Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือแหล่งทุนวัฒนธรรม อำเเภอเขาชัยสน อำเภอบางแก้ว

คู่มือแหล่งทุนวัฒนธรรม อำเเภอเขาชัยสน อำเภอบางแก้ว

Description: แหล่งทุนวัฒนธรรม อำเเภอเขาชัยสน อำเภอบางแก้ว

Keywords: เขาชัยสน,บางแก้ว,พัทลุง

Search

Read the Text Version

คู่มือท่องเที่ยว แหล่งทุนวัฒนธรรม อำเภอเขาชัยสน - อำเภอบางแก้ว พัทลุง Travel Guidebook : Cultural Capital of Khao Chaison District - Bang Kaeo District Phatthalung

คู่มือท่องเที่ยว แหล่งทุนวัฒนธรรม อำ เ ภ อ เ ข า ชั ย ส น - อำ เ ภ อ บ า ง แ ก้ ว พั ท ลุ ง TRAVEL GUIDEBOOK : CULTURAL CAPITAL OF KHAO CHAISON DISTRICT - BANG KAEO DISTRICT PHATTHALUNG

เ ชิ ญ ช ว น เขาชัยสนเป็นภูเขาหินปูนลูกโดด ตั้งอยู่ในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ ยาวประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร ส่วนกว้างสุดประมาณ ๑ กิโลเมตร พื้นที่โดยรอบภูเขาเป็นที่ราบ ลุ่มยอดเขาสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ ๓๓๐ เมตร พันธุ์ไม้ที่ขึ้นชื่ อ เป็นที่รู้จักกัน คือ ไม้คนทีดำ เป็นไม้ที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร ใช้รักษาโรคภัย ต่างๆ ได้หลายชนิด ทิศตะวันตกและทิศเหนือมีคลองเขาชัยสน หรือคลองปาก เพนียดไหลผ่านไปออกทะเลสาบสงขลาที่บ้านสทัง บริเวณอ่าวอาพัด ตำบลหาน โพธิ์ อำเภอเขาชัยสน ทิศใต้มีคลองท่ามะเดื่อไหลผ่านไปออกทะเลสาบสงขลาที่ บ้านบางแก้วใต้ ใกล้วัดเขียนบางแก้ว คลองทั้ง ๒ สายนี้ เป็นหัวใจของ การเกษตรกรรมและเป็นเส้นทางคมนาคมของชุมชนโบราณในอดีต ระหว่าง ชุมชนภายในแผ่นดินกับชุมชนรอบทะเลสาบสงขลา ในสมัยอยุธยาเกิดชุมชน โบราณขึ้นทางทิศตะวันออกของเขาชัยสน คือ บริเวณหน้าถ้ำพระ ซึ่งเป็นที่ตั้ง ของวัดถ้ำเขาชัยสน เป็นวัดขึ้นกับวัดเขียนบางแก้ว คณะป่าแก้วหัวเมืองพัทลุง ความสำคัญของเขาชัยสน คือ มีถ้ำหินปูนจำนวนมาก ได้แก่ ถ้ำล่องลม ถ้ำไร ถ้ำโพรงเข้ ถ้ำเครื่อง ถ้ำควาย ถ้ำโนรา ถ้ำช้าง และถ้ำพระ จากการสำรวจเบื้อง ต้นได้พบร่องรอยแสดงว่าเคยเป็นที่พักอาศั ยของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหินใหม่ประมาณ ๒,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว หลักฐานที่พบได้แก่ ขวานหิน ขัด หม้อดินเผาลายเชือกทาบ หม้อสามขา กระดูกสัตว์ และกระดูกมนุษย์ เป็นต้น บางถ้ำเปลี่ยนแปลงเป็นพุทธสถานเช่น ถ้ำพระ มีพระพุทธรูปปูนปั้ น ประดิษฐานภายในถ้ำ จำนวน ๘ องค์ พระพุทธไสยาสน์ ๑ องค์ และพระพุทธรูป ประทับยืนสำริด ๑ องค์ (กรมศิลปากร ๒๕๓๖ : ๒๙-๓๐) กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๕๒ ตอนที่ ๗๕ วันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ (กรมศิลปากร ๒๕๓๓ :๓๙)

INVITE Khao Chaison is a limestone mountain. Located in the north-south line, about 2.5 kilometers long and about 1 kilometer wide. The area surrounding the mountain is a plateau, the peak is about 330 meters above sea level. The well-known plant species is wood. The black man is a plant that has medicinal properties. Used to treat many types of diseases. The west and the north have a canal Khao Chaison. or Pak Paniad canal flows through Songkhla Lake at Ban Satang Ao Apat, Han Pho Sub- district, Khao Chaison District In the south, Tha Madua canal flows through Songkhla Lake at Ban Bang Kaew Tai. Near Wat Khian Bang Kaeo, these two canals are the heart of agriculture and are the transportation routes of the ancient community in the past. between communities within the land and communities around Songkhla Lake In the Ayutthaya period, an ancient community was formed in the east of Khao Chaison, which is in front of Phra Tham Phra. which is the location of Wat Tham Khao Chaison It is a temple based on Wat Khian Bang Kaeo. Faculty of Pa Kaew Hua Mueang Phatthalung The importance of Khao Chaison is that there are many limestone caves, such as Tham Long Lom, Tham Rai, Tham Phong Khe, Tham Khea, Tham Kwai, Tham Nora, Tham Chang and Tham Phra. From preliminary surveys, traces have been found indicating that it was a dwelling place for prehistoric humans during the Stone Age. New about 2,000 - 4,000 years ago. Evidences found include terrazzo axes, terracotta pots with rope pattern, three-legged pots, animal bones and human bones, etc. Some caves have been transformed into Buddhist sites such as Tham Phra, with 8 Buddha images enshrined inside the cave. One reclining Buddha image and one standing bronze Buddha image (Department of Fine Arts 1993 : 29- 30)

บ ท นำ ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานจากการค้นพบขวานหินขัดในท้องที่ทั่วไป หลายอำเภอในสมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13 –14) บริเวณเมืองพัทลุงเป็นแหล่ง ชุมชนที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดียในด้านพระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน มีหลักฐานค้นพบ เช่น พระพิมพ์ดิน ดิบจำนวนมากเป็นรูปพระโพธิสัตว์ รูปเทวดาโดยค้นพบบริเวณถ้ำ คูหาสวรรค์ และถ้ำเขาอกทะลุ ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 19 เมืองพัทลุงได้ตั้งขึ้นอย่าง มั่นคงภายใต้การปกครองของกรุงศรีอยุธยา ในสมัย พระบรมไตรโลกนาถ ได้ปรากฏชื่ อ เมืองพัทลุง ในกฎหมายพระอัยการนาทหารหัวเมือง พ.ศ.1998 ระบุว่าเมืองพัทลุง มี ฐานะเป็นเมืองชั้นตรี ซึ่งนับได้ว่าเป็นหัวเมืองหนึ่งของพระราชอาณาจักรทางใต้ ที่ตั้งเมือง พัทลุงในระยะเริ่มแรกนั้น เชื่ อกันว่า ตั้งอยู่ที่เมืองสทิงพระ จังหวัดสงขลาในปัจจุบัน ใน สมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ ได้มีการย้ายสถานที่ตั้งเมืองอีกหลายครั้งและได้ยกขึ้นเป็น เมืองชั้นโทใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในช่วงนี้เมือง พัทลุงมีผู้นำที่มีความสำคัญในการสร้างความ เจริญและความมั่นคงให้กับบ้านเมืองหลาย ท่าน อาทิ พระยาพัทลุง (ขุนคางเหล็ก) พระยาวิชิตเสนา (ทองขาว) พระยาอภัย บริรักษ์ (จุ้ย จันทร์โรจน์วงศ์) ส่วนประชาชนชาวเมืองพัทลุงก็ได้มีบทบาทในการร่วมมือ กับผู้นำ ต่อสู้ ป้องกันเอกราชของชาติมาหลายครั้ง เช่น เมื่อสงครามเก้าทัพ (พ.ศ. 2328 – 2329) พม่าจัดกองทัพใหญ่ 9 ทัพ 1 ใน 9 ทัพ มีเกงหวุ่นแมงยีเป็นแม่ทัพ ยก ลงมาตีทางใต้ ตีได้เมืองกระบุรี ระนอง ชุมพร ไชยา และนครศรีธรรมราช ตามลำดับ ครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ปฏิรูปการปกครองเป็นแบบ เทศาภิบาลใน พ.ศ. 2437 และได้ประกาศจัดตั้งมณฑลนครศรีธรรมราชขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2439 ประกอบด้วยเมืองต่างๆ คือ นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา และหัวเมืองทั้ง 7 ที่ เป็นเมืองปัตตานีเดิม สำหรับเมืองพัทลุงแบ่งการปกครองออกเป็น 3 อำเภอ คือ อำเภอ กลางเมือง อำเภออุดร อำเภอทักษิณ ขณะนั้นตัวเมืองตั้งอยู่ที่ตำบลลำปำ จนกระทั่ง พ.ศ. 2467 พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองพัทลุงมาอยู่ที่ ตำบลคูหาสวรรค์ในปัจจุบัน เพื่อจะได้อยู่ใกล้ เส้นทางรถไฟ และสะดวกในด้านติดต่อกับ เมืองต่างๆ จากอดีตถึงปัจจุบัน เมืองพัทลุงได้มีการย้ายเมืองหลายครั้ง

INTRODUCTION prehistoric times As evidenced by the discovery of terrazzo axes in many districts in the Srivijaya period (Buddhist Centuries 13-14) Phatthalung City is a community that receives Indian culture in terms of Mahayana Buddhism. There is evidence found, for example, a large number of raw clay Buddha images in the form of Bodhisattvas. The image of an angel discovered at Khuha Sawan Cave and Khao Ok Thalu Cave Later, in the 19th Buddhist century, the city of Phatthalung was firmly established under the rule of Ayutthaya during the reign of Phra Borom Trai Lokanat. has appeared the name of the city of Phatthalung In the Law of the Military District Attorney, 1998, states that the city of Phatthalung as a third-tier city which can be considered as one of the cities of the Southern Kingdom The location of the city of Phatthalung in the early stages is believed to be located in the city of Sathing Phra. Songkhla Province at present in the Thonburi and Rattanakosin periods The location of the city has been relocated several times and it has been raised as an inner-class city. The reign of King Buddha Yodfa Chulalok the Great During this period, the city of Phatthalung had important leaders in creating Prosperity and stability for many people, such as Phraya Phatthalung (Khun Kang Lek), Phraya Wichit Sena (Thongkhao), Phraya Abhai Borirak (Jui Chanrotewong), and the people of Phatthalung have a role to play in cooperating with leaders to fight and defend national independence. Many times, for example, when the War of the Nine Armies (BE 1785 – 1786), Burma organized a large army of 9 armies, 1 of the 9 armies had Keng Wan Mangye as their generals. come down to hit the south They were hit in Kraburi, Ranong, Chumphon, Chaiya and Nakhon Si Thammarat, respectively, during the reign of King Chulalongkorn. Has reformed the administration to the style of Thesaphiban in 1894 and announced the establishment of Nakhon Si Thammarat Province in 1896, consisting of cities namely Nakhon Si Thammarat, Phatthalung, Songkhla, and the 7 provinces that were originally Pattani. As for the city of Phatthalung, the administration was divided into 3 districts, namely Klang Muang District, Udon District, and Thaksin District. At that time, the city was located in Tambon Lampam until 1924, His Majesty King Mongkut of Thailand graciously relocated Phatthalung City to Khuha Sawan Subdistrict at present. in order to be near the railway line and convenient in contact with various cities from past to present Muang Phatthalung has moved the city many times.

การเดินทาง รถยนต์ จากกรุงเทพฯ สามารถไปได้ 3 เส้นทาง คือ เส้นทางที่ 1 ตามทางหลวงหมายเลข 4 ถึงชุมพร (สี่แยกปฐมพร) แยกเข้าระนอง พังงา กระบี่ ตรัง จนถึง พัทลุง ระยะทางประมาณ 1,140 กิโลเมตร เส้นทางที่ 2 ตามทางหลวงหมายเลข 4 ถึงชุมพร ให้เข้าทางหลวง หมายเลข 41 จนถึงจังหวัดพัทลุง ระยะทาง 840 กิโลเมตร เส้นทางที่ 3 ตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่านชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช แล้วเข้าทางหลวง หมายเลข 403 จากนั้ นจึงเข้า ทางหลวงหมายเลข 41 ที่ชุมทางเขาชุมทอง จนถึงพัทลุง รถไฟ การรถไฟแห่งประเทศไทย มีรถไฟผ่านอำเภอเมือง อำเภอควนขนุน อำเภอเขาชัยสน อำเภอปากพะยูน อำเภอป่าบอน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รายละเอียดสอบถาม โทร. 1690, 02-223-7010, 02- 223-7020 สถานี รถไฟพัทลุง โทร. 0 7461 3106 www.railway.co.th รถโดยสารประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการเดินรถกรุงเทพฯ – พัทลุง ทุกวัน มีรถ ออกที่สถานี ขนส่งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี สอบถามรายละเอียด ได้ที่ โทร. 02-434-5557-8, 02-435-1199, 02-435-1200 www.transport.co.th เครื่องบิน จังหวัดพัทลุงไม่มีสนามบิน นั กท่องเที่ยวสามารถใช้บริการเที่ยวบิน กรุงเทพฯ-ตรังหรือ กรุงเทพฯ-หาดใหญ่ จังหวัดสงขลาและ ต่อรถ โดยสารไปพัทลุง

Travel Car From Bangkok, you can go 3 routes: Route 1, follow Highway No. 4 to Chumphon (Pathomphon Intersection), turn into Ranong, Phang Nga, Krabi, Trang to Phatthalung, a distance of approximately 1,140 km. Route 2 Follow Highway No. 4 to Chumphon, take Highway No. 41 until Phatthalung Province, a distance of 840 kilometers. Route 3 along Highway 4 through Chumphon, Surat Thani, Nakhon Si Thammarat. Then take Highway No. 403, then take Highway No. 41 at Khao Chum Thong Junction until Phatthalung. Train State Railway of Thailand There is a train passing through Muang District, Khuan Khanun District, Khao Chaison District. Amphoe Pak Phayun, Amphoe Pa Bon, Amphoe Bang Kaeo, Phatthalung Province For inquiries, call 1690, 02-223-7010, 02- 223-7020 Phatthalung Railway Station Tel. 0 7461 3106 www.railway.co.th Bus The Transport Co., Ltd. offers daily Bangkok-Phatthalung buses departing at the Southern Bus Terminal. Borommaratchachonnani Road For more information, please call 02-434-5557-8, 02-435-1199, 02-435-1200 www.transport.co.th Airplane Phatthalung has no airport. Tourists can use flights from Bangkok - Trang or Bangkok-Hat Yai Songkhla Province and Take a bus to Phatthalung.

สารบัญ / CONTENTS 1 แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ หน้ าที่ (HISTORICAL PLACES) 1. พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว Phra Mahathat Chedi Bang Kaeo 10 2. อุโบสถมหาอุตม์ Maha Ubosot 12 3. วิหารถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา (โคกวิหาร) Viharn holding the 14 water of Phra Phiphat Sattaya (Kok Vihara) 16 4. พิพิธภัณฑ์สังฆรักษ์ Sangharak Museum 5. วัดถ้ำพระ Wat Tham Phra 18 2 แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศาสนสถาน หน้ าที่ (RELIGIOUS TOURIST ATTRACTIONS) 1. พระแก้วกุลาศรีมหาโพธิ์ 21 Phra Kaew Kula Sri Maha Bodhi 23 2. พระพุทธรูปสองพี่น้อง Phra Kaew Kula Sri Maha Bodhi 3 แหล่งท่องเที่ยวทางด้านวิถีชีวิต (WAY OF LIFE) หน้ าที่ 1. แกะรูปหนังตะลุง shadow play 26 2. บ้านปากพล 28 Pakphon House





แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ (HISTORICAL PLACES) ประกอบด้วย 1. พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว 2. อุโบสถมหาอุตม์ 3. วิหารถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา (โคกวิหาร) 4. พิพิธภัณฑ์สังฆรักษ์ 5. วัดถ้ำพระ 1. พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้วเป็นโบราณสถานที่มีอายุกว่า ๑,๐๐๐ ปี เป็น ปูชนียสถานที่เก่าแก่ที่สุดแห่งของจังหวัดพัทลุง ประดิษฐานอยู่ภายในวัด เขียนบางแก้ว เชื่อว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น สันนิษฐานว่า พื้นที่บริเวณวัดเขียนนี้ เป็นที่ตั้งของเมืองพัทลุงมาก่อนเพราะพบซาก ปรักหักพังของศิลาแลง และพระพุทธรูปมากมาย เช่น พระแก้วคุลาศรี ตั้งอยู่เลขที่ ๔๒ มหาโพธิ (ศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้น) พระพุทธรูปสองพี่น้อง ภายในวัดมี บ้านบางแก้ว หมู่ที่๔ พิพิธภัณฑ์จัดแสดงโบราณวัตถุ เช่น ถ้วยชามจีนสมัยราชวงศ์ซุ่ง ราชวงศ์ ตำบล จองถนน เหม็ง ราชวงศ์เซ็ง สังคโลกสมัยสุโขทัย ศิวลึงค์ ฐานโยนี และพระพุทธรูป อำเภอ เขาชัยสนสมัยต่าง ๆ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้พื้นเมืองเป็นจำนวนมาก เป็นหลัก จังหวัด พัทลุงฐานที่แสดงถึงว่าบริเวณนี้มีการติดต่อรับอารยธรรมอินเดียมาตั้งแต่สมัย ต้นประวัติศาสตร์ พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้วเป็นเจดีย์ก่ออิฐฐาน ๘ เหลี่ยม สันนิษฐานว่าได้รัับรูปแบบการสร้างมาจากพระบรมธาตุเจดีย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่ย่อขนาดให้เล็กกว่า Phra Mahathat Chedi Bang Kaeo Phra Mahathat Chedi Bang Kaeo is an archaeological site that is more than 1,000 years old and is the oldest monument in Phatthalung Province. Enshrined inside Wat Khian Bang Kaeo. It is believed that it was built in the early Ayutthaya period. It is assumed that the area around this writing temple It was the location of the city of Phatthalung before because laterite ruins were found. and many Buddha images such as Phra Kaew Kula Sri Maha Bodhi (Early Ayutthaya period art) Buddha statues of two brothers Inside the temple, there is a museum displaying antiques such as Chinese bowls from the Sung Dynasty, Meng Dynasty, Seng Dynasty, Sukhothai Sangkhalok, Siwa Lin, Yoni bases, and Buddha images from various periods, as well as a large number of local tools. It is evidence that this area has been in contact with Indian civilization since early history. Phra Mahathat Chedi Bang Kaeo is a brick chedi with an octagonal base. It is assumed that it has been built from Phra Borommathat Chedi. Nakhon Si Thammarat Province but shrink to a smaller size

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ ( HISTORICAL PLACES ) วัดเขียนบางแก้ว

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ (HISTORICAL PLACES) ประกอบด้วย 2. อุโบสถมหาอุตม์ โบสถหรือโบสถ์มหาอุตม์ตั้งอยู่ด้านหน้าพระมหาธาตุเจดีย์ หันหน้าไป ตั้งอยู่เลขที่ ๔๒ ทางทิศตะวันออกขนานกับคลองบางแก้ว เป็นอุโบสถสถานก่อด้วยอิฐ บ้านบางแก้ว หมู่ที่๔ ถือปูน เครื่องไม้ พระอธิการพุ่มได้บูรณะใหญ่ครั้งหนึ่งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๒ ตำบล จองถนน ต่อมาได้ชำรุดทรุดโทรมมากจึงได้บูรณะใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ การบูรณะ อำเภอ เขาชัยสน ใหม่ครั้งนี้ได้ดัดแปลงเป็นอุโบสถก่ออิฐถือปูน ภายในมีพระประธานปูน จังหวัด พัทลุง ปั้ นปางมารวิชัย ๕ องค์ ด้านหลังอุโบสถกั้นเป็นห้องไหว้พระพุทธไสยาสน์ ปูนปั้ น ๑ องค์ รอบอุโบสถมีใบพัทธเสมาจำหลักหินทรายแดงไม่มีลวดลาย ศิลปสมัยอยุธยาตอนต้น จำนวน ๘ ใบ Maha Ubosot The church or Maha Um Church is located in front of Phra Mahathat Chedi. Facing east parallel to Khlong Bang Kaeo It is an ordination hall made of bricks and mortar, and wood. The rector of the bush has been renovated once in 1909. Later, it was very dilapidated, so it was renovated in 1980. This new restoration has been converted into an ordination hall. brick holding mortar Inside there are 5 stucco Buddha images in the attitude of subduing Mara. Behind the chapel is a stucco room to pay respect to the reclining Buddha image. Around the chapel there are 8 leaves of Phatthasema engraved on red sandstone without patterns in the early Ayutthaya period.

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ ( HISTORICAL PLACES ) อุโบสถมหาอุตม์ วัดเขียนบางแก้ว

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ (HISTORICAL PLACES) ประกอบด้วย 3. วิหารถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา (โคกวิหาร) วิหารถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา(โคกวิหาร )ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก เฉียงเหนือของโบสถ์พราหมณ์ ปัจจุบันเหลือเพียงซากเนินรูปสี่เหลี่ยมผืน ผ้ามีฐานชุกชีก่อด้วยอิฐและหิน ตอนบนมีชิ้นส่วนพระพุทธรูปจำหลักจาก หินทรายแดง ศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้นจำนวน ๓ องค์ พระเศียร พระพุทธรูปหินทรายแดงขนาดใหญ่ ๑ เศียร วิหารถือน้ำพระพิพัฒน์สัต ยาเคยมีความสำคัญมาในอดีตกาลคือเป็นสถานที่ข้าราชการเมืองพัทลุง มาร่วมกันประกอบพิธีดื่มน้ำสาบานครั้งที่เมืองพัทลุงยังตั้งอยู่ที่โคกเมือง ตั้งอยู่เลขที่ ๔๒ บ้านบางแก้ว หมู่ที่๔ ตำบล จองถนน อำเภอ เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง Viharn holding the water of Phra Phiphat Sattaya (Kok Vihara) Viharn holding the water of Phra Phiphat Sattaya (Kok Viharn ) located on the northeast side of the Brahmin Church Today, only the remains of a rectangular mound with a brick and stone Chukchi base. The upper part has Buddha images carved from red sandstone. Art of the early Ayutthaya period, 3 Buddha heads, a large red sandstone Buddha image, Viharn holding the water of Phra Phiphat Sattaya used to be important in the past. Khok Muang

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ ( HISTORICAL PLACES ) วิหารถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา (โคกวิหาร) วัดเขียนบางแก้ว

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ (HISTORICAL PLACES) ประกอบด้วย 4. พิพิธภัณฑ์สังฆรักษ์ พิพิธภัณฑ์สังฆรักษ์วัดเขียนบางแก้วมีโบราณวัตถุ เช่น ถ้วยชามจีน สมัยราชวงศ์ซุ่ง ราชวงศ์เหม็ง ราชวงศ์เซ็ง สังคโลกสมัยสุโขทัย ศิวลึงค์ ฐานโยนี และพระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องใช้พื้นเมืองเป็นจำนวนมากซึ่งแสดงให้เห็นว่า บริเวณนี้มีการ ติดต่อค้าขายกับจีน ตลอดถึงรับอารยธรรมอินเดียมาตั้งแต่สมัยต้น ของประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์สังฆรักษ์ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของพระ มหาธาตุเจดีย์ Sangharak Museum ตั้งอยู่เลขที่ ๔๒ บ้านบางแก้ว หมู่ที่๔ ตำบล จองถนน อำเภอ เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง The Sangkharak Museum of Wat Khian Bang Kaeo contains artifacts such as Chinese bowls from the Sung Dynasty, Meng Dynasty, Seng Dynasty, Sukhothai Sangkhalok, Siwa Lin, Yoni base, and Buddha images from various periods, as well as a large number of local tools which show that This area has trade contacts with China. As well as the Indian civilization since the beginning of history. The Sangkharak Museum is located to the north of Phra Mahathat Chedi.

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ ( HISTORICAL PLACES ) พิพิธภัณฑ์สังฆรักษ์ วัดเขียนบางแก้ว

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ (HISTORICAL PLACES) ประกอบด้วย 5. วัดถ้ำพระ วัดถ้ำพระ เป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่ง โดยวัดนั้น ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกในหมู่ที่ ๓ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน ตำบล เขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เมื่อมาถึงจะเจอกับศาลตาโครตพรหม ปู่เจ้าเขาชัยสน อำเภอ เขาชัยสน ซึ่งเป็นที่เคารพของคนในชุมชน สำหรับการเข้าชมถ้ำนั้น จะต้องเดิน จังหวัด พัทลุง ขึ้นบันไดโดยขั้นแรกจะเจอกับลานกว้างหน้าถ้ำ มีลักษณะเหมือน ห้องโถงแบบเปิดขึ้นไปจะเห็นต้นไม้น้อยใหญ่ห้อยย้อยลงมาสวยงาม ข้างในห้องแรกจะมีบ่อน้ำที่คนที่นี่เชื่อกันว่าศักดิ์สิทธิ์สามารถนำไป ต้มยาได้ บริเวณด้านในของถ้ำจะมีเสาไม้ที่ถูกแกะสลักให้คล้าย พระพุทธรู ปไว้สั กการะบูชาพร้อมกับชมจิตรกรรมบนฝาผนังถ้ำที่ สวยงาม ซึ่งเป็นตอนต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับพุทธประวัติของสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าส่วนด้านบนเป็นที่ประดิษฐานของพระนอนหรือ พระบรรทม ชื่อว่าพระวิมุตตะโร ขนาดยาวประมาณ ๒๐เมตร อายุ ประมาณ ๒๐ ปี มีพุทธลักษณะงดงามมากนอกจากนั้นยังมีสถูป โบราณขนาดใหญ่ และพระโพธิสัตว์ ซึ่งสร้างเมื่อปี พ.ศ ๒๕๒๑ เป็นที่ บรรจุอัฐิ หลวงพ่ออินทร์ และมีพระพุทธรูปให้สักการะ Wat Tham Phra Wat Tham Phra is another important tourist attraction. The temple is located in the east in Village No. 3, Khao Chaison Subdistrict, Khao Chaison District. Phatthalung Province Upon arrival, you will meet with the shrine of Ta Khrot Phrom. Grandfather Chao Khao Chaison which is respected by the people in the community for visiting the cave Must walk up the stairs, where the first step will find a wide courtyard in front of the cave It looks like an open hall to see large and small trees hanging down beautifully. Inside the first room, there is a well that people here believe to be holy can be used to boil medicine. Inside the cave, there are wooden pillars that are carved to look like Buddha images for worship along with beautiful cave paintings. which are various chapters related to the history of the Buddha The name is Phra Wimuttaro. The size is about 20 meters long, about 20 years old, has a very beautiful Buddha image. There is also a large ancient stupa. and Bodhisattva which was built in 1978 as a place to contain ashes Reverend Father In and there is a Buddha image to worship

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์ ( HISTORICAL PLACES ) วัดถ้ำพระ เขาชัยสน





แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศาสนสถาน ( RELIGIOUS TOURIST ATTRACTIONS ) ประกอบด้วย 1. พระแก้วกุลาศรีมหาโพธิ์ 2.พระพุทธรู ปสองพี่น้อง 1. พระแก้วกุลาศรีมหาโพธิ์ พระแก้วกุลาศรีมหาโพธิ์เป็นพระพุทธรู ปหินทรายสี แดงศิ ลปะอยุธยา ตอนต้นชาวบ้านเรียกว่าพระคุลา ประดิษฐานอยู่ทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือของวิหารถือน้ำพระพิฒน์สัตยา ประมาณ ๕๐ เมตร สร้าง ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์การกราดต้อนเฉลยศึกชาวอินเดียตอนใต้ที่เรียก ว่าพวกคุลา ตั้งอยู่ที่ ๔๒ บ้านบางแก้ว หมู่ที่๔ ตำบล จองถนน อำเภอ เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง Phra Kaew Kula Sri Maha Bodhi Phra Kaew Kula Sri Maha Bodhi is a red sandstone Buddha image in early Ayutthaya art. Locals call it Phra Kula. Enshrined in the northwest of the viharn holding the water of Phra Phit Sattaya, about 50 meters, was built to commemorate the South Indians herding the battle known as the Kula.

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านนศาสนสถาน ( RELIGIOUS TOURIST ATTRACTIONS ) พระแก้วกุลาศรีมหาโพธิ์ วัดเขียนบางแก้ว

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศาสนสถาน ( RELIGIOUS TOURIST ATTRACTIONS ) ประกอบด้วย 1. พระแก้วกุลาศรีมหาโพธิ์ 2.พระพุทธรู ปสองพี่น้อง 2.พระพุทธรู ปสองพี่น้ อง ซึ่งพระพุทธรูปสองพี่น้อง มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของ จังหวัดพัทลุง สร้างขึ้นในสมัยพุทธศตวรรษที่ 19-20 โดยเจ้าฟ้าคอ ลาย บุตรของนางเลือดขาว และพระยากุมาร เจ้าเมืองพัทลุงในสมัย นั้น ซึ่งพระเจ้าคอลายได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์และสร้างอุทิศส่วน กุศลให้กับบิดามาราที่ล่วงลับ สร้างโดยใช้หินทรายแดง และก็ผุกร่อน ไปตามกาลเวลา เหลือแต่เศียร 2 องค์ จนเมื่อปี 2507 พระมหาพันธ์ ธมมนาโก อดีตเจ้าอาวาสวัดเขียนบางแก้ว ได้นำเศียรองค์พระสร้าง ขึ้นมาใหม่แล้วเสร็จเมื่อปี 2513 จนถึงปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ ๔๒ บ้านบางแก้ว หมู่ที่๔ ตำบล จองถนน อำเภอ เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง Phra Kaew Kula Sri Maha Bodhi The Buddha image of two brothers It is important in the history of Phatthalung Province. It was built in the 19th-20th Buddhist century by Prince Kolai. The son of Mrs. White blood. and Phraya Kumarn The governor of Phatthalung at that time which King Ko Lai built as a memorial and dedicated to the deceased father Mara Made using red sandstone. and decay over time There are only 2 heads left until in 1964 Phra Mahaphant Thammanako, former abbot of Wat Khian Bang Kaew. The head of the Buddha image was rebuilt and completed in 1970 until the present.

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านนศาสนสถาน ( RELIGIOUS TOURIST ATTRACTIONS ) พระพุทธรูปสองพี่น้อง วัดเขียนบางแก้ว





แหล่งท่องเที่ยวทางด้านวิถีชีวิต ( WAY OF LIFE) ประกอบด้วย 1. แกะรูปหนังตะลุง 2. บ้านปากพล 1. แกะรูปหนังตะลุง “หนังตะลุง”เป็นคำเรียกขานการแสดงพื้นบ้านที่นิยมแพร่ หลาย ทั่วไปในภาคใต้ แสดงโดยการเชิดตัวหนังให้เคลื่อนไหวกิริยาให้เข้ารับ บทพากย์ ผูกเรื่องให้สนุกสนาน สะท้อนสังคม การเมือง เดิมการแกะ หนังตะลุงเป็นการแกะเพื่อใช้สำหรับการแสดงมหรสพพื้นบ้านโดย เฉพาะ รูปที่แกะส่วนมาก คือตัวที่ใช้ในการแสดงเช่น ตัวฤาษี ตัวพระ ตัวนาง หนูนุ้ย เท่ง ทอง เป็นต้น ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ เพื่อให้เหมาะกับการนำเป็นของขวัญของฝากที่ ใช้สำหรับแขวนผนัง รูปที่ใช้จึงเปลี่ยนไปส่วนใหญ่นิยมใช้รูปในวรรณคดี เช่นพระรามนาง สีดา หนุมาน นางฟ้า เทวดี ครุฑ ภาพทิวทัศน์ บุคคลสำคัญ เป็นต้น เชื่อกันว่าหนังตะลุงเกิดขึ้นครั้งแรกที่บ้านควนมะพร้าวอำเภอเมืองฯ จังหวัดพัทลุง โดยมีตาหนูนุ้ย และตาหนักทอง ได้เป็นผู้คิดนำหนังวัว มาแกะเป็นรูปและเชิดเล่าเรื่องราวพูดคุยกันโดยใช้เสา หลักซึ่งใช้ล่าม ช้าง ที่เรียกว่า “ตะลุง” เป็นเสาโรงหนัง จึงได้เรียกว่า“หนังตะลุง”มา จนทุกวันนี้ บางตำนานก็เรียกว่าหนังตา หนังลุง เพราะเกิดจากการ เล่นหนังของตาหนูนุ้ยตาหนักทองดังกล่าว ตั้งอยู่ที่427หมู่ที่3 ตำบล เขาชัยสน อำเภอ เขาชัยสน shadow play จังหวัด พัทลุง “Nang Talung” is a popular local performance in Phrae. common in the south Performed by uplifting the movie to move the action to take on the role of dubbing. Tie the story for fun, reflecting society and politics. Originally, the carving of shadow puppets was specially used for folk theater performances. Most of the sheep These are the characters used in performances such as the hermit, the amulet, Nang Nui, Teng Thong, etc. Later, the format has been modified to suit the present as a souvenir. used for wall hanging The image used has therefore changed. Most of the images are used in literature. such as Rama, Nang Sita, Hanuman, Angel, Devadi, Garuda, landscape images, important people, etc. It is believed that Nang Talung was first born at Ban Khuan Maphrao, Muang District. Phatthalung Province with Ta Noi Nui and Ta Nak Tong, who came up with the idea of ​bringing cow skin to carve into a picture and chit-chat and tell stories using poles. The pillar used to interpret the elephants is called \"Talung\" as a cinema pillar. Therefore, it is called \"Nang Talung\" until today. In some legends, it's called the eyelids, the leather, because it was caused by playing the skins of the golden eyes of Nui Nui.

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านวิถีชีวิต ( WAY OF LIFE) แกะรู ปหนังตะลุง

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านวิถีชีวิต ( WAY OF LIFE) ประกอบด้วย 1. แกะรูปหนังตะลุง 2. บ้านปากพล 2. บ้านปากพล วิถีชีวิตประมงพื้นบ้านที่คิดค้นประดิษฐ์ยอขึ้นในการดักจับปลาโดย ตั้งอยู่ที่ หมู่9 เฉพาะโครงสร้างที่ทำด้วยไม้ไผ่ มีไม้คานยกยึดติดอยู่กับแขนยอ โดย บ้านปากพล ตัวยอมีรูปร่างเป็นแหสี่เหลี่ยม ยอของที่นี่มีขนาดใหญ่ หรือที่รู้จักกัน ต.นาปะขอ ว่า “ยอยักษ์” เป็นยอที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวต่างจากที่อื่น นอกจาก อ.บางแก้ว นี้กิจกรรมพิเศษคือ การได้นั่งเรือไปสัมผัสวิถีชีวิตการยกยอยักษ์ของ จ.พัทลุง ชาวบ้าน ที่ต่างช่วยกันดักจับปลา เป็นการสัมผัสวิถีชีวิตของพัทลุงที่ เรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยเสน่ห์ให้ชวนหลงใหลอย่างบอกไม่ถูก กลาย เป็นสวรรค์ของนักถ่ายภาพทั้งหลาย ซึ่งแสงแรกนี้จะสวยที่สุดในช่วง ฤดูร้อน และในฤดูฝนจะเห็นปลาที่ชุกชมมากกว่า Pakphon House Local fishermen's way of life invented to trap fish, especially structures made of bamboo. There is a cantilever attached to the yog's arm. The yor has the shape of a square net. Yo's here is big. Also known as \"Yor Yak\", it is unique and different from other places. In addition, special activities are Getting on a boat to experience the way of life of the giants of the villagers that help each other catch fish It is an experience of the simple way of life of Phatthalung, but with a hidden charm that is unbelievably mesmerizing. become a paradise for all photographers The first light is the most beautiful in summer. And in the rainy season will see the fish that are more abundant.

แหล่งท่องเที่ยวทางด้านวิถีชีวิต ( WAY OF LIFE) บ้านปากพล

บันทึกการเดินทาง

บันทึกการเดินทาง

ธารน้ำเย็น พายเรือเข้าถ้ำชมหินงอกหินย้อย ชมถ้ำสุขใจ ถ้ำลอกอ ที่อยู่: ต.เขาชัยสน อ.เขาชัยสน จ.พั ทลุง 93130