เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รความปลอดภยั ในการทางาน โดย น.ส.อนธุ ิดา เพชรทองขาว นกั วิชาการสาธารณสขุ
1. แนวคิดพื้นฐานและนยิ ามศัพทเ์ ก่ยี วกบั การประเมินความเสย่ี ง การประเมินความเส่ียงท้ัง 4 ข้ันตอน ควรทาความเข้าใจหลักการและนิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องอันตราย และความเสี่ยงอันตรายและความเส่ียงมักถูกใชแ้ ทนกันเป็นประจาในภาษาพดู ดังนั้น เพอ่ื ป้องกันการสับสนเม่ือ ตอ้ งใช้ในการประเมินความเส่ยี ง จึงจาเป็นตอ้ งเข้าใจและแยกความหมายใหถ้ กู ต้อง ดังน้ี อันตราย (hazard) หมายถึง ส่ิงใดๆ ซึ่งมีศักยภาพก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน อุปกรณ์ หรือ สิ่งแวดลอ้ ม มีผลกระทบต่อความปลอดภยั หรือสุขภาพอนามยั ของลกู จา้ ง ศักยภาพที่ก่อให้เกดิ ความเสยี หายน้ีมี อยู่หรือแฝงอยู่ในสสาร วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องจักร หรือการปฏิบัติงานท่ีไม่ถูกต้องเหมาะสม ดังนั้น อันตราย (Hazards) จงึ เปน็ ส่ิงใดๆ ซ่งึ อาจเป็นวัสดุต่างๆ ที่ใชใ้ นการทางาน อปุ กรณ์ เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ สารท่ี เป็นอันตราย เช่น ฝุ่น เชื้อจุลินทรีย์ท่ีทาให้เกิดโรค สารเคมีต่างๆ สารกาจัดศัตรูพืช เสียงดัง ส่ิงท่ีเกิดข้ึนจาก กระบวนการผลิต กระบวนการทางาน การจัดองคก์ ร วิธกี าร หรอื การปฏิบัติงาน รวมถงึ การขนส่งและทัศนคติท่ี ไมด่ ี เป็นตน้ ท่มี ศี กั ยภาพก่อให้เกดิ ความเสยี หาย การบาดเจบ็ หรือมผี ลกระทบต่อสขุ ภาพอนามยั และทรัพย์สนิ ความเสยี่ ง (Risk) หมายถึง โอกาส หรือความเป็นไปได้ของอันตรายทีจ่ ะทาให้เกิดการบาดเจ็บ การเจ็บป่วย หรอื ความเสยี หายตอ่ ทรัพยส์ ิน อุปกรณ์ หรือสิ่งแวดล้อม และความรนุ แรงของอันตราย ความเสย่ี ง = โอกาสทจี่ ะเกิดอนั ตราย x ความรุนแรงของอนั ตราย ดังนั้น ความเสี่ยงเป็นผลรวมของความเป็นไปได้ของการเกิดอันตรายที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บการ เจ็บป่วย หรือทรัพย์สินเสยี หายและความรุนแรงของอันตรายท่ีเกิดข้ึนในขณะท่ีอันตราย เป็นสิ่งที่มีอยหู่ รือแฝง อยู่ในสสารหรือกระบวนการผลิตแต่ไม่ใช่ความเสี่ยง อันตรายจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับมาตรการควบคุม ป้องกันท่ีมีอยู่และมาตรการของการลดระดับความเสี่ยงที่มีเพิ่มเติม ตัวอย่างเช่น สารกาจัดศัตรูพืชมีความเป็น พษิ อยู่ในตวั เป็นสารอนั ตราย เม่ือนามาใชง้ านอาจก่อใหเ้ กิดอันตรายต่อสุขภาพของชาวไร่ ชาวนาหรอื คนงานใน ฟารม์ หากมมี าตรการควบคุมอย่างเหมาะสม ความเส่ียงของการเกิดอันตรายน้นั กจ็ ะลดลงทานองเดียวกนั ไฟฟ้า 220 โวล์ท มีอันตรายแฝงอยู่ในตัว ถ้าใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีอยู่ในสภาพที่ปลอดภัย เช่น มีฉนวนหุ้ม ใช้เบรกเกอร์ หรือสะพานไฟท่ีเหมาะสม ใช้หม้อแปลงลดแรงดันไฟฟ้าก็สามารถลดความเส่ียงลงได้เม่ือความเส่ียงน้ันอยู่ใน ระดับทีย่ อมรับได้ ส่งิ ทีต่ ้องนามาประเมนิ เพมิ่ เตมิ ก็คือ ตวั ลกู จ้างหรอื ผู้ปฏิบัติงาน ส่ิงทีต้องนามาประเมินรว่ มกัน ได้แก่ เพศ อายุ สขุ ภาพ ศักยภาพการทางาน 2. การดาเนนิ การประเมนิ ความเสย่ี ง การประเมินความเสี่ยงคืออะไรการประเมินความเสย่ี งดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นการช้ี บ่งอันตราย ซ่ึงอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยกับผู้ปฏิบัติงาน แล้วจัดลาดับความเสี่ยง ซึ่งเป็นการ
ประเมนิ ตนเองว่า มีมาตรการควบคุมความเส่ียงหรอื มาตรการควบคุมท่ีไดด้ าเนนิ การอยแู่ ลว้ เพียงพอหรือไม่ ต้อง เพิ่มมาตรการควบคุมป้องกันอันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน ทรัพย์สินและสาธารณชนมากน้อยเพียงใด จดุ ม่งุ หมายของการประเมนิ ความเส่ยี งเพอื่ ม่ันใจว่าจะไม่มีผู้ได้รบั บาดเจบ็ หรอื เจบ็ ป่วยจากการทางานข้ึนอกี การ ประเมนิ ความเสย่ี งรวมถึงการจาแนกอันตรายทป่ี รากฏในการดาเนนิ กิจการ (ไม่วา่ จะเกิดจากกจิ กรรมการทางาน หรือกิจกรรมอื่นๆ) และให้น้าหนักความเส่ียงโดยพิจารณาจากมาตรการควบคุม ป้องกันความเสี่ยงที่มีอยู่ และ ตดั สินใจว่าจะต้องเพิ่มประเด็นใดเพือ่ ไม่ให้เกดิ อันตรายมากขึ้น ผลของการประเมนิ ความเสี่ยงจะนามาใช้สาหรับ พิจารณามาตรการควบคุมป้องกันความเสี่ยง ซึ่งชว่ ยให้นายจ้างสามารถเลอื กมาตรการควบคมุ ป้องกันความเส่ียง รูปแบบใดเหมาะสมทีส่ ุดทจ่ี ะนามาใช้เปน็ วธิ ีการปฏิบตั งิ านท่ดี สี าหรบั ลกู จา้ ง มาตรการควบคุมป้องกันความเส่ียง เป็นการนาลาดับความเส่ียงที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงมา พิจารณาดาเนินการเพ่ือลดความเส่ียง โดยท่ีการชี้บ่งอันตรายจะทาให้ทราบว่าผู้ใดมีโอกาสได้รับอันตราย และ ความรุนแรงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมากน้อยเพียงใด แตใ่ นขณะที่มาตรการควบคุมป้องกันความ เสยี่ งเปน็ มาตรการในการลดโอกาสและลดความรุนแรงของอนั ตรายลงประเด็นสาคัญในการดาเนินการประเมิน ความเส่ียงจะต้องไม่ซับซ้อนมากเกินไป ดังนั้นในการดาเนินการประเมินความเสี่ยงต้องเน้นมาตรการควบคุม ป้องกันความเสี่ยงที่จะนาไปใช้ เพื่อให้สภาพการทางานปลอดภัย และลูกจ้างมีสุขภาพอนามัยดี ควรมุ่งเน้นใน เรื่องการพิจารณานามาตรการควบคุมป้องกันความเส่ยี งมาสกู่ ารปฏิบัติ และควรนามาตรการควบคุมปอ้ งกันทไ่ี ม่ ซับซ้อนและง่ายต่อการปฏิบัติมาใช้ดาเนินการในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก เช่น หากมี เหตุการณ์ลูกจา้ งเกิดอาการปวดหลังจากการยกและเคลื่อนย้ายของหนัก หรือลูกจ้างบาดเจ็บจากการลื่นล้ม ให้ พิจารณาตรวจสอบด้วยตนเองว่ามาตรการควบคุมป้องกันความเส่ียงที่มีอยู่เหมาะสมและเพียงพอหรือไม่ท่ีจะ หลีกเลีย่ งการบาดเจ็บท่ีจะเกิดขนึ้ มาตรการควบคุมความเสีย่ งต่างๆ สามารถดาเนนิ การได้โดยการมีส่วนรว่ มของ นายจ้างและลกู จา้ งใหม้ ากท่สี ุดเทา่ ทที่ าได้ สง่ิ คกุ คามสขุ ภาพจากการทางาน (Occupational Health Hazards) ส่ิงคกุ คามสุขภาพแบงเป็น 5 ประเภท ได้แก 1. สง่ิ คุกคามด้านกายภาพ (Physical Hazard) 2. สิ่งคกุ คามด้านเคมี (Chemical Hazard) 3. สิ่งคุกคามด้านชวี ภาพ (Biological Hazard) 4. สง่ิ คุกคามด้านการยศาสตร (Ergonomic Hazard) 5. สิ่งคุกคามด้านจติ วิทยาสังคม (Psychosocial Hazard) 1. สิง่ คุกคามด้านกายภาพ (Physical Hazard) 1.1 เสียงดัง (Noise) และโรคหตู ึงจากเสียง
- Acoustic traumaการสมั ผัสเสยี งดงั มากถงึ 140 เดซเิ บลเอ ทาใหเกิดภยันตรายตออวัยวะรับคลน่ื เสียงภายใน หู (acoustic trauma) ทาใหสูญเสียการได้ยินเฉยี บพลนั สามารถพบเยื่อแกวหูทะลุ และการแยกตัวของกระดูก คอ้ น ทัง่ โกลน ทาใหเกดิ ภาวะ conductive hearing loss - Noise induced hearing lossการสัมผัสเสียงดังเกิน 90 เดซิเบลเอในเวลา 8 ชั่วโมงการทางานนานหนึ่งป หรือสัมผัสเวลานานตดตอกันอย่างน้อย 3 วันในหนึ่งสัปดาหเปนเวลา 40 สัปดาหตอปทาใหสูญเสียการได้ยิน แบบประสาทหูเสื่อม (sensorineural hearing loss) จะมีอาการเสียงดังใน หูเวียนศีรษะ หูอื้อ ภาพบันทึกการ ได้ยิน (audiogram) ในระยะแรกสามารถเห็นลักษณะเป็นรูปอักษรวีคือมีจุดตก (notch) ท่ีบริเวณความถ่ีสูง 4,000 – 6000 เฮริ ทซ (รปู ท่ี 1) เมอ่ื สัมผัสกับเสียงดังนานขึ้นจะสูญเสียการได้ยินมากขนึ้ ในความถต่ี ่างด้วย 1.2 ความส่นั สะเทอื น (Vibration) ทาใหเ้ กดิ อาการ 3 กลุม ได้แก - ความส่ันสะเทือนทั่วร่างกาย (Whole body vibration) อาการเฉียบพลัน ได้แก รบกวนการมองเห็นหรือ สายตาการใชมือควบคมุ เครอ่ื งจกั รลดความมน่ั คงของกล้ามเนือ้ ทาใหเ้ พิ่มแรงกดต่อไขสนหลังการสัมผสั เรื้อรงั ทา ใหเ้ กิดผลเสยี ต่อกระดกู สันหลัง ปวดหลังสวนล่างและส่วนทรวงอก - ความสนั่ สะเทือนเฉพาะสวน เชน เฉพาะมอและแขน ซึง่ ความสนั่ สะเทือนมีผลตอหลอดเลือดและประสาท สมั ผสั ทาใหเกดิ อาการเสยี วแปลบ ชาและซีดขาวของน้ิวมอื เรียกความผดิ ปกตนิ ว้ี า Hand-arm vibration syndrome (HAVS) ในอดีตมกั เรียก Vibration-induced white fingers หรอื Raynaud’s phenomenon of occupational origin - อาการเมารถเมาเรอื (motion sickness) 1.3 ความร้อน (Heat) ทาใหเกิด ผด (Miliaria หรือ heat rash), ลมแดด (Heat syncope), การเกร็งตัวของ กล้ามเนือ้ (Heat cramps), อ่อนเพลีย (Heat exhaustion) และ Heat stroke 1.4 ความเย็น (Cold) ทาใหเกิด Systemic hypothermia และ Localized hypothermia เชน Chilblains, immersion foot, frostbite 1.5 ความกดดันอากาศ (Pressure) แบงเปน็ 2 กลุม คอื ความกดอากาศเพิ่มและความกดอากาศตา่ ก. ความกดอากาศเพ่มิ ขน้ึ - การเจ็บป่วยจากความดันอากาศทีเ่ พิม่ ขึ้น ไดแกการบาดเจ็บจากแรงดนั อากาศ อากาศทีอ่ ยใู่ นหสู ว่ นกลางและ ไซนัส (Middle ear and sinus barotraumas), ปอดฉีกขาด (Burst lung)และการอุดตนของเส้นเลือดไปเล้ียง สมอง (Cerebral air embolism) เน่ืองจากภายใต้ความกดอากาศท่ีเพิ่มขึ้น ก๊าซไนโตรเจนจะละลายในเลือด
และของเหลวในร่างกายเพ่ิมขึ้น เมื่อก๊าซน้ีไปอยู่ในหูสวนกลางของคนที่มีการอุดตันของทอยู่สเตเช่ียนและชอง ไซนัสไม่เปดิ ทาใหความดนั ในหูสวนกลางและไซนัสเพมข้ึนจงึ เกิดอาการเจ็บปวดมาก - การเจ็บป่วยจากการเปล่ียนความดันอากาศจากมากไปน้อย (Decompression sickness) ซึ่งมี 2 ชนิด ชนิด ที่ 1 มีอาการน้อยจะปวดเฉพาะบรเิ วณเอ็นและกล้ามเนอื้ แขนและขา ชนิดที่ 2 อาการจะเป็นรุนแรงมากขึ้น โดย ฟองอากาศจะเขาไปอุดก้ันในเสนเลือดท่ีไปเลี้ยงส่วนสาคัญของร่างกาย เชน สมอง (ทาให้เกิดอัมภาตคร่ึงซีก หมดสติหรือชัก) ไขสันหลัง (ขาอ่อนแรง ชา) ระบบ vestibular (เวียนศีรษะคลื่นไสอาเจียน ตากระตุก) ระบบ กระดูก (เกดิ dysbaric osteonecrosis หรือ aseptic necrosis โดยเฉพาะบรเิ วณกระดูกข้อสะโพก) หวั ใจและ ระบบหายใจได้ ข. ความกดอากาศต่า เชน ขึ้นเขาข้ึนไปในอากาศสูงๆ ทาใหเกิด เน้ือเยื่อขาดออกซิเจน (Hypoxia), acute / chronic mountain sickness (คล่ืน ไสอ าเจียน อ่อ น แรง ห ายใจไม่ อิ่ม ไอ ), high altitude pulmonary edema, high-altitude cerebral edema (กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ เดินเซ ประสาทหลอน อัมพาต ชัก หมดสติ), retinal hemorrhage (ปริมาณเลือดท่ีเลี้ยงจอตาเพ่ิมข้ึนเนื่องจากหลอดเลือดขยายตัว เพราะการขาดออกซิเจน 2. สิง่ คุกคามด้านเคมี (Chemical Hazard) 2.1 อนุภาค (Particulate) อนภุ าคทมี่ เี สนผ่าศนู ยก์ ลาง aerodynamic เฉลีย่ 10 ไมครอน จะติดท่ีจมูกคอหอยและทางเดินหายใจสวนบน เรียก inhalable dust สวนอนุภาคที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง aerodynamic ต้ังแต 5 ไมครอนลงไปสามารถผานเขาถึงถุงลม (alveoli) ในปอดไดเรียกวา respirable dust โดยท่ัวไปคนจะมองเห็นอนุภาคขนาด 50 ไมครอนได้แต่ถ้าความเขม้ ขนของอนุภาคสูงมากก็สามารถมองเหน็ ได้ แมว้ าอนุภาคมีขนาดเล็กก็ตาม อนุภาคสามารถแบงตามรูปร่างลักษณะ 5 ดังนี้ ฝุน (dust) เกิดจากการบด ทุบ ตีกระแทก มีขนาด 0.1-100 ไมครอน เชน ฝุ่นซิลิกา (free crystalline silica) ทาใหเกดิ พงั ผดื จบั ปอด (pneumoconiosis) ซึง่ เรียกโรคตามช่ือของฝุ่นซลิ กิ าวาโรคซิลโิ คสสิ (silicosis) ฟูม (fume) เปน็ อนุภาคของแขง็ ท่ีเปล่ียนสถานะจากของแข็งท่หี ลอมเหลวกลายเป็นไอ แลว้ ควบแน่นกลบั มา เปน็ ของแข็งอีกครงั้ มีขนาดเสนผ่าศูนย์กลางนอยกวา 1 ไมครอน เชน ฟมู ตะกว่ั ออกไซดเม่ือเขาสปู่ อดจะถูกดูด ซมึ เขากระแสเลือดทาใหเกิดโรคพิษตะกริวได้ ควัน (smoke) มีขนาดนอยกวา 0.1 ไมครอน มีคารบอนเป็นองคประกอบ เชน ควันบุหรี่ควันทอไอเสีย รถยนต์ ละออง (mists) เป็นอนุภาคของเหลวขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน เกิดจากการควบแน่นของก๊าซไปก๊าซ ของเหลว หรอื การแตกตัวของของเหลวไปในภาวะท่ังฟุ้งกระจายได้ เชน ละอองสีละอองยาฆ่าแมลงละอองกรด ละอองนา้ มัน เสนใย (fiber) เชน เสนใยใยหิน (asbestos fiber) ทาใหเกดิ พังผืดจับปอด (pneumoconiosis) ซ่งึ เรียกโรค ตามชือ่ ของเสนใยเชน เสนใยแอสเบสทอสวาโรคแอสเบสโทสิส (asbestosis) 2.2 โลหะและสารประกอบโลหะเชน ตะกว่ั แมงกานีส สารหนูปรอท โครเมีย่ ม แคดเมยี ม ทาใหเกดิ พษิ โลหะนน้ั ๆ 2.3 ตวั ทาละลายและสารประกอบ เชน Acetone, Benzene, Formaldyhyde
2.4 แก สพิ ษ (Toxic gas) เชน Carbon monoxide, Hydrogen sulphide, Phosgene, Sulfur dioxide, Cyanide, Nitrogen oxide, Ammonia, Chlorine แก๊สกลุมน้ีมีพิษสูงสามารถทาใหเกิดการระคายเคืองเยื่อบุ นยั น์ตาและทาอนั ตรายตอปอดทาใหเกิดปอดอักเสบและปอดบวมได้ 3. ส่งิ คกุ คามด้านชีวภาพ (Biological Hazard) 3.1 Microbial pathogens3 แพ ทย์พ ยาบาล บุคลากรทางการแพ ทย์ พ นักงานหน่ วยกูภัยมีโอกาสสัมผัสเชื้อ Human Immunodeficiency Virus (HIV) ทีท่ าใหเกดิ โรคเอดส์ (AIDS) 3.2 Genetically modified organisms (GMOs) เปน็ การทางานเก่ียวขอ้ งกับสิ่งคุกคามด้านชีวภาพ เชน non- human adenovirus แตย่ งั ไม่ทราบการเกิดโทษในมนุษย์ 3.3 Animals and animal products เชน แมลงมีพิษ งูพิษ สัตวทดลอง (ทาให้เกิดโรค Q fever, Herpes B) เนื้อเย่อื จากสมองววั (prion protein ทาใหเกดิ mad cow disease) 3.4 Organic dusts and mists เชน ฝุนฝาย ปาน ปอและลินิน เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิดโรคบิสสิโนสิส (Byssinosis) สวนฝุ่นไม้ (Wood dust) ทาใหเกิดมะเร็งหลังโพรงจมูก(Nasopharyngeal carcinoma) พบ ความสมั พันธของการเกิดมะเรง็ กับการตดิ เชอ้ื Epstein-Barr virus 4. สงิ่ คกุ คามด้านการยศาสตร (Ergonomic Hazard) การยศาสตร เป็นศาสตร์ในการจัดสภาพงานใหเหมาะกบั คนทางาน ได้แก 4.1 ลักษณะการทางาน ได้แก่ การยกและการถือของหนัก (Lifting and handling) ท่าทางการทางานที่ไม่ เหมาะสม (Posture) การทางานช้าๆ (Repetitive work) 4.2 สถานทปี่ ฏิบตั งิ านคบั แคบทาใหเ้ คลอื่ นไหวรางกายสวนที่ใชงานไมสะดวก 4.3 เคร่ืองมอื (Mechanical) เคร่ืองจักร ทกี่ อใหเกิดภยนั ตรายได้แก่ สายพาน เพลา เกียร์ เลือ่ ยใบมดี เข็ม โรคของระบบกล้ามเนื้อและโครงสรางกระดูกจากการทางานมักเกดจากปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัยซ่ึง รวมถึงลักษณ ะการทางานและการทางาน ในท่ี แคบ เชน de Quervain’s tenosynovitis, chronic tenosynovitis of hand and wrist, olecranon bursitis, prepatella bursitis, medial and lateral epichondylitis, carpal tunnel syndrome, occupational low back pain 5. สิ่งคกุ คามด้านจติ วทิ ยาสงั คม (Psychosocial Hazard) ไดแก o ความเครยี ดและสภาวะกดดันสูง o งานกะหรอื งานผลัด (Shift work) o แรงงานยา้ ยถนิ่ หรอื แรงงานอพยพ แรงงานตา่ งถ่ิน o งานท่ีตองทาเปน็ เวลานาน o งานท่ตี องทาคนเดยี ว
o การเดินทางขา้ มเวลาทต่ี ่างกันมากกวา ๖ ชั่วโมง (Circadian rhythm) การใช้ตารางแมททรคิ ซ์ความเส่ยี ง (Risk Matrix) สถานประกอบกิจการขนาดเล็กๆ อาจไม่จ าเป็นตอ้ งใช้ตารางแมททริคซ์ความเสยี่ ง อยา่ งไรก็ตาม การ ใช้ตารางแมททรคิ ซค์ วามเสี่ยงเปน็ เครอ่ื งมือประเมนิ ระดบั ความเสี่ยงในประเด็นต่างๆ โดยการจาแนกโอกาสท่จี ะ เกิดอันตรายกบั ความรุนแรงของอันตราย จากน้ันใหพ้ ิจารณาผลการประเมินว่าอยใู่ นชอ่ งใดของตาราง หากอยู่ใน ช่องท่รี ะบุผลการประเมินว่าเสย่ี งมากท่ีสดุ ให้ความสาคัญในการจัดการความเสย่ี งเปน็ ลาดบั แรก ตารางแมททริคซ์ความเส่ียงมีประโยชน์ในการจัดล าดับการควบคุมความเสี่ยง โดยต้องอาศัยผู้มีประสบการณ์ และเช่ียวชาญในการพิจารณาโอกาสท่ีจะเกิดอันตราย ซึ่งถ้าพิจารณาผิดพลาดจะทาให้มาตรการควบคุมความ เสี่ยงผิดพลาดไปด้วย รูปแบบตารางแมททริคซ์ความเส่ียงไม่ได้กาหนดตายตัวมีความแตกต่างกันไปตามขนาด และประเภทของสถานประกอบกิจการ ในคู่มือเล่มน้ีใช้ตารางแมทริคซ์ 3x3 ซ่ึงสามารใช้งานในการประเมิน ระดับความเสยี่ งและจัดลาดับความสาคญั ของความเสี่ยงได้ง่ายเหมาะกับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและ ขนาดเลก็ ตวั อยา่ งตารางแมททรคิ ซค์ วามเสย่ี ง ตารางแมททริคซ์ความเสี่ยง 3x3 นี้บ่งบอกความเส่ียงจากทัศนคติผู้ประเมินและใช้เป็นพื้นฐานการ จดั ลาดบั ความเส่ียงท่ีต้องให้ความสาคญั กอ่ น ก) ความรนุ แรงของอันตราย แบง่ ลักษณะความรนุ แรงของอนั ตราย ออกเป็น 3 ระดบั ดังนี้ - รุนแรงเล็กน้อย หมายถึง การบาดเจ็บ หรือเจบ็ ป่วยในระดับเล็กน้อย ท่ีต้องมีการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น หรือ หยุดการท างานสั้นๆ หรอื หยุดงานไม่เกนิ 3 วนั - รนุ แรงปานกลาง หมายถงึ การบาดเจบ็ หรอื เจบ็ ปว่ ยในระดับกลาง ท่ีท าใหไ้ ม่สามารถทางานได้ช่ัวคราว (3 วัน ขน้ึ ไป) ซึ่งสามารถกลับคืนสู่สภาวะปกติได้ เช่น แขนหัก หรือ แตกหักเล็กนอ้ ย ผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยต้องหยุด งานระยะเวลานาน ลกู จ้างสามารถเรยี กรอ้ งคา่ ทดแทนเน่อื งจากการบาดเจบ็ หรือเจ็บป่วยได้
- รุนแรงมาก หมายถึงการบาดเจ็บ เจ็บป่วย เสียชีวติ ในระดับทรี่ ุนแรง ท าให้เกิดการบาดเจ็บ เจ็บป่วย ท่ีทาให้ เสยี ชวี ติ หรอื พิการถาวร การป่วยที่มลี ักษณะเน้ือตาย สญู เสยี การได้ยนิ ข) โอกาสท่ีจะเกดิ อนั ตราย แบง่ เป็น 3 ระดับ ดังนี้ - โอกาสน้อย หมายถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องการเกดิ อนั ตรายเปน็ ไปได้ยากทจ่ี ะเกดิ ขึ้นใน สถานการณป์ จั จุบนั - โอกาสปานกลาง หมายถึง ความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะเกิดการบาดเจ็บหรอื เจ็บป่วยในขณะทางาน - โอกาสมาก หมายถึง เกือบแนใ่ จว่ามีการเกิดบาดเจบ็ หรอื เจ็บป่วยจากการทางาน (เปน็ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขึน้ บอ่ ย) ค) การจัดลาดับความเสยี่ ง แบง่ เป็น 3 ระดับ โดยพิจารณาจากระดับของความรนุ แรงและระดับโอกาสท่ีจะเกิด อันตราย ดังนี้ - ความเส่ียงเล็กน้อย หมายถึง อาจมีการบาดเจ็บ เจ็บป่วยเล็กน้อย โอกาสทาให้เกิดอันตรายมีน้อย ส่วนความ รนุ แรงมีต้งั แตเ่ ล็กน้อยถึงปานกลาง - ความเส่ียงปานกลาง หมายถึง ความรุนแรงอาจเป็นเล็กน้อย ปานกลาง มาก ส่วนโอกาสที่จะเกิดอันตรายมี ตงั้ แตเ่ ลก็ น้อยถึงมาก - ความเส่ียงสูง หมายถงึ มีโอกาสปานกลาง หรือ มากทีจ่ ะท าให้เกิดความรนุ แรงของการบาดเจบ็ การเจ็บป่วย ในระดับปานกลาง หรือมาก
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: