สารบญัเรอื่ ง หน้าบทบาทของการส่ือสารขอ้ มูลและเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 1-3การสอ่ื สารขอ้ มูล 4-9สื่อกลางในการส่ือสารขอ้ มูล 10-12เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 13-19โพรโทคอล 20-21อปุ กรณก์ ารสื่อสาร 22-25ตวั อยา่ งการตดิ ตัง้ แลนภายในบ้าน 26
1บทบาทของการสอื่ สารขอ้ มูลและเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ การตดิ ต่อส่ือสารเป็นการพูดคยุ หรือสง่ ข่าวกันของมนษุ ย์ซ่งึ อาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูดหรอื ผา่ นทางตวั อกั ษร โดยสว่ นใหญเ่ ป็นการส่อื สารในระยะใกล้ ต่อมาเมอื่เทคโนโลยกี ้าวหน้ามากขน้ึ มกี ารพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสส์ าหรับใช้ในการสอื่ สาร ทาใหส้ ามารถสอื่ สารได้ในระยะไกลและสะดวกรวดเร็วมากยง่ิ ขึ้น เชน่ โทรศัพท์ ลักษณะของเครอื ขา่ ยอาจเรมิ่ จากจุดเล็กๆ เชน่ ระหว่างอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์บนแผงวงจรเดยี วกนั ไปจนถงึ ระบบทท่ี างานรว่ มกันในหอ้ งทางานในอาคาร ระหวา่ งอาคาร ระหวา่ งสถาบันระหวา่ งเมอื ง ระหว่างประเทศ
2 ประโยชนก์ ารส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 1. ความสะดวกในการแบ่งปนั ขอ้ มูล ปจั จุบันมขี ้อมลู สง่ ผ่านเครือขา่ ยการสื่อสารไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และรวดเรว็ เชน่ การส่งขอ้ มูลผ่านเครือขา่ ยโทรศพั ทร์ ะบบ ดีเอ สแอล สง่ ขอ้ มูลจานวน 200หน้าไดใ้ นเวลานอ้ ยกว่า 10 วนิ าที 2. ความถูกตอ้ งของขอ้ มูล เปน็ การสง่ แบบดจิ ิทัล ซึ่งระบบการส่ือสารจะมกี ารตรวจสอบความ ถูกตอ้ งของขอ้ มูลที่สง่ และแกไ้ ขข้อมลู ท่ีผดิ พลาดให้ถูกตอ้ งได้โดย อตั โนมัติ ดังนน้ั การส่ือสารขอ้ มูลจึงมคี วามเชอ่ื ถือสูง 3. ความเร็วในการรับสง่ ข้อมูล ทาได้รวดเร็ว เน่อื งจากสญั ญาณทางไฟฟ้าเดินทางด้วยความเร็ว ใกล้เคียงความเรว็ แสง 4. การประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในการสอื่ สารขอ้ มูล ราคาถูกกว่าการสื่อสารแบบอ่ืน เชน่ การใชอ้ ีเมลสง่ ขอ้ งมลู หรอื เอกสารในรูปแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์จะมีคา่ ใชจ้ า่ ยต่ากวา่ และรวดเรว็ กว่า การส่งเอกสารแบบวิธอี นื่
35. ความสะดวกในการแบ่งปนั ทรัพยากรในองค์กรสามารถใช้อุปกรณ์สารสนเทศร่วมกนั ไดโ้ ดยไม่ต้องเสียคา่ ใชจ้ า่ ยตดิ ตั้งอปุ กรณใ์ หก้ ับทกุ เคร่อื ง เชน่ เครื่องพิมพ์ นอกจากนี้ยงั สามารถใหโ้ ปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้ โดยจดั เกบ็ โปรแกรมและขอ้ มูลเหลา่ น้นั ไวท้ แ่ี หลง่ เก็บข้อมูลที่เป็นศูนยก์ ลาง เชน่ เครอื่ งบรกิ ารไฟล์6. ความสะดวกในการประสารงานในองคก์ รท่ีมีหนว่ ยงานย่อยหลายแห่งทอี่ ยู่ห่างไกลกันสามารถทางานประสานกนั ผา่ นระบบอนิ เทอร์เน็ต เชน่ การประชมุ ทางไกล และการแก้ไขเอกสารรว่ มกนั ผา่ นระบบเครือขา่ ย7. ขยายบรกิ ารองคก์ รเครอื ข่ายคอมพิวเตอรท์ าใหอ้ งค์กรสามารถกระจายทาการไปตามจุดตา่ งๆ ทตี่ อ้ งการให้บรกิ าร เช่น ธนาคารทม่ี สี าขาทว่ั ประเทศสามารถถอนเงินได้จากตู้เอทเี อม็8. การสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครอื ข่ายการใหบ้ รกิ ารต่างๆ ผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ทาใหผ้ ูใ้ ช้สามารถเขา้ใชบ้ ริการไดท้ กุ ทที่ ุกเวลา เช่น การซื้อสนิ คา้ ผา่ นรา้ นค้าออนไลน์
4 การส่ือสารข้อมูล คือ การแลกเปล่ียนขอ้ มลู โดยผ่านทางส่ือกลางในการสอ่ื สาร องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของระบบสอื่ สารข้อมูล ประกอบดว้ ย 1.ขอ้ มูล/ขา่ วสาร (data/message) คอื ข้อมลู หรือสารสนเทศตา่ งๆ ทต่ี ้องการส่งไปยังผู้รบั อาจ ประกอบด้วยขอ้ ความ ตวั เลข รูปภาพ เสยี ง วดี ทิ ศั น์ หรอื สือ่ ประสม 2.ผูส้ ่ง (sender) คอื คนหรอื อุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับส่งขอ้ มูล เช่น คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ กลอ้ งวีดทิ ัศน์ เปน็ ตน้ 3.ผู้รับ (receiver) คอื คนหรอื อุปกรณ์ ทใี่ ช้สาหรบั รับข้อมลู เช่น โทรศพั ท์ เป็นต้น 4.สอ่ื กลางในการสง่ ขอ้ มูล (transmission media) คอื ส่งิ ท่ีทาหนา้ ที่รบั สง่ ข้อมูล/ข่าวสารไปยงั จุดหมายปลายทาง โดย สอ่ื กลางในการสง่ ข้อมูลจะมที ั้งแบบมสี าย เช่น สายเคเบลิ สายยูทีพี สายไฟเบอร์ออพตกิ และส่ือกลางในการส่งขอ้ มลู แบบไรส้ าย เช่น คล่นื วิทยุ ไมโครเวฟ และดาวเทยี ม 5.โพรโทคอล (protocol) คือ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ หรอื ข้อปฏิบัติต่างๆ ทีก่ าหนดขน้ึ มาเพอ่ื เป็น ข้อตกลงในการส่ือสารขอ้ มลู ระหว่างผู้รับและผูส้ ่ง
สัญญาณทใ่ี ชใ้ นการสือ่ สาร 5แบง่ ไดอ้ อกเป็น 2 ประเภทคอืสัญญาณแอนะลอ็ ก (analog signal) และสัญญาณดิจิทัล(digital signal) สญั ญาณแอนะล็อกและสญั ญาณดจิ ทิ ัลทมี่ ีขนาดแอมพลจิ ดู (amplitude) ท่เี ปลยี่ นแปลงตามเวลาและเป็นคา่ ตอ่ เนื่อง เชน่เสยี งพูด และเสยี งดนตรี ส่วนสัญญาณดิจิทลั เป็นสญั ญาณท่ไี ม่มคี วามตอ่ เน่อื งที่เรยี กว่า ดีสครีต (discrete) สัญญาณดจิ ิทลั ถูกแทนด้วยระดบั แรงดันไฟฟ้าสองระดบั เทา่ นนั้ โดยแสดงลักษณะเป็น “0” และ“1” ซงึ่ ตรงกบั ตวั เลขฐานสอง
6 การถา่ ยโอนขอ้ มูล ส่งสญั ญาณออกจากอปุ กรณ์ส่ง ไปยงั อุปกรณร์ บั จาแนกได้ 2 แบบคือ 1.การถ่ายโอนขอ้ มูลแบบขนาน ทาไดโ้ ดยการสง่ ขอ้ มูลออกมาทีละหลายบิตพรอ้ มกนั จาก อปุ กรณ์สง่ ไปยังอุปกรณร์ บั ผ่านส่อื กลางนาสญั ญาณท่มี ชี ่องทางส่ง ขอ้ มลู หลายชอ่ งทางโดยทั่วไปจะเป็นสายนาสญั ญาณหลายๆ เส้นทม่ี ี จานวนสายสง่ สัญญาณเทา่ กบั จานวนบิตที่ตอ้ งการส่งในแตล่ ะคร้งั เช่น สง่ ข้อมูล 11110001 ออกไปพร้อมกัน สายส่งก็มี 8 เส้น นอกจากการส่งขอ้ มูลหลักทีต่ ้องการแล้ว อาจมกี ารส่งข้อมูลอื่น เพม่ิ เตมิ ไปด้วย เชน่ บติ พารติ ี (Parity bit) ใช้ในการตรวจสอบ ความผิดพลาดของการรับสญั ญาณที่ปลายทาง หรือสายทคี่ วบคมุ การ ตอบโต้ เพ่อื ควบคุมจงั หวะของการรับ-ส่งข้อมูลแต่ละชุด
72.การถา่ ยโอนข้อมูลแบบอนุกรม ในการถา่ ยโอนข้อมูลแบบอนกุ รม ข้อมลู จะถูกส่งออกมาทีละบติ ระหวา่ งจดุ ส่งและจุดรับ การถา่ ยโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการสอ่ื กลางสาหรับการสอ่ื สารเพยี งช่องเดยี วหรือคู่สายเดียว ค่าใช้จา่ ยในดา้ นของสายสัญญาณจะถูกกวา่ ขนานสาหรบั การส่งระยะทางไกลๆการถา่ ยโอนขอ้ มูลแบบอนุกรมจะเรม่ิ โดยข้อมูลแตล่ ะชุดจะถูกเปลีย่ นใหเ้ ป็นอนกุ รมแล้วทยอยส่งออกทลี ะบติ ไปยังจุดรับ จดุ รับจะต้องมีกลไกในการเปลย่ี นแปลงข้อมูลท่ีรับมาทีละบติ ใหเ้ ป็นชุดของข้อมูลที่ลงตวั พอดีกับขนาดของช่องทางการสือ่ สารทใี่ ชใ้ นคอมพิวเตอร์
8 รูปแบบการรบั -สง่ ขอ้ มูล ไมว่ า่ จะเป็นการรับ-ส่งขอ้ มูลแบบขนานหรืออนุกรมสามารถแบ่งได้ 3 แบบดงั นี้ 1.การสื่อสารทางเดียว ( simplex transmission ) ขอ้ มลู สามารถส่งไดท้ างเดียว โดยแต่ละฝา่ ยจะทาหน้าทีอ่ ย่างใดอยา่ งหนึง่ เช่น เปน็ ผู้รบั หรอื ผูส้ ง่ บางคร้ังเรียกการส่ือสารแบบนว้ี ่าการสง่ ทศิ ทางเดยี ว ( unidirectional transmission ) เช่น การกระจายเสยี งของ สถานีโทรทัศนห์ รอื วทิ ยุ 2.การส่อื สารสองทางคร่งึ อตั รา ( half duplex transmission ) สามารถส่งขอ้ มูลไดท้ ง้ั สองฝา่ ย แต่จะตอ้ งผลัดกันส่งและผลัดกนั รบั จะส่งและรบั พรอ้ มกัน ไมไ่ ด้ เช่น วทิ ยุส่อื สาร( walkie-talkie radio )
93.การส่ือสารสองทางเต็มอัตรา ( full duplex transmission ) สามารถส่งข้อมลู ไดส้ องทางโดยที่ผู้รบั และผูส้ ง่ สามารถรับส่งขอ้ มูลไดใ้ นเวลาเดียวกัน เช่นการสนทนาทางโทรศพั ท์คูส่ นทนาคุยโต้ตอบไดใ้ นเวลาเดยี วกัน
10 ส่ือกลางในการสือ่ สารข้อมูล ตวั กลางหรือสายเชื่อมโยง เปน็ สว่ นทท่ี าให้เกดิ การเชือ่ มต่อ ระหว่างอปุ กรณต์ า่ งๆ เขา้ ด้วยกนั และอปุ กรณ์ทยี่ อมใหข้ ่าวสารข้อมูล เดนิ ทางผา่ นจากผู้ส่งไปสู่ผู้รบั ส่อื กลางทใ่ี ชใ้ นการสื่อสารขอ้ มูลมอี ยู่ หลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกตา่ งกันในดา้ นของปริมาณ ข้อมูลที่สือ่ กลางน้ันๆ สามารถนาผา่ นไปได้ในเวลาขณะใดขณะหน่ึง การวดั ปรมิ าณหรือความจใุ นการนาข้อมูลหรอื ท่ีเรยี กกันว่า แบนดว์ ิดธ์ (bandwidth) มหี นว่ ยเป็นจานวน บติ ขอ้ มลู ต่อวินาที (bits per second : bps) ลกั ษณะของตัวกลางต่างๆ มีดงั ต่อไปนี้ สอื่ กลางแบบใชส้ าย 1) สายคู่บดิ เกลยี ว (twisted pair cable) สายนาสญั ญาณแบบน้ี แต่ละคู่สายทสี่ ายที่เป็นสายทองแดงจะถูกพันบดิ เป้นเกลยี ว
112) สายโคแอกซ์ (coaxial cable) เป็นสายนาสัญญาณท่ีเรารู้จกั กนั ดีโดยใช้เปน็ สายนาสญั ญาณทีต่ อ่ จากเสาอากาศเคร่ืองรับโทรทศั น์หรอืสายเคเบลิ ทีวี3) สายไฟเบอร์ออพตกิ (fiber-optic cable) ประกอบดว้ ยกลุ่มของเสน้ ใยทามาจากแกว้
12 สื่อกลางแบบไรส้ าย 1) อินฟราเรด ส่อื กลางนี้มกั ใชก้ บั การสอ่ื สารข้อมลู ที่ไม่มีสง่ิ กีดขวาง ระหว่างตัวส่งและตวั รบั สญั ญาณ เชน่ การส่งสญั ญาณจากรโี มต คอนโทรลไปยงั เคร่ืองรบั โทรศัพท์ 2) ไมโครเวฟ เป็นสอื่ กลางในการสอ่ื สารที่มีความเร็วสูง ใชส้ าหรบั การเชื่อมต่อระยะไกลโดยการส่งสญั ญาณคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าไป ในอากาศพร้อมกบั ข้อมลู ทต่ี ้องการสง่ แต่ละสถานีจะตง้ั อยูใ่ นที่ สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดเขา 3) คล่ืนวทิ ยุ เป็นสอื่ กลางทใ่ี ช้ส่งสญั ญาณไปในอากาศ โดยสามารถ สง่ ในระยะทางได้ทั้งใกลแ้ ละไกล โดยมีตวั กระจายสัญญาณ (broadcast) สง่ ไปยังตวั รับสัญญาณ และใชค้ ลืน่ วทิ ยุในชว่ ง ความถตี่ า่ งๆ กันในการส่งขอ้ มูล เช่น การสื่อสารระยะไกลใน การกระจายเสยี งวทิ ยรุ ะบบเอเอ็ม 4) ดาวเทียมสอ่ื สาร พฒั นาขนึ้ มาเพอื่ หลีกเลยี่ งข้อจากัดของสถานี รักส่งไมโครเวฟบนผวิ โลกโดนเป็นสถานรี บั ส่งสัญญาณไมโครเวฟ บนอวกาศ ในการส่งสญั ญาณตอ้ งมสี ถานีภาคพืน้ ดินคอยทาหน้าที่ รบั และส่งสญั ญาณข้ึนไปบนดาวเทยี มทโี่ คจรอยูส่ ูงจากพนื้ โลก ประมาณ 35,600 กิโลเมตร
เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 131) เครือข่ายส่วนบุคคล หรอื แพน ( Personal Area Network: PAN )เปน็ เครือขา่ ยที่ใชส้ ว่ นบคุ คล เช่น การเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอร์กับโทรศพั ทม์ อื ถอื การเช่ือมต่อพดี ีเอกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ซึ่งการเช่อื มตอ่ แบบนจี้ ะอยู่ในระยะใกล้ และมีการเช่อื มต่อแบบไร้สาย2) เครือข่ายเฉพาะท่ี หรือแลน ( Local Area Network: LAN ) เป็นเครือข่ายทีใ่ ช้ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตา่ งๆ ท่อี ยู่ในพืน้ ท่ีเดียวกัน เช่น ภายในบ้าน ภายในสานักงาน อาจเรียกเครือข่ายที่พกั อาศยั ( home network ) ซ่งึ อาจใชก้ ารเช่อื มตอ่ แบบใช้สายหรือไร้สาย
14 3) เครอื ข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN) เปน็ เครอื ข่ายทีใ่ ช้เช่ือมโยงแลนท่ีอยูห่ ่างไกลออกไป เช่น การ เชอ่ื มต่อเครอื ข่ายระหวา่ งสานกั งานท่อี าจอยูค่ นละอาคารและมีระยะ ทางไกลกัน การเชือ่ มตอ่ เครือข่ายชนิดนีอ้ าจใชส้ ายไฟเบอรอ์ อพติก หรือบางครง้ั อาจใชไ้ มโครเวฟเช่ือมต่อ ใชใ้ นสถานศกึ ษามีชอ่ื เรยี กอกี อย่างว่าเครอื ขา่ ยแคมปัส ( Campus Area Network: CAN ) 4) เครือข่ายวงกว้าง หรอื แวน (Wide Area Network: WAN) เปน็ เครือขา่ ยท่ีใชใ้ นการเชือ่ มโยงกบั เครือขา่ ยอน่ื ท่อี ยูไ่ กลกันมาก เช่น เครอื ข่ายระหว่างจังหวดั หรอื ระหวา่ งภาครวมไปถึงเครือขายระหวา่ ง ประเทศ
ลักษณะของเครอื ข่าย 15 ในการใชง้ านเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เพ่อื ใช้ทรพั ยากรร่วมกนั สามารถแงลกั ษณะของเครือข่ายตามบทบาทของเครือ่ งคอมพิวเตอรใ์ นการสือ่ สารได้ ดงั นี้1) เครอื ข่ายแบบรับ-ให้บรกิ าร หรือไคลเอนท์/เซริ ฟ์ เวอร์ (client-server network) จะมีเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ่ีเปน็ เครื่องใหบ้ รกิ ารต่างๆเช่น บริการเวบ็ และบริการฐานขอ้ มูล การให้บรกิ ารข้ึนกบั การรอ้ งขอบริการจากเครื่องรบั บริการ เช่น การเปดิ เว็บเพจ เครือ่ งรับบรกิ ารจะรอ้ งขอบริการไปท่ีเครอ่ื งบรกิ ารเว็บ จากนั้นเครื่องใหบ้ รกิ ารเวบ็ จะตอบรับและสง่ ข้อมูลกลับมาใหเ้ คร่ืองรับบริการ ข้อดีของระบบน้ีคือสามารถใหบ้ ริการแกเ่ คร่ืองรบั บรกิ ารไดเ้ ป็นจานวนมาก ขอ้ ดอ้ ยคอื ระบบนี้มีคา่ ใช้จ่ายในการติดตัง้ และการบารุงรกั ษาค่อนข้างสูง
16 2) เครอื ขา่ ยระดบั เดียวกัน Peer- to-Peer network: P2P network เครอื่ งคอมพวิ เตอรส์ ามารถเป็นได้ท้งั เครือ่ งให้บรกิ ารและเครอื่ งรับ บรกิ ารในขณะเดยี วกัน การใช้งานส่วนใหญ่มกั ใช้ในการแบง่ ปันข้อมูล เช่น เพลง ภาพยนตร์ โปรแกรม และเกม เครือข่ายแบบนเ้ี ริ่ม แพร่หลายมากข้นึ ในผูใ้ ช้งานอนิ เทอร์เน็ตการใช้งานจะมีซอฟตแ์ วร์ เฉพาะ เชน่ โปรแกรม eDonkey, Bit-torrent LimeWire ข้อดีของ ระบบแบบน้ีคอื ง่ายต่อการใช้งาน และราคาไม่แพง ขอ้ ด้อยคอื ไม่มีการ ควบคมุ เรอ่ื งความปลอดภยั จงึ อาจพบวา่ ถกู นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นทางไม่ ถูกต้อง เชน่ การแบ่งปันเพลง ภาพยนตร์ และโปรแกรมท่มี ีลขิ สทิ ธิ์ ซงึ่ เป็นการกระทาผิดกฎหมาย
รูปรา่ งเครอื ขา่ ย 17 การเชือ่ มตอ่ คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณร์ ับสง่ ข้อมูลท่ีประกอบกันเป็นเครือขา่ ยทมี่ ีการเช่อื มโยงถึงกนั ในรูปแบบต่างๆ ตามลกั ษณะทางกายภาพทีเ่ รยี กวา่ รูปร่างเครอื ขา่ ย ( network topology )โดยทัว่ ไปรูปรา่ งเครอื ข่ายสามารถแบง่ ออกตามลกั ษณะของการเชอ่ื มต่อได้ 4 รูปแบบคอื1) เครอื ข่ายแบบบสั ( bus topology )เปน็ รูปแบบทม่ี โี ครงสรา้ งไมย่ ุ่งยาก สถานีทกุ สถานใี นเครอื ขา่ ยจะเช่ือมตอ่ เขา้ กับสายสอ่ื สารหลักเพียงสายเดียวทเ่ี รียกว่า บัส (bus)การจัดส่งขอ้ มูลลงบนบัสจงึ ไปถึงทุกสถานีได้ ซง่ึ การจดั ส่งวธิ ีนี้ตอ้ งกาหนดวิธีการท่ีจะไมใ่ ห้ทุกสถานีส่งขอ้ มูลพร้อมกันเพราะจะทาใหเ้ กิดการชนกนั (collison) ของขอ้ มูล โดยวิธีการที่ใชอ้ าจเปน็ การแบ่งชว่ งเวลาหรือให้แตล่ ะสถานใี ช้คลื่นความถ่ีในการสง่ สัญญาณที่แตกตา่ งกนั อยา่ งไรก็ตามเครือข่ายแบบบัส ไมไ่ ด้รับความนยิ มในปจั จุบันเนอื่ งจากความเสยี หายทีเ่ กดิ ข้นึ กับบสั เพียงจดุ เดยี วกจ็ ะส่งผลใหท้ กุอปุ กรณ์ไมส่ ามารถสอื่ สารถึงกันไดเ้ ลย รูปร่างเครือข่ายแบบบสั รูปรา่ งเครือข่ายแบบบสั
18 2) เครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology) เป็นการเชื่อมแตล่ ะ สถานีเข้าด้วยกนั แบบวงแหวน สญั ญาณขอ้ มูลจะสง่ อยูใ่ นวงแหวนไป ในทศิ ทางเดียวกันจนถงึ ผ้รู บั หากข้อมูลทสี่ ง่ เป็นของสถานใี ด สถานี น้นั ก็รบั ไว้ ถ้าไมใ่ ชก่ ็สง่ ต่อไป ซึง่ ระบบเครอื ข่ายแบบวงแหวนน้ี สามารถรองรับจานวนสถานไี ดเ้ ป็นจานวนมาก ข้อด้อยของเครือข่าย แบบวงแหวน คอื สถานีจะต้องรอจนถงึ รอบของตนเอง กอ่ นทีจ่ ะ สามารถส่งขอ้ มูลได้ รูปร่างเครือขา่ ยแบบวงแหวน เครือขา่ ยแบบวงแหวน 3) เครือข่ายแบบดาว (star topology) เป็นการเช่ือมต่อสถานใี น เครือข่าย โดยทุกสถานีจะตอ่ เข้ากบั หน่วยสลบั สายกลาง เช่น ฮบั (hub) หรือสวติ ซ์ (switch) ซงึ่ ทาหนา้ ที่เปน็ ศูนย์กลางของการ เชื่อมตอ่ ระหวา่ งสถานีต่างๆ ทีต่ อ้ งการติดต่อกัน ของดีของการเช่ือมตอ่ แบบดาว คอื ถา้ สถานใี ดเสีย หรือสายเชอ่ื มต่อระหวา่ งฮบั /สวิตซ์กบั สถานใี ดชารุด กจ็ ะไมก่ ระทบกับการเชอื่ มต่อของสถานอี ื่น ดังนนั้ การ เชื่อมต่อแบบนี้จงึ เปน็ ท่นี ยิ มใช้กันในปจั จุบัน รูปรา่ งเครือข่ายแบบดาว
19 เครอื ขา่ ยแบบดาว4) เครือขา่ ยแบบเมช (mesh topology) เปน็ รูปแบบของการเช่อื มตอ่ทีม่ คี วามนิยมมากและมีประสิทธภิ าพสูงเนอื่ งจากถา้ มเี สน้ ทางของการเชอื่ มตอ่ คู่ใดคูห่ น่งึ ขาดจากกัน การติดต่อส่ือสารระหว่างคู่นั้นยงั สามารถติดตอ่ ได้โดยอปุ กรณจ์ ัดเสน้ ทาง (router) จะทาการเช่อื มต่อเส้นทางใหม่ไปยังจุดหมายปลายทางอตั โนมัติ การเชอื่ มต่อแบบนมี้ กั นยิ มสรา้ งบนเครือข่ายแบบไรส้ าย รปู ร่างเครือข่ายแบบแมช เครอื ขา่ ยแบบเมช
20
21
22
23
24
25
26
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: