ใบความรู้เร่ือง หนงั สืออ้างองิ
ใบความรู้เร่อื ง หนังสืออา้ งอิง หนังสืออ้างอิง (References Books) หมายถึง สิ่งพิมพ์ หรือสิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือค้นหาข้อเท็จจริงพื้นฐาน และเฉพาะด้าน อย่างรวดเร็ว เช่น จัดทำเกี่ยวกับบุคคล คืออักขรานุกรมชีวประวัติ การจัดทำ เก่ยี วกบั คำ คือ พจนานกุ รม เปน็ ตน้ ลักษณะพิเศษของหนังสืออ้างอิง คือจะมีสัญลักษณ์ อ (ย่อมาจากคำว่า อ้างอิง) หรือ Ref (ย่อมาจากคำว่า Reference) หนังสืออา้ งองิ มีความสำคัญต่อ ผู้ใช้ห้องสมุด เพราะเปน็ หนังสือทีช่ ่วยใหผ้ ู้ใช้ค้นหาเรื่องราวที่ต้องการได้สะดวก หรือหนังสือที่รวบรวมสารสนเทศ หรือความรู้เกี่ยวกบั เรือ่ งราวตา่ งๆ สำหรับใช้ ค้นคว้าอา้ งอิงเพียงตอนใดตอนหนงึ่ เท่านนั้ ไม่ใชห่ นงั สือท่ตี อ้ งอา่ นทง้ั เล่ม ประโยชนห์ นงั สืออา้ งองิ หนังสืออ้างอิงเป็นแหล่งข้อมูลที่มีความสำคัญที่ให้ความรู้อันเป็นพื้นฐาน ครอบคลมุ ศาสตร์ทุกแขนงวชิ า จนอาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ หนังสอื สารพัดประโยชน์ ผ้ใู ช้สามารถหาคำตอบทุกเรือ่ ง (All about anything) จากหนงั สอื อา้ งองิ ๑. เปน็ เคร่ืองมือช้ีแหล่งจัดเกบ็ ทรัพยากรสารสนเทศ ๒. เพอ่ื หาความร้ใู นระดับพน้ื ฐาน ๓. เพื่อหาคำตอบเรอ่ื งเฉพาะเจาะจง 1
ตารางสรุปประโยชน์ของหนังสืออา้ งองิ ขอ้ คำถาม หนังสืออา้ งองิ ท่ีใชค้ ้น ใคร อักขรานกุ รมชีวประวตั แิ ละนามานกุ รม อะไร สารานกุ รม, ดรรชนี และพจนานกุ รม หนังสือแผนท,ี่ ประวตั ิศาสตร์, สมพัตรสรและหนังสอื รายปี เมอ่ื ไหร่ ทำไม ตำราและหนังสอื เพื่อการค้น อยา่ งไร หนงั สือคู่มอื ทไ่ี หน หนงั สอื แผนที่และอักขรานุกรมภูมศิ าสตร์ 2
ลกั ษณะของหนังสอื อา้ งอิง หนังสอื อ้างอิงโดยท่ัวไปจะประกอบไปดว้ ยลักษณะทส่ี ำคัญๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. รวบรวมความร้หู ลายประเภทไวด้ ว้ ยกนั โดยมจี ุดมุง่ หมายท่ีสำคญั เพอ่ื ให้ ความรู้ และข้อเท็จจรงิ กับผ้ใู ช้ 2. มขี อบเขตกวา้ งขวาง ครอบคลุมเนอ้ื หาในทกุ แขนงวชิ า 3. เขยี นโดยผทู้ รงคณุ วุฒทิ มี่ คี วามรู้ ความเช่ียวชาญในเร่ืองทเี่ ขยี นอยา่ ง แทจ้ ริง 4. มีรายละเอียดของเรื่องราวต่างๆ อย่างกว้างๆ นับเป็นแหล่งความรู้ พนื้ ฐานหรือเป็นแหล่งเรม่ิ ตน้ ของการศึกษาค้นคว้าตอ่ ไป 5. มีวิธีการเขียนเรื่องราวให้กระชับ และจบในตัวเองทุกเร่ืองผู้ใช้สามารถ เลอื กอา่ เฉพาะเร่ืองทต่ี อ้ งการไดโ้ ดยไมต่ ้องอ่านทงั้ เลม่ 6. มีวิธีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเปน็ ระบบ เพื่อให้ผูอ้ ่านสามารถใชค้ น้ หา เรอื่ งราวทตี่ อ้ งการไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ 7. มกั จะมขี นาดแตกต่างจากหนังสอื ทว่ั ไป อาจมขี นาดใหญ่กว่า หรือหนา กว่าหนังสือธรรมดา หรืออาจจะเป็นหนงั สือชุด 8. เปน็ หนงั สอื ทท่ี างหอ้ งสมดุ จัดไวเ้ พอ่ื ให้ผู้ใช้ค้นควา้ ในหอ้ งสมุดเท่านั้น 3
ประเภทหนังสอื อ้างอิง หนงั สอื อ้างอิง แบ่งเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. หนงั สืออ้างองิ ทใี่ ห้คำตอบไดโ้ ดยตรง สามารถตอบคำถามไดท้ นั ที ไดแ้ ก่ 1.1พจนานุกรม หมายถึง หนังสือว่าด้วยถ้อยคำในภาษาใดภาษาหน่ึง เรียงตามลำดบั ตัวอักษร โดยทัว่ ไปจะบอกความหมายและที่มาของคำ พจนานุกรมฉบับแรกเกิดขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ราวปีพ.ศ. 2207-2236 (ค.ศ.1664-1689) เป็นพจนานุกรมสองภาษา คือ ฝรั่งเศส-ไทย และไทย-ฝรั่งเศส จัดทำโดย สังฆราชหลุยส์ ลาโน บาทหลวงชาวฝรั่งเศส และฉบับปัจจุบันคือ พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 คณะกรรมการชำระพจนานุกรมแห่ง ราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นราชบัณฑิตยสภา)เป็นผู้จัดทำ โดยได้แก้ไขปรับปรุงเนื้อหาจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 4
ในปัจจุบันทางสำนกั งานราชบัณฑติ ยสภาไดจ้ ัดทำเว็บไซต์ในการสืบคน้ คำศัพท์แบบออนไลนข์ ้ึนทำให้การค้นหาง่ายมากข้ึน https://dictionary.orst.go.th/index.php 1) เปดิ เว็บไซต์ พมิ คำค้นทต่ี อ้ งการในชอ่ งคำคน้ ทัว่ ไป 2) กดค้นหา ดผู ลคน้ เพอื่ อ่านความหมายของคำ 5
6
1.2สารานุกรม หมายถงึ หนังสอื ทรี่ วบรวมความรใู้ นแขนงวิชาต่างๆเขยี น โดยผชู้ ำนาญในแตล่ ะสาขาวชิ า จดั เรียงเนอื้ หาตามลำดับอกั ษรหรอื แบง่ เปน็ หมวดหมู่วิชามดี ัชนชี ่วยคน้ อยา่ งละเอยี ด สารานกุ รมอาจมี เล่มเดยี วจบหรือหลายเลม่ จบเรยี กวา่ หนงั สอื ชดุ และมีภาพประกอบ เช่น สารานกุ รมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ ฉบับ เสรมิ การเรียนรู้ สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ เปน็ ต้น ภาพหนงั สือสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน 7
หนังสอื สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน สารานุกรม แบ่งเปน็ ๒ ประเภท คือ ๑. สารานุกรมท่วั ไป คือสารานกุ รมทรี่ วบรวมความรูเ้ บื้องต้นในสาขาวิชา ต่างๆ เช่น สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน สารานุกรมไทย สำหรับเยาวชนฯสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฉบับเสริมการเรียนรู้ เปน็ ต้น ๒. สารานกุ รมเฉพาะวิชา คือสารานุกรมทม่ี ่งุ ให้ความร้ใู นวิชาใดวิชาหน่ึง อย่างละเอียดลึกซึ้งกว่าสารานุกรมทั่วไป เช่น สารานุกรมปรัชญา สารานุกรมศัพท์ทางรัฐศาสตร์ สารานุกรมวรรณคดี สารานุกรม วิทยาศาสตร์ เปน็ ต้น ประโยชน์ของสารานุกรม 1. ใชเ้ ปน็ แหลง่ ขอ้ มูลค้นหาคำตอบเกี่ยวกบั ข้อเทจ็ จริงได้ทกุ ๆ แขนงวชิ า 2. ข้อเท็จจริงในหนังสือสารานุกรมเชื่อถือได้ เพราะเป็นหนังสือที่เขียนโดย ผทู้ รงคุณวฒุ ิในสาขาวชิ าน้นั ๆ 3. ใช้เป็นแหล่งศึกษาพื้นฐานความรู้ในเชิงประวัติความเป็นมา และวิวัฒนาการ ของศาสตร์ในสาขาตา่ ง ๆ 4. ได้ความรู้ทท่ี ันสมัยเพราะมีการปรบั ปรงุ เนอื้ หาทกุ ๆ ปี 5. ผู้ใชส้ ามารถคน้ หาคำตอบได้สะดวกและรวดเรว็ เพราะมีเครื่องมือชว่ ยค้น คือ ดรรชนี (Index) 6. ผใู้ ชส้ ามารถศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง เพราะมกี ารจัดเรยี งลำดับเนื้อเรอื่ ง อย่าง มรี ะเบียบ 7. ใชเ้ ปน็ ค่มู ือของบรรณารกั ษใ์ นการบรกิ ารตอบคำถามไดเ้ ปน็ อย่างดี 8
วธิ ีการใช้สารานุกรม หลักในการใชส้ ารานุกรม มีดงั ต่อไปนี้ 1. พจิ ารณาดวู ่าเรอ่ื งท่ตี อ้ งการเป็นความรู้พนื้ ฐาน หรอื ความรเู้ ปน็ เร่อื ง เฉพาะวชิ า 2. เลือกใช้สารานุกรมใหถ้ กู กับเรอ่ื งทีต่ อ้ งการ เชน่ 2.1 ความรูพ้ ้นื ฐานงา่ ยๆ สั้นๆ ใชส้ ารานกุ รมทว่ั ไปสำหรบั เยาวชน 2.2 ความรพู้ นื้ ฐานอยา่ งละเอยี ดใชส้ ารานกุ รมทว่ั ไปสำหรบั ผู้ใหญ่ 2.3 ความรู้เฉพาะวิชา ให้เลือกใช้สารานุกรมเฉพาะวิชา ซึ่งแบ่ง ออกเปน็ สาขาวิชาต่าง ๆ 3. สำหรบั การใชห้ นงั สือสารานกุ รมไทยมี 2 แบบ 1) สามารถเปดิ อา่ นจากตวั เลม่ โดยดหู วั ขอ้ จากสารบญั และดรรชนี 2) อ่านจากอบี ุ๊ค-สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ รวมเลม่ ซ่ึงจดั ทำ โดยมลู นิธโิ ครงการสารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน https://saranukromthai.or.th/ebooks/?page_id=15 9
หน้าจอเว็บไซต์ หน้าจอมอื ถอื 10
วิธีการใชเ้ ว็บไซต์สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน 1) เข้าสู่เว็บไซต์สารานุกรมไทย ออนไลน์https://www.saranukromthai.or.th/sub/other_s ub.php?file=encyclopedia/saranugrom.htm 2) เลอื กเล่มที่ต้องการอ่าน 3) เลอื กดหู ัวขอ้ ท่ตี อ้ งการอา่ นแลว้ เลือกอ่านตามหัวขอ้ ที่สนใจ 4) ผูอ้ า่ นสามารถเลือกระดบั การอา่ น สำหรบั เดก็ เลก็ เดก็ กลาง เดก็ โตและบุคคลทัว่ ไปได้ เพือ่ ใหเ้ นือ้ หาเหมาะสมกบั ระดบั การ อา่ นของผอู้ ่าน เลือกเลม่ ทต่ี อ้ งการ 11
เน้อื หาจากเลม่ 40 เลอื กอา่ นจากสารบญั /คน้ หาจากชอ่ งสืบคน้ ได้ 12
1.3 อักขรานกุ รมชีวประวตั ิ เป็นหนงั สือท่ีใหข้ อ้ เทจ็ จริงเกย่ี วกบั บุคคลอยา่ ง สั้นๆ หรือในลักษณะบทความ นิยมจัดเรียงตามลำดับอักษรชื่อบุคคล เหมือน พจนานกุ รม อักขรานกุ รมชีวประวตั มิ หี ลายประเภท ไดแ้ ก่ 1) อกั ขรานกุ รมชีวประวัตบิ คุ คลท่วั ไป ให้ขอ้ เท็จจริงเกีย่ วกบั บุคคลโดยไม่ จำกดั เชอ้ื ชาติ ยุคสมัย และอาชพี อยา่ งสนั้ ๆ 2) อักขรานุกรมชีวประวัติของบุคคลในชาติหนึ่ง หรือท้องถิ่นหนึ่งจะให้ ข้อเท็จจรงิ เกี่ยวกับบุคคลในทอ้ งถิน่ ใดท้องถิ่นหนึ่ง โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ยุคสมยั และอาชีพอย่างสั้นๆ เช่น พระภรรยาเจ้าและสมเด็จเจ้าฟ้าในรัชกาลที่ 5 ใครเป็น ใครในประเทศไทย สุดยอดแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ไทย พระราชประวัติสมเด็จ พระสรุ ิโยไท เปน็ ต้น ภาพหนงั สอื อกั ขรานกุ รมชีวประวัติ 13
1.4 ทรัพยากรสารสนเทศอา้ งองิ ทางภูมิศาสตร์ จัดทำสำหรับให้ขอ้ เท็จจรงิ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั สถานที่ และข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ แบง่ เป็น ๓ ประเภท คอื 1)อักขรานุกรมทางภูมิศาสตร์ ให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานทีทาง ภูมิศาสตร์ และชื่อสถานที่ รวมถึงลักษณะ ที่ตั้ง ประวัติ ประชากร กลุ่มชนต่างๆ เชน่ อักขรานกุ รมภูมิศาสตร์ไทย ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ภาพ หนังสืออักขรานกุ รมทางภูมศิ าสตร์ 14
2) แผนที่ แสดงส่วนต่างๆ ของโลกโดยใช้สัญลักษณ์ และสีเกี่ยวกับ พื้นที่ การแบ่งเขตแดน อาณาเขต ความสูงต่ำพื้นที่ หรือแผนที่เฉพาะทาง เช่น แผนที่และข้อมูลประเทศไทย 77 จังหวัด แผนที่และคู่มือเที่ยวไทย’ 59 แผนท่ี ทางหลวง เปน็ ต้น ภาพหนังสอื แผนท่ี 15
3) คู่มือนำเที่ยว จัดทำแนะนำสำหรับสถานที่ท่องเที่ยว ให้ข้อเท็จจรงิ เกี่ยวกับประวัติ ระยะทาง สถาบันที่สำคัญตา่ งๆ เช่น คู่มือเที่ยวเมืองไทย คู่มือ เที่ยวเชียงใหม่ คู่มือนำเที่ยวทางรถไฟในวันหยดุ คู่มือเที่ยวตามใจชอบ ญี่ปุ่น : คันไซ เป็นตน้ ภาพหนงั สอื คูม่ อื นำเทย่ี ว 16
1.5 นามานุกรมหรือทำเนียบนามdเป็นหนังสือท่ีให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อ ของบุคคล หรือหน่วยงาน องค์การ สถาบันต่างๆ สำหรับบุคคลประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ ที่อยู่ และตำแหน่ง สำหรับหน่วยงาน องค์การ/สถาบัน ประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับ สถานที่ตั้ง ปีที่ก่อตั้ง วัตถุประสงค์ รายนาม ผดู้ ำเนินการ สาขาพร้อมทอ่ี ยู่ เบอร์โทรศัพท์ โทรสาร และจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น ทำเนยี บวดั แห่งประเทศไทยรวม 76 จังหวดั สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ นามา นุกรมพระมหากษตั รยิ ์ไทย เป็นต้น ภาพหนังสือนามานกุ รม 17
1.6 คู่มือdจัดทำเพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ หรือจัดทำเป็นคู่มือ สำหรับศึกษาและความรู้เบ็ดเตล็ด ในลักษณะเฉพาะเจาะจง เช่น วันสำคัญ สิ่ง แรกของโลก สถิติต่างๆ ที่มีผู้ทำขึ้น หรือตารางสูตร ด้านวิทยาศาสตร์ เป็นต้น คมู่ อื แบง่ เป็น ๓ ประเภท ดังน้ี 1) ค่มู ือรวบรวมข้อเท็จจริงเรอ่ื งใดเรือ่ งหนงึ่ โดยสรปุ เปน็ หนงั สอื ที่ ประกอบดว้ ยเนอ้ื หาสาระทน่ี ำเสนอรายละเอียดขอ้ เทจ็ จรงิ เร่ืองใดเรอ่ื งหนึง่ จาก เรื่องทเี่ ปน็ ความจริง เชอื่ ถอื ได้ และเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้สนใจอยา่ งจริง เชน่ พนั ธุ์ ไมใ้ นเมอื งไทย พนั ธ์ุกลว้ ยไม้ ในเมืองไทย เป็นตน้ คู่มอื รวบรวมข้อเทจ็ จริงเร่ืองใดเร่อื งหนึ่งโดยสรุป 18
2) คมู่ อื แนะแนวทางการทำงานหรือปฏบิ ตั ิการ เปรียบเสมือนแผนที่บอกเส้นทางการทำงานที่มีจุดเริ่มต้น และ จุดสิ้นสุดของกระบวนการ ระบุถึงขั้นตอนและรายละเอียดของกระบวนการ ต่างๆ เป็นเอกสารท่ีกลา่ วถึงรายละเอียดของงานเฉพาะอย่าง แบบทีละขัน้ ทีละ ตอน เช่น คู่มือคอเลสเตอรอล คู่มือเทคนิคการถ่ายภาพ คู่มือเขียนโปรแกรม ภาษา C เปน็ ตน้ ภาพคมู่ อื แนะแนวทางการทำงานหรือปฏบิ ัตกิ าร 19
3) คมู่ อื รวมเร่อื งเบ็ดเตลด็ เปน็ หนงั สือทใี่ ห้คำอธบิ ายในสาขาวชิ าต่างๆ ท่ี น่าสนใจ เชน่ 50ส่ิงแรกในเมอื งไทย วนั สำคญั ของโลก เปน็ ตน้ ภาพ คมู่ อื รวมเร่อื งเบด็ เตล็ด 20
1.7 หนังสอื รายปี จดั ทำรวบรวมเหตกุ ารณข์ องปที ผี่ า่ นมาและขอ้ เทจ็ จริง ในด้านตา่ งๆ เชน่ การเมอื ง สถติ ิ ชวี ประวัตบิ คุ คล สมาคม การกฬี า แบ่งเป็น ๒ ประเภท คอื 1) สมพัตรสร เป็นหนังสือที่เน้นนำเสนอข้อมูลข้อเท็จจริง ที่เป็น สถิติ มีข้อมูลย้อนหลังเปรียบเทียบเกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญในแตล่ ะปี เช่น สยามอัลมาแนค เป็นหนังสือสมพตั รสรที่ใหเ้ ร่ืองราวเกี่ยวกับประเทศ ไทย จัดทำครง้ั แรกในปี ๒๕๒๗ รวบรวมขอ้ มูลข่าวสารสถิติของประเทศไทย ตง้ั แต่อดตี ถงึ ปจั จุบัน เก่ยี วกับบุคคล เหตกุ ารณด์ ้านต่างๆในประเทศไทย ภาพ หนงั สอื สมพัตรสร 21
2) รายปีสรุปย่อ เป็นหนังสือที่จัดทำเพื่อสรุปเหตุการณ์ต่างๆ ท่ี เกิดขึ้น ในแต่ละช่วงเวลา จากหนังสือพิมพ์ วารสาร และสิ่งพิมพ์ เช่น รายงาน ประจำปี ๒๕๔๙มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สมุดสถิติรายปี พ.ศ. ๒๕๔๖ สยามจดหมายเหตุ เป็นต้น ภาพ หนังสอื รายปีสรุปยอ่ 22
1.8 สิง่ พิมพร์ ัฐบาล เป็นส่ิงพิมพท์ ท่ี างราชการเป็นผรู้ ับผดิ ชอบในการ พิมพ์ หรือสั่งให้มีการจัดพิมพ์ขึ้น เพื่อจำหน่าย หรือแจกจ่ายให้แก่หน่วยงาน ต่างๆ ตลอดจนถึงประชาชนที่สนใจ และเป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานของรัฐบาล หรือความรู้ในแขนงวิชาต่างๆ ที่ประชาชนควรรู้ เช่น ราช กิจจานุเบกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำมะโนประชากรและ เคหะ เป็นต้น ภาพ หนงั สอื ส่ิงพิมพร์ ฐั บาล 23
2. หนงั สืออา้ งอิงที่แนะนำแหล่งคำตอบว่าอยู่ที่ใด เปน็ หนังสือท่ีแจ้งให้ผู้ใช้ ทราบว่าเร่ืองราวทตี่ อ้ งการจะหาได้จากทใ่ี ด แต่ไม่มีรายละเอยี ดของเนื้อหาที่ผู้ใช้ ตอ้ งการ เชน่ 1) หนังสือบรรณานุกรม คือ หนังสือที่มีบัญชีรายชื่อหนังสือและ วัสดุอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยบอกผู้เขียน ชื่อเรื่อง สำนักพิมพ์ ราคา จำนวนหน้า บางแห่งอาจมีการประเมินผลวัสดุนั้นๆ ด้วย เช่น บรรณานุกรม หนงั สือวิชาภาษาไทย บรรณานกุ รมแห่งชาติ บรรณานกุ รมและสาระสังเขปพระราช นิพนธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว เปน็ ตน้ ภาพ หนงั สอื บรรณานกุ รม 24
2)หนังสือดรรชนี (หรือเขียนอีกอย่างว่า “ดัชนี”) เป็นหนังสือ ค่มู ือคน้ หาสารสนเทศจากหนงั สอื บทความสาระอื่นในหนงั สอื วารสาร หนังสอื พิมพ์ และสาระสงั เขป หนงั สือดรรชนีมคี วามสำคญั สามารถชว่ ยให้ค้นหาสารสนเทศได้ สะดวก และรวดเร็วทันต่อความต้องการโดยจัดเรียงเนื้อเรื่องภายในเล่มตาม หมวดหมู่สาขาวิชาต่างๆแล้วภายใต้หมวดหมู่จัดเรียงรายการต่างๆ ตามลำดับ อักษร เช่น ดรรชนีวารสารไทย ดรรชนีวารสารไทยเรื่อง พระบรมราชจักรีวงศ์ ดชั นีสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ เปน็ ตน้ ภาพ หนงั สือดัชนี 25
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: