Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook1

ebook1

Published by Eakkachai Taopunya, 2019-09-13 10:05:02

Description: ebook1

Search

Read the Text Version

Innovation and Information Technology for Education นายเอกชัย ท้าวปัญญา รหสั นิสติ 61170870

11 step to organizing your manuscript ในการเขียนบทความวิชาการและบทความวิจัยเพ่ือตีพิมพ์ใน ระดับชาติและระดับนานาชาติมีข้ันตอนในการเขียนบทความที่ถูกต้องและ เหมาะสมอยู่ 11 ข้ันตอน ได้แก่ 1. Prepare the figures and tables. การเตรียมรูปภาพและตารางให้เหมาะสมกับงานของเราตาราง ต้องไม่มีเส้นตารางในแนวต้ังมากเกินไปเพ่ือให้ตารางที่มีน้ันดูสบายตาและ เหมาะสมส่วนรูปภาพหรือกราฟนั้นควรใช้สีขาวเทาในการตีพิมพ์ (กราฟสีไม่ เหมาะสาหรับงานวิจยั ) 2. Write the Methods. การเตรียมวิธีการต้องเหมาะสมรวมถึงสถานที่วิจัย รูปแบบการ สอบถาม สถิติทีใ่ ช้ 3. Write up the Results. การเขียนผลลัพธห์ รอื ผลการวิจยั ควรใชท้ ศนิยม 2 ตาแหน่งเพือ่ ให้ ผอู้ ่านเข้าใจง่าย 4. Write the Discussion. ผลงานวิจัยมีความหมายอย่างไร ซ่ึงเราให้ความสาคัญกับ ผลการวจิ ัยน้อยมาก และไมค่ อ่ ยเลือกงานวิจัยที่หมือนกัน

5. Write a clear Conclusion. การเขียนบทสรปุ ต้องชัดเจนเมอ่ื อ่านแล้วเข้าใจในเนอื้ หา ของงานวิจัย 6. Write a compelling introduction การเขียนบทนาต้องมีความน่าสนใจผู้อ่านอ่านแล้วต้อง ทราบว่ามีประโยชน์อย่างไรเม่อื เทยี บกับงานวิจัยผอู้ ื่น 7. Write the Abstract. การเขียนบทคัดย่อที่ดีไม่ควรมีคาแสลง คาย่อ และไม่ ควรเกิน 250 คา 8. Compose a concise and descriptive Title. การเขียนช่ือบทความต้องกระชับและมีความหมาย สามารถตอบโจทย์การวจิ ยั ได้ 9. Select Keywords for indexing. การเลือกคาสาคัญสาหรับการจัดทาดัชนี ต้องมีความ ถูกต้องเหมาะสม 10. Write the Acknowledgements. การเขียนกิตติกรรมประกาศควรขอบคณุ ผู้ทีส่ นับสนนุ ให้ เกดิ ความสาเร็จของงานวิจัย 11. Write up the References. การเขียนอ้างอิงให้ถูกต้องเหมาะสมตามรูปแบบของ บทความ 2-4 หน้า

Innovation A นวตั กรรม Innovation ความหมาย ของนวตั กรรม 3 การกระทาใหม่ ๆ หรอื การ พฒั นาดดั แปลงจากของเดมิ กรรม 2 การกระทา หรอื ส่ิงทที่ า ความคิดและการปฏบิ ตั ิ 1 นว หรือ นวตั ใหม่ Newness A องคป์ ระกอบของนวตั กรรม OPTION B Economic Benefits OPTION Knowledge and C Creativity Idea OPTION

Original คณุ ลักษณะ Apply ของนวัตกรรม Reuse ยังไม่เป็นสว่ นหนึ่งของระบบงานในปัจจุบนั แตเ่ ม่อื ไหรท่ ่ี “สิ่งใหม่” นัน้ ไดร้ บั การเผยแพรแ่ ละยอมรับจน กลายเป็นสว่ นหนงึ่ ของระบบงานทดี่ าเนนิ อยใู่ นปจั จบุ นั “สงิ่ ใหม่” น้ันจะเปล่ียนสภาพเปน็ “เทคโนโลยี” มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัย หรืออยู่ระหว่างการวิจัยว่า “ส่ิงใหม่” นั้น จะช่วยให้การแก้ปัญหา และ ดาเนนิ การบางอย่างมีประสิทธภิ าพสงู ข้นึ กวา่ เดิม เปน็ ความคดิ เหน็ หรือปฏบิ ตั ิการใหมอ่ ย่างแทจ้ ริง เป็นสง่ิ ท่ไี มม่ ีใครคน้ พบมากอ่ น ซึ่งนวตั กรรมประเภทนี้ จะถกู ต่อตา้ นอยู่เสมอ จะต้องเปน็ สงิ่ ใหมท่ ั้งหมด หรือบางสว่ นอาจเป็นของเกา่ ทใ่ี ชไ้ ม่ไดผ้ ลในอดีต แล้วนามาปรบั ปรงุ ให้ดขี น้ึ มีการจัดระบบข้ันตอนการดาเนินงานให้เหมาะสมก่อนท่ีจะทาการเปล่ียนแปลง โดยพิจารณาต้ังแต่ ขอ้ มูล กระบวนการ และผลลัพธ์

ลาดบั ขน้ั การเกดิ นวัตกรรม STEP STEP STEP STEP 01 02 03 04 แนวความคดิ ทดลอง ผลท่ไี ด้รบั ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ ทดสอบ ขนั้ การประเมนิ ผล ข้นั เกิดความสนใจ ข้ันทดลอง ขน้ั การรับรู้ ข้นั ตกลงใจยอมรบั กระบวนการ ยอมรับนวตั กรรม

Educational Innovation นวัตกรรมการศึกษา “การนาสิง่ ใหม่ หรือสิง่ ท่ีปรับปรุงจากของเดมิ มาใชเ้ พื่อแก้ปญั หาทางการศกึ ษา” นวตั กรรมด้านส่ือสารการสอน นวตั กรรมด้านวธิ กี ารจัดการเรียนการสอน B A นวัตกรรมด้านหลักสูตร C ประเภทของ นวัตกรรมการศึกษา นวตั กรรมด้านการวดั และการประเมนิ ผล D E นวตั กรรมด้านการบรหิ ารจัดการ

นวัตกรรม VS เทคโนโลยี นวตั กรรมและเทคโนโลยี นวัตกรรม เป็นเรื่องของการกระทาสงิ่ ใหม่ มักจะเขียนคู่กันเสมอ ซงึ่ อย่ใู นข้ันทดลอง ยังไม่เป็นทย่ี อมรบั ในสังคม ใช้รวมเปน็ คาเดียวคือ เทคโนโลยี เป็นเร่อื งของการนาเอาสิง่ ต่าง ๆ Innotech มาประยกุ ตใ์ ชอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ นวตั กรรม และ เทคโนโลยี การนาเอานวัตกรรมมาประยกุ ตใ์ ช้ มีความสัมพันธ์กนั อยา่ งใกลช้ ดิ เรยี กวา่ เปน็ เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยเี พื่อให้เกดิ ส่งิ ใหม่ เรยี กสิ่งใหม่ว่า นวตั กรรม

Educational Technology เทคโนโลยกี ารศึกษา “เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด วัสดุ อปุ กรณ์ และศาสตรท์ างการศึกษา มาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาทางการศึกษา ซึ่งเป็น กระบวนการที่ซับซอ้ น โดยแต่ละสว่ นของกระบวนการมีความเป็นบูรณาการไม่ได้แยกเป็น อิสระจากกนั ” B C AD แนวคิดทางเทคโนโลยกี ารศกึ ษา แนวคิดเชงิ วิทยาศาสตรแ์ ละกายภาพ หรือเทคโนโลยีทางการศึกษา (Technology in education) หรือเทคโนโลยีเชิงเคร่ืองมือ (Tools Technology) เน้นท่ีเครื่องมือหรือ อุปกรณ์ส่ือท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิวัติทางการส่ือสาร แล้วสามารถนามาใช้ประกอบการสอน ของครู แนวคิดเชงิ พฤติกรรมหรือเทคโนโลยีทางการศกึ ษา (Technology of education) หรือเทคโนโลยีเชิงระบบ (System technology)วสั ดุ + อปุ กรณ์ + วิธกี ารเนน้ เร่ืองการ ปฏบิ ตั ิงานทางการศึกษาดว้ ยวิธีระบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook