่ ะเป็นคนไทยถิน่ ใต้ จากจงั หวดั พทั ลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คนนราธิวาส จงึ มภี าษาไทย 2 สาเนียง คอื ภาษาไทย ถนิ่ ใต้ สาเนียง เจะ๊ เห และสาเนียงภาษาไทยถิ่นใตต้ ะวนั ออก ภาษาไทยถนิ่ ใตส้ าเนียง เจะเห มกั พูดกนั ในกลมุ่ เครือญาติ หรือตามชนบทของนราธิวาส แต่ในเมืองมกั จะพูดสาเนียงภาษาไทยถ่นิ

ใตต้ ะวนั ออกภาษาไทยถ่ินใตส้ าเนียงพเิ ทน ภาษาไทยถ่ินใตส้ าเนียงพเิ ทน เป็นภาษาถน่ิ ยอ่ ยของ ภาษาไทยถนิ่ ใตส้ าเนียงตากใบทีใ่ ชอ้ ยใู่ นตาบลพเิ ทน อาเภอทุ่งยางแดง และตาบลกะรุบี อาเภอ กะพอ้ จงั หวดั ปัตตานี ปัจจุบนั คนในตาบลพเิ ทนพูดภาษาไทยถิ่นพิเทนนอ้ ยลง ส่วนมากจะใช้ ภาษามลายูปัตตานีในชีวติ ประจาวนั ตามความนิยมของผใู้ ชภ้ าษาส่วนใหญ่ ผทู้ ่สี ามารถใช้ สาเนียงพเิ ทนไดด้ ีคอื ผูท้ ม่ี ีอายุ 40 ปี ข้ึนไป อายุนอ้ ยกวา่ น้ีบางคนไมย่ อมพูดภาษาของตน หรือพูด ไดก้ ็ยงั ไม่ดีเท่าทีค่ วร โดยภาษาพิเทนมีการใชค้ ายืมและคาทใี่ ชร้ ่วมกนั กบั ภาษามลายปู ัตตานีถงึ ร้อยละ 97 2.ควำมรู้เกีย่ วกบั ลกั ษณะภำษำถ่ินใต้ในเกำะสมุย ลกั ษณะภาษาถน่ิ ใตใ้ นเกาะสมุย จะใชภ้ าษากอ่ หมยุ (เกาะสมุย) มคี าบางคาและบางสาเนียง จะไม่เหมอื นกนั กบั ภาษาใต้ 100% อปุ มาคลา้ ยกบั ภาษาจนี ท่สี ิงคโปร์ จะไมเ่ หมอื นกบั ภาษาจนี ท่จี นี แผน่ ดินใหญแ่ บบ 100% หรือ ภาษาองั กฤษสาเนียงไทย จะไมเ่ หมือนกบั ภาษาองั กฤษ สาเนียงฮ่องกงหรือสาเนยี งอนิ เดีย หรือคาและสาเนียงของภาษาเหนือที่จ.เชียงใหม่ กบั จ.แพร่ ก็ไม่เหมือนกนั สกั ทีเดียว เช่นกนั ที่จริงคาบางคาของภาษาเกาะสมุยรุ่นคุณพ่อคณุ แมย่ งั เป็น หนุ่มสาว วยั รุ่นเกาะสมยุ ในยคุ ปัจจบุ นั ที่ใชอ้ ินเตอร์เน็ตและมกี ารท่องเทยี่ วกนั มากข้ึน กอ็ าจจะ ไม่ค่อยไดใ้ ชก้ นั แลว้ แต่จะเปล่ียนไปใช้ เป็นภาษาใตท้ วั่ ไป หรือไมก่ ภ็ าษากลาง อาจจะเป็น เพราะว่ามีการติดตอ่ กบั คนใตอ้ ื่นๆและคนกรุงเทพมากข้ึน และอาจจะเป็นเพราะวา่ โรงเรียนทกุ โรงเรียนในเกาะสมยุ ใชภ้ าษากลางกนั ท้งั หมด

3.ควำมรู้เกย่ี วกบั กำรใช้เสียง ถ้อยคำและสำเนียงของภำษำถิ่นใต้ในเกำะสมยุ ลกั ษณะการใชเ้ สียง ถอ้ ยคาและสาเนียงใตข้ องคนเกาะสมุยจะไม่เหมอื นกนั กบั ภาษาใต้ เป็นส่วนใหญ่ เพราะคนในเกาะสมุยเดิมทีก็มาจากแผน่ ดินใหญท่ ีม่ าต้งั หลกั อยทู่ นี่ ่ี มีท้งั คนทมี่ ี เช้ือชาติอืน่ ๆ หรือคนไทยทอี่ ยใู่ นภาคเหนือ กลาง หรือในภาคใตเ้ ป็นส่วนใหญ่ เลยทาให้ภาษา เกาะสมยุ จะเป็นการใชเ้ สียงและถอ้ ยคาทผ่ี สมกนั ทาใหเ้ กิดเป็นภาษาเกาะสมยุ ข้นึ มา ตวั อยา่ งคา ภาษาถิน่ ใตใ้ นอาเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ป้ามด - โย่ ป๊ ะนงั พอ่ นอ้ งโจ - โย่ ตานี นอ้ งโรส - โย่ สงขลา นอ้ งรตั น์ - โย่ กระบี่ เห็นคนเคา้ ว่า คุณเขาพนม คณุ ป้าซ่าแลว้ คุณบรรณภรณ์ - โย่ สูร๊ าด จงั หวดั เดียวกบั ผม้ เลย แหล่ว นอ้ งดีล่ะ - เติน้ โย่ ไหน? โย่ คอน โย่ ตรงไหน? (หมายถงึ ป้ามด – อยู่ ปากพนงั พ่อนอ้ งโจ - อยู่ ปัตตานี นอ้ งโรส - อยู่ สงขลา นอ้ งรตั น์- อยู่ กระบ่ี เหน็ คนเขาวา่ คณุ เขาพนม คุณป้าซ่าและ คณุ บรรณภรณ์ - อยู่ สุราษฎร์ จงั หวดั เดียวกนั กบั ผมเลยครบั แลว้ นอ้ งดีล่ะครบั – นอ้ ง อยทู่ ่ไี หน? อยู่ จ.นคร อยู่ อาเภออะไรครับ?) จะเห็นไดว้ า่ จะมกี ารใชภ้ าษาถ่ินใตแ้ ตกตา่ งจากแผน่ ดินใหญ่เพราะมกี ารผสมผสานภาษาอ่ืนๆ เขา้ มาแต่กย็ งั มีการใชภ้ าษาใตเ้ ดิมอยเู่ ป็นหลกั 4.ควำมรู้เก่ียวกบั กำรจำแนกภำษำถนิ่ ใต้ในเกำะสมุย ลกั ษณะการจาแนกภาษาถิ่นใตใ้ นเกาะสมยุ และทอี่ ่นื ๆในภาคใต้ มกั พจิ ารณาจากลกั ษณะเชิง สงั คม ซ่ึงเป็นลกั ษณะแปรผนั อยา่ งหน่ึงของภาษา ท่ีพดู กนั ในชนช้นั สังคมหน่ึงๆ - ภาษามาตรฐาน กาหนดมาตรฐานจากลกั ษณะการใชง้ าน ภาษาถน่ิ ใตม้ าตรฐานเป็นภาษาทจ่ี ะใชก้ นั ทวั่ ไปในภาคใต้ แต่ในแตล่ ะภูมภิ าคก็จะมีภาษาถ่นิ เป็นภาษายอ่ ยทีใ่ ชพ้ ดู จากนั ในทอ้ งถิ่นต่างๆ เพือ่ ตอ้ งการใชส้ ่ือความหมาย ความเขา้ ใจกนั ระหว่างผคู้ นที่อาศยั อยูใ่ นทอ้ งถิ่นน้นั ๆ ซ่ึงภาษาถน่ิ ยอ่ ยแตล่ ะที่ แตล่ ะถ่นิ จะมีความแตกตา่ งกนั ท้งั ทางดา้ นเสียง คาและความหมายที่เป็นลกั ษณะเฉพาะซ่ึงถือเป็นขอ้ ตกลงร่วมกนั

- ภาษาสแลง นอกจากจะมภี าษาท่ใี ชพ้ ดู แลว้ ในแต่ละทอ้ งถ่นิ กจ็ ะมีภาษาสแลงทต่ี า่ งออกไปเช่นกนั แต่กใ็ ห้ ความหมายเหมือนกนั แต่มกี ารใชค้ าหรือภาษาที่ไมเ่ หมือนกนั จึงตอ้ งอาศยั การจาแนก หากลกั ษณะแปรผนั ของภาษาถนิ่ ใตน้ ้นั เป็นเพยี งลกั ษณะของเสียง ในทางภาษาศาสตร์ จะเรียกว่า สาเนียง ไมใ่ ช่ ภาษาถิน่ ซ่ึงในบางคร้ังก็ยากท่ีจะจาแนกวา่ ภาษาในทอ้ งถนิ่ หน่ึงๆ น้นั เป็นภาษายอ่ ยของถนิ่ หลกั หรือเป็นเพยี งสาเนียงทอ้ งถนิ่ เท่าน้นั หรือถกู ดดั แปลงในทุกกรณี 5.ตวั อย่ำงภำษำถ่นิ ใต้ในเกำะสมุยทใ่ี ช้ในชีวติ ประจำวัน ภาษาถ่ินใตใ้ นเกาะสมุยท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 5.1 ฮิด คาว่า ฮิด แปลว่า หน่อย, เลก็ นอ้ ย ตวั อยา่ ง - ย้บั ฮิด แปลวา่ ขยบั ออกไป สกั หน่อย หรือตวั อยา่ ง - ชว่ ยเปิ ดพดั ลมให้ ฮิด ทิ คนก่อหมยุ จะแปลวา่ ช่วยเปิ ดพดั ลมให้ หน่อย ซิ 5.2 เหรอ คาว่า เหรอ แปลว่า ไม่ฉลาด หรือโง่ (ถา้ เป็นภาษาใต้ จะใชค้ าว่า โหมร่, โมร๋) ตวั อยา่ ง - มึง ชาติ เหรอ คนกอ่ หมยุ จะแปลวา่ มึง ชาตไิ ม่ฉลาด คือเป็นคนไมฉ่ ลาด (แต่คาน้ี มกั เป็นคาตดิ ปากอยา่ งคาสบถทวั่ ไป คนฟังจะไมค่ ่อยรูส้ ึกโกรธ) 5.3 สา คลาย คาว่า สา คลาย แปลวา่ ดีข้ึน ตวั อยา่ ง - พรือ สา คลาย? คนกอ่ หมุยจะแปลว่า เป็นยงั ไง อาการดีข้นึ หรือไม?่

หรือตวั อยา่ ง - โยเ่ ครง สาคลาย กแ็ ปลวา่ ปัจจบุ นั น้ี ดีข้ึนกวา่ แต่กอ่ น (หมายถงึ การทามาหากิน หาของไดง้ ่าย หรือขายดีข้ึนกว่าแต่ก่อน) 5.4 ตอ ฉ่าว คาว่า ตอ ฉ่าว แปลวา่ พรุ่งน้ี (ถา้ เป็นภาษาใต้ กจ็ ะใชค้ าวา่ ตอ โพรก) ตวั อยา่ ง ตอ ฉ่าว เติน ฉ่าว สกั ฮิด นะ ประโยคน้ีคนก่อหมยุ แปลว่า พรุ่งน้ี ต่ืน แต่เชา้ สกั หน่อยนะ 5.5 แต วา คาว่า แต วา แปลว่า เม่ือวาน ( แตถ่ า้ เป็นภาษาใต้ กจ็ ะใชค้ าวา่ แรก วา) ตวั อยา่ ง - แต วา ไปไหน? โทรไปหาไม่ยอมรบ่ั สาย คนกอ่ หมุยจะแปลว่า เมื่อวาน ไปที่ไหน? โทรไปหาไม่ยอมรบั สาย 5.6 หวนั มงุ๊ มิง๊ คาว่า หวนั มุง๊ ม๊งิ แปลว่า ตะวนั โพลเ้ พล้ ตวั อยา่ ง - หลาน เหอ ข้ึนจากเลเต๊อะหวนั มุ๊งมงิ๊ แหลว่ คนก่อหมยุ จะแปลวา่ หลานเอย๊ ข้นึ จากทะเลเถดิ ตะวนั โพลเ้ พล้ แลว้ 5.7 รกั ษา คาว่า รกั ษา แปลว่า เล้ยี ง หรือ เล้ยี งดู ตวั อยา่ ง - ฉาน ไปไมด่ า้ ย ฉาน ตอ้ งรกั ษาหมู ทกุ หวนั เยน็ คนก่อหมุยจะแปลว่า ฉัน ไปไมไ่ ด้ ฉนั ตอ้ งเล้ียงหมู ทกุ ตอนเยน็ หรืออีกตวั อยา่ งหน่ึง - ฉาน ติ แขบ ไปวดั ชว่ ย รกั ษา ไขหนุ่ยให้ ฮิด ทิ คนกอ่ หมุยจะแปลวา่ ฉนั จะ รีบไปวดั ช่วยเล้ียงเด็กชายให้สกั หน่อย เถอะ

5.8 ถ่งุ คาวา่ ถ่งุ แปลว่า ปี๊ บ กไ็ ด้ แปลวา่ กระทงุ้ กไ็ ด้ ตวั อยา่ ง - น้าตาล คร่ึง ถุง่ แปลว่า น้าตาล คร่ึง ปี๊ บ ยิบ ถุ่ง หนว้ ยน้นั ให้ ที คนก่อหมยุ จะแปลว่า หยบิ ปี๊ บ ใบน้นั ใหท้ ี หรือตวั อยา่ ง โละ่ มว่ ง ขา่ ง โย่ บนหลงั คา ชว่ ย ถงุ่ ให้ พลดั ที แบบน้ีคนก่อหมุยจะแปลวา่ ลกู มะม่วง คา้ ง อยู่ บนหลงั คา ชว่ ย กระทงุ้ (หลงั คา) ให้ ตก(ลงมา) ที 5.9 โคม คาวา่ โคม แปลว่า กะละมงั ตวั อยา่ ง - ช่วย ยิบโคม หนว้ ย สีขาว ให้ที ทิ คนกอ่ หมยุ จะแปลวา่ ช่วยหยิบกะละมงั ใบสีขาว ให้สกั หน่อย ซิ 5.10 ให้เลน คาว่า ใหเ้ ลน แปลว่า ใหช้ ุ่ม หรือใหแ้ ฉะ ตวั อยา่ ง - แมค่ า้ เหอหนมจีนจานหน้ี ราดน้าแกง ให้เลน นะ คนก่อหมุยจะแปลวา่ แมค่ า้ ครับขนมจนี จานน้ี ราดน้ายา ให้ชุ่ม นะ 5.11 แหง้ แขก็ คาวา่ แหง้ แข็ก แปลว่า แห้งสนิท ตวั อยา่ ง - ดินแหง้ แขก็ แบบน้ี ติ โปละ ไหรข้นึ คนกอ่ หมยุ จะแปลว่า ดินแหง้ สนิท แบบน้ี จะ ปลกู อะไรข้นึ 5.12 อยแู่ ต่สวน คาวา่ โย่ แตส่ วน แปลวา่ อยคู่ นเดียว คาว่า ทา แตส่ วน กแ็ ปลวา่ ทาคนเดียว

5.13 หยา้ หม,ู ม๋วง ทูนหนว้ ย, มงุ มงั คาวา่ หยา้ หมคู นกอ่ หมยุ แปลว่า ผลฝร่งั คาว่า ม๋วง ทนู หนว้ ย คนกอ่ หมยุ แปลวา่ มะมว่ งหิมพานต์ และคาว่า มุงมงั คนกอ่ หมุย จะแปลว่า ตะลิงปลงิ ตวั อยา่ ง - เพ่อื น ติ เอาน้าชุบ มงุ มงั มา ...แหลว่ ตวั เอง ตเิ อาไหร๊ มา? คนก่อหมุย แปลว่า ฉนั จะนา น้าพริก ตะลงิ ปลิง มา แลว้ เธอ จะนาอะไร มา? 5.14 ลา่ วหลาว คาวา่ ลา่ วหลาว แปลว่า รีบรีบ, ไมเ่ รียบรอ้ ย ตวั อยา่ ง - สาวน้ี ทาไอไ่ ร ล่าวหลาว คนกอ่ หมยุ จะแปลว่า สาวคนน้ี ทาอะไรรีบรีบ(ไม่ใชค่ นเรียบรอ้ ย) 5.15 เอาหลา่ ว คาวา่ เอาหลา่ ว แปลว่า ทาสิ่งเดิมอกี หรือขอเพมิ่ อกี ตวั อยา่ ง - เอาขา้ วเพิม่ มา่ ย? ถา้ ตอบว่า - เอาหลา่ ว คนก่อหมยุ จะแปลวา่ เอาเพ่มิ อกี หรืออีกตวั อยา่ ง - มงึ ทาอนั หน้นั หลา่ ว !!! กูบอกแหลว่ ว่า ม่ายหา้ ยทา จะแปลว่า มึง ทาสิ่งน้นั อกี แลว้ !!! กูบอกว่า หา้ มทา 5.16 คาโบราณบางคา โยเ่ ครง(ปัจจุบนั น้ี) คนไมค่ ่อยใช้ เชน่ คาวา่ เทม่ิ ขา้ ว คนโบราณจะแปลว่า เตมิ ขา้ วอีก หรือ นอกเล คาวา่ นอกเล คนกอ่ หมยุ รุ่นโบราณ จะแปลวา่ อยใู่ นทะเล

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ยั การวิจยั คร้งั น้ีเป็นการวจิ ยั เชิงคณุ ภาพมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อการศกึ ษาและวเิ คราะหก์ ล วิธีการใชค้ าการใชภ้ าพพจนแ์ ละการนาเสนอเรื่องภาษาถ่ินของภาคใต้ โดยมขี ้นั ตอนดาเนินการดงั น้ี 1. เลอื กหัวขอ้ วิจยั ที่ทางกลุ่มสนใจ 2. ศึกษาเอกสาร ตารา ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ภาษาถิ่นของภาคใต้ 3. วางแผนของเขตขอ้ มูลท่ีใชศ้ กึ ษาและขอบเขตหัวขอ้ ที่วจิ ยั 4. รวบรวมขอ้ มูล (ภาษาถ่ินภาคใต)้ จากการลง สารวจตามทอ้ งถ่นิ แลว้ บนั ทึกตามหมวดหมู่ ทไี่ ดจ้ ดไว้ 5. ดาเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามหวั ขอ้ ทว่ี ิจยั 6. สรุปและอภปิ รายผลขอ้ มูล 7. จดั ทารูปแบบส่งอาจารยป์ ระจาวิชา 8. นาเสนอผลการวิจยั 9. แกไ้ ขรูปเลม่ ฉบบั สมบูรณแ์ หล่งขอ้ มลู แหล่งขอ้ มูลทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั คร้งั น้ีไดแ้ ก่ ภาษาถ่ินของภาคใตต้ ้งั แตป่ ี พ.ศ.2563-2564 จานวน 16 คาที่ลงพ้ืนท่ีสารวจของทุกวนั เสาร์-อาทิตย์ โดยมีคาและความหมายท้งั หมด 16 คา เรียงลาดบั จากการลงพ้ืนทส่ี ารวจดงั น้ี ตารางที่ 1 จานวนคาและความหมายของภาษาในทอ้ งถนิ่ ของภาคใต้ ท้งั หมด 16 คา เกณฑใ์ นการวเิ คราะห์ภาษาถนิ่ ของภาคใตม้ ที ้งั หมด 3 เกณฑแ์ บง่ เป็นเกณฑว์ ิเคราะหก์ ล วธิ ีการใชค้ า เกณฑก์ ารวเิ คราะหก์ ารใชภ้ าพพจน์ และเกณฑก์ ารวิเคราะหก์ ารนาเสนอเรื่อง โดยมรี ายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

1. เกณฑ์วิเครำะห์กลวธิ กี ำรใช้คำ เกณฑก์ ารวเิ คราะหข์ อ้ มูลทผี่ ูว้ ิจยั นามาใชว้ ิเคราะหก์ ลวิธีการใชค้ าในภาษาถน่ิ ของภาคใตไ้ ดใ้ ช้ เกณฑใ์ นการลงสารวจพ้ืนทีข่ องแต่ละชุมชนโดยมเี กณฑว์ เิ คราะห์การใช้ คาดงั น้ี 1. การใชค้ าบ่งบอกวนั และเวลา 2. การใชค้ าเรียกแทนสิ่งของ 3. การใชค้ าภาษาถิน่ 4. การใชค้ าสื่ออารมณ์ 4.1 อารมณเ์ สียดสีประชดประชนั เยาะเยย้ 4.2 อารมณ์ขนั สนกุ สนาน 4.3 อารมณส์ งสารเห็นใจ 2. เกณฑ์กำรวิเครำะห์กำรนำเสนอเร่ือง เกณฑก์ ารวเิ คราะหก์ ารนาเสนอเรื่องจากการศกึ ษาภาษาถน่ิ ของภาคใตผ้ ูว้ จิ ยั ไดแ้ บ่ง ลกั ษณะ ของการนาเสนอเร่ืองภาษาถนิ่ ของภาคใตเ้ ป็น 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1 คาท้งั 16 คนั น้ีสามารถใชไ้ ดใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆ 1.1 กล่าวถงึ วนั และเวลา 1.2 กล่าวถงึ สิ่งของ 1.3 กล่าวถงึ คาภาษาถ่นิ 1.4 กลา่ วถึงการส่ืออารมณ์ 2 คาท้งั 16 คาน้ีสามารถใชไ้ ดท้ ้งั การทกั ทายสื่อสารส่ืออารมณ์และเปรียบเปรยในส่ิงตา่ งๆ กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการวิจยั คร้ังน้ีผูว้ จิ ยั ไดร้ วบรวมขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหก์ ลวิธีใชค้ าการใชภ้ าพพจน์ และการนาเสนอเร่ืองภาษาถิ่นของภาคใตซ้ ่ึงมีข้นั ตอนการดาเนินดงั ต่อไปน้ี 1. ศึกษาเก่ียวกบั ลกั ษณะการพดู ของแต่ละภูมิภาคและแตล่ ะพ้นื ที่ของเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

2. อา่ นและศึกษาภาษาถิ่นของภาคใตจ้ านวน 16 คา ซ่ึงไดล้ งจานวนในพ้นื ท่ีของแต่ละ ชุมชนต้งั แต่ปี พ.ศ.2563-2564 ของทกุ วนั เสาร์-อาทิตย์ 3. วิเคราะหก์ ลวิธีการใชค้ าการใชภ้ าพพจนแ์ ละการนาเสนอเร่ืองตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ 4. รวบรวมผลการวเิ คราะหแ์ ลว้ บนั ทึกไวต้ ามหมวดหมเู่ พอื่ ใชส้ รุปและอภิปรายผลตอ่ ไป การวิเคราะหข์ อ้ มูล 4.1 นาคาภาษาถน่ิ ของภาคใตท้ ี่เก็บรวบรวมไดม้ าวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามเกณฑท์ กี่ าหนดใน เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั 4.2 นาขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการวเิ คราะหก์ ลวธิ ีการใชค้ าการใชภ้ าพพจนแ์ ละการนาเสนอเร่ืองมาเรียบ เรียงแบบอธิบายพรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ 4.3 สรุปผลและอภิปรายผลเสนอแนวทางการนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน รายวิชาภาษาไทยรวมถงึ เสนอขอ้ เสนอแนะในการวิจยั คร้งั ตอ่ ไป ระยะเวลาในการดาเนินการ ในการศกึ ษาเรื่องการศกึ ษากลวิธีการใชค้ าภาพพจนแ์ ละการนาเสนอเร่ืองในภาษาถ่ินของภาคใต้ มีระยะเวลาในการดาเนินการซ่ึงแบ่งได้ ดงั น้ี ลำดับ ข้ันตอนกำรศึกษำ ช่วงเวลำ 1 รวบรวมขอ้ มูลเอกสาร ระยะเวลา ต้งั แต่ 2-4 และงานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 2 รวบรวมคาภาษาถ่นิ ระยะเวลา ของภาคใต้ 5-25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 3 วิเคราะห์ขอ้ มลู ระยะเวลา 25-30 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 4 สรุปและอภิปรายผล ระยะเวลา 1-8 ธนั วาคม พ.ศ.2563 5 ตรวจทานและแกไ้ ขขอ้ มลู ระยะเวลา เพือ่ นาเสนอ 9-20 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

บทที่ 4 กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู การวเิ คราะหข์ อ้ มูลในบทท่ี 4 น้ีจะแบ่งการวเิ คราะหอ์ อกเป็น 3 ประเด็นตามหลกั จุดประสงคท์ ีผ่ วู้ เิ คราะหไ์ ดก้ าหนดเอาไวไ้ ดแ้ ก่ การวิเคราะหก์ ลวิธีการใชค้ า และการวิเคราะห์ การนาเสนอเร่ือง ภาษาถิ่นภาคใต้ ของอาเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ซ่ึงมรี ายละเอียดการ วิเคราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี 1. การวิเคราะหก์ ลวิธีการใชค้ า การวเิ คราะห์กลวิธีการใชค้ าในภาษาถ่นิ ภาคใตใ้ นอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ผวู้ จิ ยั ไดใ้ ชเ้ กณฑก์ ารวิเคราะหก์ ารใชค้ า จากการลงสารวจของแต่ละชุมชน มี 3 หวั ขอ้ ไดแ้ ก่ 1. การใชค้ าเรียกญาติ 2. การใชค้ าบง่ บอกสถานที่ 3. การใชค้ าภาษาถนิ่ โดยรายละเอียดการวเิ คราะห์น้นั ผูว้ ิจยั จะใชก้ ารหาความถีข่ องจานวนการใชค้ าทพี่ บในแตล่ ะ ชุมชน เพ่ือวิเคราะห์วา่ ภาษาถิน่ ของภาคใตใ้ นอาเภอเกาะสมุยจงั หวดั สุราษฎร์ธานีน้นั มีการใช้ กลวิธีการใชค้ าอยา่ งไรและมีความถ่ใี นหัวขอ้ ใดมากที่สุดซ่ึงมรี ายละเอยี ดการวเิ คราะห์ดงั น้ี 1. การใชค้ าเรียกญาติ จากวิเคราะห์พบวา่ ภาษาถนิ่ ของภาคใตใ้ น ในอาเภอเกาะสมุยจงั หวดั สุราษฎร์ธานีทีเ่ ลือก ศกึ ษาน้ีมีการใชค้ าเรียกญาตหิ ลายคร้งั แตข่ อ้ แตกตา่ งเรื่องการใชค้ าเรียกญาตกิ ็คอื มีการใชค้ า เรียกญาติท่ีมีลกั ษณะเป็นคาราชาศพั ทอ์ ยซู่ ่ึงการใชค้ าเรียกญาติน้ีแสดงถงึ ความสมั พนั ธท์ ่ีสนิท สนมกนั ระหวา่ งคนในครอบครัวหรือคนใกลช้ ิดกนั คาเรียกญาติส่วนใหญ่ท่ีพบไดแ้ กค่ าวา่ พ่อ ,แม่,พบ่ี า่ ว,นอ้ งสาว,แม่เฒา่ ,พ่อเฒ่า,โป,ยา่ , ลุง,ป้า,นา้ ,อา เป็นตน้ ตวั อยา่ ง การใชค้ าเรียกญาติทีป่ รากฏในแต่ละชุมชน \" พีบ่ า่ วตอนเยน็ น้ีไปกินขา้ วกนั ไหม\" \" แมเ่ ฒา่ แมเ่ ฒา่ มเี รื่องอิแหลงใหฟ้ ัง\"

\" พ่อแม่วนั น้ีกินแกงไหร่\" \" นอ้ งสาวนอ้ งสาววนั น้ีอไิ ปไหนหมา้ ย\" \" พอ่ เฒ่าวนั น้ีไปส่งนุย้ ที่โรงเรียนท\"ี \" โปยา่ วนั น้ีเด๋ียวนุย้ ไปหาที่บา้ น\" \" ลงุ กบั ป้าชว่ ยพานุย้ ไปวดั ทนี ุย้ อิทาบุญนิ\" \"นา้ กบั อาตอเชา้ มาวนั เกิดนยุ้ กนั นา\" จากการศกึ ษาและวเิ คราะหพ์ บวา่ คาภาษาถ่นิ ภาคใตข้ องอาเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎร์ ธานีมีการใชค้ าเรียกญาตทิ ้งั หมด 8 คร้งั ซ่ึงคาเรียกญาติทีป่ รากฏในภาษาถนิ่ ของภาคใตน้ ้นั แต่ มคี าเรียกญาตทิ วั่ ไป 2. การใชค้ าบ่งบอกสถานที่ ภาษาถนิ่ ของภาคใตอ้ าเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎร์ธานีส่วนใหญจ่ ะมีการระบสุ ถานทลี่ ง ไปในภาษาถ่ินน้นั ดว้ ย เพอื่ ใหผ้ ฟู้ ังสามารถเขา้ ถงึ สถานท่ใี นแต่ละชุมชนไดง้ า่ ยยง่ิ ข้ึน คาทบี่ ่ง บอกถึงสถานทที่ พี่ บส่วนใหญ่มกั เก่ียวขอ้ งกบั สถานท่ีในแต่ละชุมชน 3. การใชค้ าในภาษาถิ่น จากการศึกษาพบวา่ ภาษาถิ่นพบไดท้ ว่ั ไปตามชุมชนต่างๆ ของอาเภอเกาะสมุยจงั หวดั สุ ราษฎร์ธานี เน่ืองดว้ ยอาเภอเกาะสมุยจงั หวดั สุราษฎร์ธานี น้นั ใชภ้ าษาถน่ิ ในการส่ือสารกนั อยู่ แลว้ 2. การวเิ คราะหก์ ารนาเสนอเร่ือง การศกึ ษาและวเิ คราะห์การนาเสนอเร่ืองในภาษาถน่ิ ของภาคใตอ้ าเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุ ราษฎร์ธานจี านวน 30 คา โดยผวู้ จิ ยั ไดแ้ บง่ คาและความหมายเอาไวด้ งั น้ี

ลาดบั ภาษาไทยถิน่ ใต้ ความหมาย 1 ฮิด หน่อย เล็กนอ้ ย 2 เหรอ ไมฉ่ ลาด หรือ โง่ 3 สาคลาย ดีข้ึน 4 ตอฉ่าว พรุ่งน้ี 5 แตวา เมือ่ วาน 6 หวนั มงุ๊ ม๊งิ ตะวนั โพลเ้ พล้ 7 รักษา เล้ียง เล้ยี งดู 8 ถุ่ง ป๊ี บ 9 โคม กะละมงั 10 ให้เลน ให้ชุ่ม ใหแ้ ฉะ 11 แห้งแข็ก แห้งสนิท 12 อยแู่ ต่สวน อยคู่ นเดียว 13 หยา้ หมู ผลฝร่ัง 14 ลา่ วหลาว รีบๆ ไมเ่ รียบรอ้ ย 15 เอาหลา่ ว ทาส่ิงเดิมอีก 16 โยเ่ ครง ปัจจบุ นั น้ี 17 ชกั ทก 1. งอแง / 2.กระทกึ 18 หลืบ รู 19 ขนมโรง ขนมเค้ยี ว 20 พก ช้า 21 โหะ พงั 22 รุ่ง ลว้ ง 23 ลิว่ โยน 24 หมนั ใช่ 25 หวิบ โมโห

26 ลอกอ มะละกอ 27 แตงโม แตงจนี ลาดบั ภาษาไทยถ่นิ ใต้ ความหมาย 28 มะม่วง ลูกม่วง 29 ตอเบา กระถนิ 30 หวกั ตะหลิว

บทที่ 5 สรุป อภปิ รำยผล และข้อเสนอแนะ การศกึ ษาคน้ ควา้ เร่ืองลกั ษณะภาษาถน่ิ ใตใ้ นอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี มวี ตั ถุประสงคใ์ นการศกึ ษาคน้ ควา้ เพือ่ ศกึ ษาถงึ ลกั ษณะเฉพาะพ้ืนทีข่ องภาษาถ่นิ ใต้ ในอาเภอ เกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ทม่ี คี วามแตกตา่ งจากภาษาถิ่นใตท้ ว่ั ไปและเพื่อศึกษาโครงสรา้ ง ภาษาและทีม่ าของคาศพั ทเ์ ฉพาะทอ้ งถนิ่ ในพ้นื ท่ีอาเภอเกาะสมยุ โดยแหล่งขอ้ มูลหรือกลุ่ม ตวั อยา่ งทีใ่ ชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ีคอื อินเตอร์เน็ต ซ่ึงไดก้ าหนดวิธีการศกึ ษา ตามข้นั ตอนดงั น้ี 1. แบง่ หมวดหมู่คาศพั ทท์ ี่จะศึกษา 2. ทาแบบบนั ทึกการสารวจคาศพั ท์ 3. วางแผนการสารวจในแตล่ ะหมวดหมู่คาศพั ท์ 4. ดาเนินการวเิ คราะหห์ ัวขอ้ ขอ้ มูลที่จะศึกษาคน้ ควา้ 5. จดั ทารูปเลม่ รายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ 6. นาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ กำรสรุปผลข้อมูล คณะผจู้ ดั ทาไดส้ รุปผลการวิจยั ตามวตั ถปุ ระสงคใ์ นการศกึ ษาคน้ ควา้ ดงั รายบะเอียดต่อไปน้ี คณะผูว้ จิ ยั พบวา่ ลกั ษณะภาษาถิ่นใต้ ในอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี มคี วามเป็น เอกลกั ษณเ์ ฉพาะพ้นื ท่ี ดว้ ยคาศพั ทเ์ ฉพาะถน่ิ ท่ีมีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไป และการศกึ ษาภาษาถนิ่ ใต้ ก่อให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งคนในทอ้ งถิ่นและคนในชาติ และยงั ทาใหเ้ ขา้ ใจถงึ ความเปลีย่ นแปลงของภาษาและยอมรบั ความหลากหลายของภาษาและ วฒั นธรรมในทอ้ งถ่ินอีกดว้ ย อภปิ รำย จากการทาโครงงานเร่ืองการศึกษาลกั ษณะภาษาถ่ินใตใ้ นอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

ไดผ้ ล อภปิ รายดงั น้ี การศกึ ษาภาษาถนิ่ ใตใ้ นอาเภอเกาะสมุย จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ทาให้ไดศ้ กึ ษาถึงระบบเสียง ของภาษาถิน่ ทม่ี ีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไป ไม่วา่ จะเป็นการรวบคา การลงน้าหนกั เสียง และ อารมณ์ของผูพ้ ูดภาษาถน่ิ ใต้ ทีส่ ื่อผา่ นการพูดดว้ ยน้าหนกั เสียง และ การศกึ ษาคาศพั ทท์ ไี่ ม่เคย พบเจอมาก่อน ทาให้เกิดประโยชนใ์ นดา้ น การเขา้ ใจภาษาเป็นอยา่ งดี ข้อเสนอแนะในกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. ควรศกึ ษาลกั ษณะการออกเสียงตา่ งๆของเจา้ ของภาษาถน่ิ ใต้ เพือ่ การออกเสียงที่ถกู ตอ้ ง 2. ควรศึกษาภาษาถิน่ ใต้ คาศพั ทใ์ หมๆ่ มากมาย ท่สี ามารถจะเขา้ ใจคนทอ้ งถิน่ ในพ้นื ที่ได้

บรรณำนุกรม เอกสารประกอบการศกึ ษา https://wjst.wu.ac.th/index.php/wuresearch/article/download/6643/1071 ภาษาไทยถิน่ ใต้ https://th.m.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทยถน่ิ ใต้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook