CHEST DRAINAGE SYSTEM การระบายทรวงอกและการดูแล พว.ไกรศร จนั ทร์นฤมติ ร
INTERCOSTALS CHEST DRAINAGE [ ICD ] Pneumothorax Malignant pleural effusion Emphyema Traumatic hemopneumothorax Surgery
POSITION
AREA
COMPLICATION• 1. การฉกี ขาดของหลอดเลือด เชน่ Intercostal artery• 2. เนอื้ ปอดฉีกขาดเกิดลมรวั่ / เลอื ดออกมาก• 3. Diaphragm / internal organ ได้รับบาดเจ็บ• 4. Subcutaneous emphysema จาก ICD เลอ่ื นหลุด• 5. Infection
อปุ กรณก์ ารใส่ ICD
การดแู ลผปู้ ว่ ยใสท่ อ่ ระบายทรวงอก1. Observe respiration + Deep breathing exercise2. Observe : Subcutaneous emphysema3. Pain control4. Record : content , color, volume5. Observe : Active bleeding (500 ml ใน ชม.แรก และ > 200 ml./hr. 2-3 hr.ตอ่ มา Notify doctor )6. Fluctuation : Underwater seal
การดแู ลผปู้ ่วยใสท่ อ่ ระบายทรวงอก (ต่อ)7. วางขวด ICD ต่ากว่าตัวผปู้ ว่ ย 2-3 ฟตุ (สายยางความยาวพอดี)8. No obstruction : milking , striping9. สงั เกตการทา่ งานของเคร่อื ง suction10. Aseptic technique : เปลย่ี นขวดเมอ่ื content > 2/3 ขวด11. ห้าม clamp สาย ICD เพราะอาจเกดิ Tension pneumothorax
การดแู ลผปู้ ว่ ยใสท่ ่อระบายทรวงอก (ต่อ)12. Close system13. ขวด underwater seal แท่งแกว้ ตอ้ งจุ่มน่า้ 2-3 c.m.14. ถ้านา้่ ในขวดท่ี 2 ถกู ดูดกลับไปขวดท่ี 1 แสดงวา่ negative pressure สงู (แกไ้ ข้โดยการใชส้ ายยางท่ยี าวข้ัน)
การต่อขวด ICDขวด 1 : ขวด underwater seal • ขวดน้ีมีความส่าคัญที่สุด จ่าเป็นต้องมี เสมอไมว่ า่ จะตอ่ แบบใด • ประกอบด้วยหลอดแก้วสั้น 1 อันอยู่ เหนือระดับน่้า และหลอดแก้วยาวจุ่มในน้่าลึก 2-3 cm
ขวด 2 : ขวดเกบ็ สารเหลว • เป็นขวดเปล่าส่าหรับเก็บสารเหลวที่ออกมาจาก ตวั ผ้ปู ่วย • ประกอบด้วยหลอดแกว้ สน้ั 2 อนั • ขวดนี้ต่อเด่ียวๆ ไม่ได้เพราะไม่มี underwater seal
ขวด 3 : ขวดควบคมุ แรงดันลบ • ขวดนีถ้ า้ ไมใ่ ช้เครื่อง suction กไ็ มจ่ า่ เป็นตอ้ งมี • และใช้กรณีเครื่อง suction ไม่สามารถควบคุม ความดนั ได้ • ใช้ขวดแบบ 3 ตาท่ีมหี ลอดแก้วจุ่มใต้น่้า 10-20 cmH2O • หลอดอีก 2 อันเป็นหลอดแก้วสั้นอยู่เหนือ ระดบั น้่า
การเลอื กตอ่ ท่อระบายลงขวด เมอ่ื ไหรจ่ ะใชข้ วด 1 ใบ, 2 ใบ, 3 ใบ โดยทว่ั ไปตอ่ ลงขวด 1 ใบ (ขวด underwater seal) โดยใสน่ า่้ ใหท้ ว่ มหลอดแก้ว 2 cm เหมาะในกรณเี รง่ ด่วนและตอ้ งเคล่อื นยา้ ย ผู้ป่วยบ่อย ๆ และในกรณีทร่ี ะบายแต่ลม ซ่ึงปอดพองขยายตัวไดด้ ี
การเลือกต่อทอ่ ระบายลงขวด (ตอ่ )• ในกรณีลมรวั่ มากกว่าน้่า จะท่าใหเ้ กดิ ฟองคา้ งอยจู่ นเตม็ ขวดและ ทา่ ใหถ้ กู ดดู เขา้ ไปในเครื่อง suction ได้ จึงตอ่ ขวดดกั air และ fluid เพิ่มมาอกี ขวด เหมาะส่าหรบั การระบาย Fluid เชน่ เลือด clear effusion ตา่ ง ๆ
การเลือกต่อท่อระบายลงขวด (ต่อ)• ในกรณที ี่มแี ต่ suction ที่ต้ัง pressure ไม่ได้ สามารถ ควบคุม pressure ด้วยการเพิ่ม ขวดควบคุมความดันลบ กรณีที่สองชนดิ แรกระบายไมด่ ี ปอดไม่ค่อยขยาย
ขอ้ บ่งชี้ในการ OFF ICD• จากการ x –ray ไม่มลี ม เลอื ด หนอง หรือ fluid ใน pleural space• Lung expansion ดี• Serous fluid < 50-100 ml./day
การถอด ICD• อธบิ ายขน้ั ตอน ปิดแผลไว้ 3-5 วัน• เตรียม set dressing• Stitch off• Vaseline gauze ปดิ รอบแผล• ผูป้ ่วยหายใจเข้าจนสุดแล้วกลัน้ หายใจ• พยาบาลดึง ICD ออก• ปิดปากแผลด้วย Vaseline gauze
Thank you
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: