Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการของแรง

หลักการของแรง

Published by sakol.budsadee2562, 2023-07-01 23:55:10

Description: หลักการของแรง

Search

Read the Text Version

วิชากลศาสตร์วิศวกรรม หลักการของแรงและโมเมนต์ของแรง Teacher Mr.Sakol Budsadee

โมเมนต์ของแรง (Moment of Force) โมเมนต์ของแรง หมายถึง ค่าของผลคูณระหว่างแรงกับระยะทางจากจุดหมุนจนถึง แนวแรงในแนวตั้งฉาก โดยที่ระยะทางจากจุดหมุนถึงแนวแรง เรียกว่า แขนของ โมเมนต์ (Moment Arm) ดังแสดงในรูปที่ 2.5 และเขียนเป็นสมการได้ดังนี้

โมเมนต์ของแรงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ตามลักษณะการเดินทางรอบจุดหมุน 1. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา (Clock Wise Moment) คือโมเมนต์ที่เกิดจากแรงซึ่ง เดินทางรอบจุดหมุนในทิศทางตามเข็มนาฬิกา คูณกับระยะทางจากจุดหมุนถึงแนว แรง โดยสามารถ สมมติเครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) ได้ตามความเหมาะสม และ ต้องสอดคล้องกับโมเมนต์ ทวนเข็มนาฬิกาด้วย 2. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา (Anti - Clock Wise Moment) คือโมเมนต์ที่เกิดจาก แรง ซึ่งเดินทางรอบจุดหมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา คูณกับระยะทางจากจุดหมุน จนถึงแนวแรง โดยสามารถสมมติเครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) ได้ต



ผลลัพธ์ของระบบแรง โดยทั่วไปแล้วการหาแรงในชิ้นส่วนของวัตถุต่าง ๆ มีวิธีการหาได้ 2 วิธีคือ 1. วิธีพีชคณิตหรือวิธีแตกแรง ซึ่งมีจุดเด่นคือ ได้ค่าซึ่งได้จา กการคํานวณค่อนข้าง ละเอียด แต่ก็มีกระบวนการในการคํานวณ ค่อนข้างยุ่งยาก 2. วิธีกราฟิก ซึ่งมีกระบวนการค่อนข้างสั้น แต่ค่าที่ได้จะมีค่าไม่ ละเอียดและไม่ถูกต้อง

2.5.1 หลักการหาแรงโดยวิธีพีชคณิต 1. การแตกแรง หมายถึง การแยกแรงที่มากระทําต่อวัตถุ ณ จุดใด ๆ ให้มาอยู่ใน แนวเดียวกัน อาจเป็นแนวแกน x หรือแนวแกน y ก็ได้ โดยมีหลัก การดังต่อไปนี้







แบบฝึกหัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook