Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่-3-โรคกับโภชนการ

ชุดที่-3-โรคกับโภชนการ

Published by moowhanwongtawan, 2021-11-18 07:53:24

Description: ชุดที่-3-โรคกับโภชนการ

Search

Read the Text Version

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรื่องโภชนาการกบั สขุ ภาพ ชุดที่ 3 โรคกบั โภชนาการ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 1 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ สาระการเรียนรู้ที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค มาตรฐานการเรียนรู้ พ 4.1 เห็นคณุ ค่าและมที ักษะในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การดารงสขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ ตัวชวี้ ัด พ 4.1 ม.1/2 วเิ คราะหป์ ญั หาทเี่ กดิ จากภาวะโภชนาการที่มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. แยกแยะระหวา่ งบุคคลท่ีมีภาวะโภชนาการทีด่ ีและบุคคลทม่ี ีภาวะโภชนาการทไ่ี ม่ดไี ด้ (K) 2. สารวจจานวนผทู้ มี่ ภี าวะโภชนาการท่ดี แี ละไมด่ ใี นหอ้ งเรยี นได้ (P) 3. วเิ คราะห์สาเหตุ อาการ และการปอ้ งกนั โรคทเ่ี กดิ จากภาวะโภชนาการได้ (K) 4. เห็นความสาคัญของการรบั ประทานอาหารใหถ้ ูกสัดส่วนและตามหลักโภชนาการ (A) สาระสาคัญ อาหารให้ทั้งคุณและโทษแก่มนุษย์ การขาดสารอาหารทาให้เป็นโรคได้ และการกินอาหารมากไป หรือไม่เหมาะสม ก็ทาให้เกิดโรคได้เช่นกัน ภาวะนี้เรียกว่า ภาวะทุพโภชนาการ การได้รับสารอาหาร ในปริมาณท่ีถูกกับสัดส่วนตามหลักโภชนาการ จะช่วยให้มนุษย์เจริญเติบโตตามวัย และปราศจากโรคภัย ไขเ้ จ็บ ดังคากลา่ วทวี่ า่ กนิ อาหารให้เปน็ ยา เพ่อื ใหม้ สี ุขภาพทด่ี ี สมบรู ณแ์ ข็งแรง

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรื่องโภชนาการกบั สขุ ภาพ 2 ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่ืองโรคกบั โภชนาการ คาช้ีแจง โปรดเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุด แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงในกระดาษคาตอบ ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 10 นาที 1. ข้อใดเปน็ ลักษณะของภาวะโภชนาการทดี่ ี 1. นา้ หนกั และส่วนสงู เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. เปน็ โรคความดนั โลหติ สงู 3. เจ็บปว่ ยเป็นโรคอยบู่ ่อย ๆ 4. ร่างกายซูบผอม 2. ขอ้ ใดไม่ใช่สาเหตขุ องภาวะโภชนาการเกิน 1. รับประทานอาหารทมี่ ีไขมนั เปน็ ประจ้า 2. ขาดการออกก้าลงั กาย 3. ทา้ งานหนกั 4. พันธกุ รรม 3. การปฏบิ ัติตนในข้อใดสง่ ผลใหเ้ กดิ ภาวะทุพโภชนาการ 1. รบั ประทานอาหารเฉพาะท่ีชอบ 2. หลกี เลย่ี งอาหารฟาสตฟ์ ู้ด 3. รับประทานอาหารหลากหลาย 4. รบั ประทานอาหารราคาถกู 4. ขอ้ ใดเป็นผลกระทบในด้านสุขภาพจากปญั หาภาวะโภชนาการ 1. มรี ปู ร่างอว้ นจึงหาซอื เสือผ้าใส่ยาก 2. มีรปู รา่ งอว้ นจงึ เหนื่อยง่ายเมอ่ื ท้างานหนัก 3. มีนา้ หนักตวั นอ้ ยจงึ ชอบโดนเพื่อน ๆ แกล้ง 4. มีน้าหนักตัวน้อยท้าให้บุคลกิ ภาพไมด่ ี

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เร่อื งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 3 ชุดท่ี 3 โรคกับโภชนาการ 5 ขอ้ ใดแสดงความสัมพนั ธข์ องพฤติกรรมโภชนาการกับสุขภาพทีถ่ ูกต้อง 1. การรบั ประทานอาหารมาก จะชว่ ยให้ร่างกายแขง็ แรง 2. การรับประทานอาหารน้อย จะช่วยใหม้ ีรปู รา่ งทส่ี วยงาม 3. การรับประทานอาหารเกนิ ความต้องการของร่างกายจะท้าใหเ้ ปน็ โรคอว้ น 4. การรับประทานอาหารทม่ี สี ารอาหารครบถว้ น จะเส่ยี งตอ่ การเป็นโรคเบาหวาน 6 ข้อใดไม่ใช่โรคเรือรังที่มีสาเหตมุ าจากความอว้ น 1. โรคหัวใจ 2. โรคไขข้ออักเสบ 3. โรคกระดูกพรุน 4. โรคความดันโลหิตสูง 7. กรกนกมองเห็นได้ไม่ชัดในตอนกลางคืน และตาสู้แสงไม่ได้ กรกนกควรเลือกรับประทานอาหารชนิดใด เพ่อื ช่วยในการมองเหน็ 1. ปลาหมึก กงุ้ หอย 2. เครื่องในสัตว์ ตับ ก้งุ แหง้ 3. ถ่วั เหลอื ง ข้าวกล้อง เนอื หมู 4. ไข่แดง นา้ มนั ตับปลา ผักใบเขียว 8. บคุ คลใดต่อไปนีจดั ไดว้ า่ มีภาวะโภชนาการดี 1. วาวาชอบรับประทานอาหารหลากสีสนั 2. ขวัญทานมังสวริ ตั ิซง่ึ ไมม่ ีเนือสัตว์ 3. เปตองรบั ประทานอาหารนอกบ้านเปน็ ประจา้ 4. ครมี มกั รบั ประทานอาหารหลากหลายประเภท 9. คนท่ีมีอาการตอ่ มไทรอยด์บวมโต มกี ้อนกลมโตท่บี ริเวณคอหอย แสดงวา่ เปน็ โรคอะไร 1. โรคเหนบ็ ชา 2. โรคขาดสารอาหาร 3. โรคคอพอก 4. โรคหลอดลมอักเสบ 10. คนที่เปน็ โรคเบาหวานควรหลกี เล่ียงอาหารประเภทใด 1. อาหารท่มี โี ปรตนี สงู 2. อาหารท่ีมรี สจดั 3. อาหารทีใ่ หพ้ ลังงานสงู 4. อาหารท่มี รี สหวาน

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่องโภชนาการกับสขุ ภาพ 4 ชดุ ท่ี 3 โรคกับโภชนาการ ช่อื ...........................................สกลุ ................................................เลขที.่ ................ช้ัน............... กระดาษคาตอบ ขอ้ ท่ี 1 2345 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตงั้ ใจทาแบบทดสอบกนั นะคะเด็ก ๆ

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรื่องโภชนาการกับสขุ ภาพ 5 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ แนะนาตัวละคร เปตอง คิม เซน วาวา ครมี

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่องโภชนาการกับสขุ ภาพ 6 ชุดท่ี 3 โรคกับโภชนาการ ตอนโภชนาการคอื อะไร นี่พวกเธอฉันปวดทอ้ งจังเลย ฉนั ว่าพวกเราพาเปตอง รสู้ ึกคลน่ื ไส้และไม่มีแรงด้วย ไปหอ้ งพยาบาลกนั เถอะ วนั นพี ี่คมิ กับพีเ่ ซนเป็น ไปกินอะไรผิดสา้ แดง เวรดแู ลหอ้ งพยาบาล มาหรอื เปลา่ เปตอง ฉันจะได้ใกลช้ ดิ พี่คิม อิอิ น้อง ๆ มีอะไรใหพ้ ชี่ ่วยหรือครับ พ่วี า่ อาการเหมือน อาหารเปน็ พิษนะ เพ่ือนหนเู ขาปวดท้อง แล้วก็อาเจียนคะ่ ครบั ทา้ ไงดีพ่เี ซน ครูเคยบอกว่าถ้า ลองดูก่อนนะครับ แต่ทีส่ า้ คญั น้องต้อง อาหารเป็นพษิ กินอาหารให้ถกู หลักโภชนาการ ใหช้ งน้าเกลือแรด่ ม่ื ด้วยนะครบั จะไดไ้ มท่ ้าใหเ้ ป็นโรค ถ้าอาการไมด่ ีขึน อาหารเป็นพิษครับ ตอ้ งไปหาหมอนะ

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ืองโภชนาการกับสุขภาพ 7 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ น้องอยู่ ม.1 กันใช่ไหมครบั ลองไปศึกษา รู้สึกดีขนึ มานดิ หน่ึง ไม่เพลยี ละ เกีย่ วกับโรคและโภชนาการ ในชุด แต่กย็ ังปวดท้องอยูด่ ี กิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีครแู น๊ตให้เรียนรดู้ ู พี่ว่าน้องพาเพอื่ นไป นะครับ แล้วน้องจะรูห้ ลายเรื่องเลยครบั ห้องธุรการแลว้ โทร ให้ผู้ปกครองมารบั เดีย๋ วพวกหนจู ะลองไป ศึกษาดูนะคะ วา่ แต่ ดีกวา่ นะครบั เปตองร้สู ึกเป็นไงบา้ ง ไม่รนู้ ะคะ แล้วอย่าลมื ไปศกึ ษา คะ่ ! ขอบคุณนะคะ เรอ่ื งโรคกับโภชนาการดูนะครับ พเี่ ซน พี่คิม ครบั ! ขอบคณุ ครบั พ่เี ชน พค่ี มิ พค่ี มิ น่ารัก ที่สดุ เลย

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ เร่อื งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 8 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ ใบความรู้ ภาวะโภชนาการท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพ เรื่อง โภชนาการกับสขุ ภาพ อาหารและโภชนาการ เป็นปจั จยั สา้ คัญในการด้ารงชีวิตของมนุษย์ ถ้าเรามีภาวะโภชนาการท่ีดี ก็ จะช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ตรงกันข้ามหากเราได้รับสารอาหารท่ีมากหรือน้อยเกินไปย่อมก่อให้เกิด ภาวะโภชนาการเกนิ หรือภาวะทพุ โภชนาการขนึ ได้ การได้เรียนรู้ถึงหลักการบริโภคอาหารและโภชนาการตามหลักโภชนบัญญัติ จะท้าให้มนุษย์เรา สามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะในวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยท่ีมีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว การเลือกบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมกับวัย จะมีส่วนส้าคัญอย่างมากต่อการสร้างเสริมสุขภาพให้ สมบรู ณ์ แขง็ แรงสมวัย 1 ความร้ทู ั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ คนเราจะมีสุขภาพท่ีดีได้นัน การรับประทานอาหารนับเป็นปัจจัยอันดับแรก ๆ เราจึงจ้าเป็นต้องมี ความรู้ทางด้านโภชนาการและอาหาร เพ่ือจะได้เลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ ได้สัดส่วนที่เหมาะสม กบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย อนั เป็นการเสริมสรา้ งสขุ ภาพที่ดีให้หา่ งไกลจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ โภชนาการ หมายถึง การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับอาหารและการเปล่ียนแปลงของอาหารที่เข้าไปใน รา่ งกาย รวมทังการปรุงแต่งอาหารให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายของบุคคล แล้วสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ใน การเจริญเตบิ โต และการซ่อมแซมส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่องโภชนาการกบั สุขภาพ 9 ชดุ ท่ี 3 โรคกับโภชนาการ 2 ภาวะโภชนาการ ภาวะโภชนาการ หมายถึง สภาพหรือสภาวะของร่างกายอนั เนื่องมาจากการบริโภคอาหาร ซึ่งร่างกาย นา้ อาหารท่ีได้รับไปใช้เพื่อความเจริญเติบโต ซ่อมแซมสว่ นทสี่ ึกหรอของร่างกาย ตลอดจนชว่ ยให้อวยั วะตา่ ง ๆ ของรา่ งกายท้างานได้ตามปกติ โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อภาวะโภชนาการ เช่น ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา ส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม รูปแบบการบริโภคอาหาร ตลอดจนสภาพร่างกายและ จติ ใจ เป็นตน้ ซงึ่ สรปุ ง่าย ๆ ดงั แผนภาพ เลอื กรบั ประทานผิด “ชวี ิตเปลย่ี นเลย นะครบั เพื่อนๆ” ทีม่ า : http://janyagooghealth.blogspot.com/2012/10/blog-post_24.html 2.1 ประเภทของภาวะโภชนาการ ภาวะโภชนาการ แบ่งออกเป็น ภาวะโภชนาการท่ีดีเมื่อได้รับสารอาหารท่ีเหมาะสมและ เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย และภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งมีทังภาวะโภชนาการต้่า และภาวะ โภชนาการเกิน เน่อื งจากได้รบั อาหารไม่เพียงพอตอ่ ความต้องการของรา่ งกายอาจท้าให้มีสุขภาพทไ่ี ม่ดไี ด้ โดย มรี ายละเอยี ด ดังนี

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกับสขุ ภาพ 10 ชดุ ท่ี 3 โรคกับโภชนาการ 0 2.1.1 ภาวะโภชนาการท่ดี ี คือ การท่ีร่างกายได้บริโภคอาหารในปริมาณท่ีเพียงพอ ถูกสัดส่วน หลากหลาย เหมาะสม และครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย ท้าให้สามารถน้าสารอาหารท่ีได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ กับร่างกายและจิตใจ ส่งผลให้มีสมรรถภาพร่างกายที่ดี การรับประทานอาหารที่ดีควรทานอาหารให้ครบ ทัง 5 หมู่ ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามินและเกลือแร่ ท่ีมีอยู่ในอาหารทั่วไป จ้าพวกเนือสัตว์ นม ไข่ ผัก และผลไม้ รวมถึง ธัญพืชท่ีอุดมไปด้วยสารอาหารต่าง ๆ มากมาย และในปัจจุบันนิยมน้ามาบริโภค เป็นอาหาร และเครื่องด่ืมส้าเร็จรูปในแบบต่าง ๆ พร้อมมีวางจ้าหน่ายในท้องตลาดทั่วไป รวมถึงผลิตภัณฑ์ โกลด์คัพ ที่มีการน้าเอาเมล็ดธัญพืชชนิดต่าง ๆ มาท้าเป็นเครื่องด่ืมธัญญาหารส้าเร็จรูป ที่ประกอบไปด้วย คุณค่าจากโปรตีน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน และเกลือแร่ ท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย และไม่มีคลอเรสเตอรอล จงึ ท้าให้ ครบครนั ด้วยสารอาหารท่ีร่างกายต้องการ 2.1.2 ภาวะโภชนาการทไ่ี ม่ดีหรอื ภาวะทพุ โภชนาการ หมายถึง การท่ีร่างกายบริโภคอาหารในลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ทงั ในดา้ นปรมิ าณและสดั สว่ น ท้าใหร้ ่างกายเกิดภาวะโภชนาการทีไ่ มด่ ีขึน ซึง่ แบ่งออกเปน็ ภาวะโภชนาการต่า หรือภาวะขาด ทมี่ า : https://oknation.net/blog/print. สารอาหาร หมายถึง ภาวะท่ีเกิดจากการบริโภคอาหารไม่ เพียงพอ หรือได้รับสารอาหารไม่ครบตามความต้องการของ php?id=55788 ร่างกาย ซ่ึงมีผลท้าให้สุขภาพไม่แข็งแรง อาจก่อให้เกิดโรค หรอื มคี วามตา้ นทานต่อโรคต่าง ๆ ไดน้ ้อย เจ็บป่วยงา่ ย ที่มา : https://sites.google.com/site/ khruxeuxngthpniy/phawa-phochnakar- ภาวะโภชนาการเกิน หมายถึง kab-sukhphaph ภาวะท่ีเกิดจากการบริโภคอาหารหรือสารอาหารที่เกินต่อ ความต้องการของร่างกาย เช่น บริโภคอาหารที่ให้พลังงาน เกินกว่าท่ีร่างกายจะใช้ ร่างกายจึงเกิดการสะสมพลังงาน เหล่านันไว้ในรูปของไขมัน ท้าให้เกิดโรคอ้วน หรือหมาย รวมถึงการได้รับวิตามินบางชนิดมากเกินไป ก็อาจสะสม จนกอ่ ให้เกดิ อันตรายต่อร่างกายไดเ้ ช่นกัน เช่น วิตามนิ เอ วติ ามนิ ดี วิตามนิ อี วิตามนิ เค โรคทเ่ี กิดจากภาวะทุพโภชนาการ เชน่ โรคเกาต์ โรค เลอื ดจาง โรคเหน็บชา โรคปากนกกระจอก โรคคอพอก โรค ตาฟาง โรคอ้วน โรคความดนั โลหิตสงู โรคเบาหวาน โรคไต โรคขาดโปรตีน โรคน่วิ โรคลักปดิ ลกั เปิด โรคหัวใจขาดเลือด

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 11 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ คะแนน ภาวะโภชนาการท่ดี ีและไมด่ ี ชื่อ.........................................สกุล.........................................เลขที.่ .............ชนั้ ................... คาชแี้ จง ตอนท่ี 1 ใหน้ กั เรยี นนาคาต่อไปนีไ้ ปเตมิ ลงในตารางแยกแยะระหวา่ งคนทมี่ ภี าวะโภชนาการท่ดี ี และคนท่มี ภี าวะโภชนาการท่ีไมด่ ีใหถ้ ูกต้อง รา่ งกายสมบรู ณ์ ภาวะโภชนาการเกนิ ภาวะโภชนาการตา่ ภมู ติ า้ นทานตา่ การรับประทานอาหารที่มไี ขมนั มากเกนิ ไป โรคอว้ น น้าหนกั น้อยกว่าเกณฑ์ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ โรคความดันโลหิตสงู โรคหัวใจขาดเลอื ด ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ สุขภาพจติ ดี โรคตาฟาง รบั ประทานอาหารถูกสดั ส่วน ลกั ษณะของคนท่ีมภี าวะโภชนาการท่ีดี ลักษณะของคนที่มภี าวะโภชนาการท่ไี ม่ดี ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรยี นสารวจนกั เรียนทมี่ ีภาวะโภชนาการท่ดี ี และไมด่ ใี นห้องเรยี นแลว้ บันทึกผล จ้านวนนักเรียนทงั หมดในห้องเรียนม.ี ..........................คน จ้านวนนักเรยี นทม่ี ภี าวะโภชนาการทด่ี ีมีทังหมด.............................................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................ จา้ นวนนกั เรียนที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่ดีมีทงั หมด.........................................คน คิดเปน็ ร้อยละ................

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องโภชนาการกบั สุขภาพ 12 ชุดท่ี 3 โรคกับโภชนาการ ตอน โรคทเี่ กิดจากภาวะโภชนาการ คุณครูคะ! วันหยดุ ท่ีผ่านมาพวกหนูไดไ้ ปชว่ ยแม่ แจกยาและวดั ความดนั ให้กับคนทเ่ี ป็นโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสงู ในหมบู่ ้านมาด้วยนะคะ เปลา่ ค่ะครู คุณแม่ของพวกหนเู ป็นเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข แมข่ องพวกหนเู ปน็ อสม.ค่ะ ในหม่บู า้ นเหรอคะ หนูเหน็ คนท่มี า ส่วนใหญ่ อายุ 50 ปีขนึ ไปค่ะ แล้วกเ็ ป็นโรคเบาหวานกบั โรคความดนั โลหิตสงู กันเยอะมากเลยค่ะ ดจี ังเลยนะคะ แลว้ พวกหนูได้ มี อสม. คอยดูแล ถามเขาไหมคะวา่ คนป่วยในหมบู่ ้าน ทา้ ไมเขาถึงเป็น โรคนกี ันเยอะจงั ด้วย ถูกต้องแลว้ ค่ะ แล้วหนู ๆ คิดว่าโรคท่ีเกดิ จาก พี่พยาบาลท่เี ขามาแจกยาบอกว่าส่วนใหญ่ การรับประทานอาหารไม่ถูกหลกั โภชนาการ เป็นเพราะการรบั ประทานอาหาร ไม่ถูกหลกั โภชนาการค่ะ ยังมโี รคอื่นอกี ไหมคะ แลว้ บางสว่ นกเ็ ปน็ เพราะ หนูไม่แน่ใจคะ่ พันธุกรรมด้วยค่ะ นา่ จะโรคหวั ใจ หรือเปล่าคะ

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ืองโภชนาการกบั สขุ ภาพ 13 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ ใช่แล้วคะ่ แต่ยังมีโรคอ่ืน ๆ อีก งนั ครวู ่าเดย๋ี วเราไปเอาเอกสาร มากมายเลยนะคะ พวกหนูอยากรู้ มาลองศึกษากนั ดูนะคะ ไหมคะว่ามีโรคอะไรอีกบา้ ง อยากรู้ค่ะ พวกเธอจะไปไหนกัน ตามมาเลยจ้า! ฉนั ไปด้วยคนซิ

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรอื่ งโภชนาการกับสขุ ภาพ 1144 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ ใบความรู้ ปัญหาการเกิดโรคจากภาวะทุพโภชนาการ เรอื่ ง อาหารและโภชนาการเป็นสิ่งที่ส้าคัญอย่างมาก การเลือกบริโภคอาหารท่ีดีมีประโยชน์และถูกต้อง ยอ่ มมีผลดตี อ่ ร่างกาย แตถ่ ้าเลือกบริโภคอาหารไมถ่ ูกต้อง ยอ่ มก่อให้เกิดโรคตา่ ง ๆ และมีโทษตอ่ รา่ งกายได้ ซ่ึงโรคที่เกิดจากภาวะทุพโภชนาการ สามารถแบ่งออกได้เป็นโรคภาวะโภชนาการเกินและโรคภาวะ โภชนาการต่้า ดงั นี โรคท่ีเกดิ จากภาวะโภชนาการเกิน ได้แก่ 1.โรคอ้วน เป็นโรคหนึ่งซึ่งเกิดจากภาวะโภชนาการเกินส่งผลให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไขข้ออักเสบ โรคเก่ียวกับทางเดินหายใจ เปน็ ต้น 1.1 สาเหตุ 1) รับประทานอาหารมากเกินกว่าท่ีร่างกาย ต้องการ รวมไปถึงการเลือกรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ด รับประทานอาหารที่มีไขมันมาก เกินความต้องการของร่างกาย หรือการรับประทานอาหารหวาน จัด เชน่ นา้ อัดลม ขนมเคก้ ขนมหวานตา่ ง ๆ 2) ขาดการออกกาลังกาย เมื่อร่างกายไม่ได้มกี าร ใช้พ ลังงาน สารอาห ารต่าง ๆ ท่ี เรารับ ป ระท าน เข้าไป จึง แปรเปล่ียนเปน็ ไขมันไปสะสมอยตู่ ามสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย ธุ์ 3) พันธุกรรม มีงานวิจัยพบว่า หากบิดามารดา คนใดคนหน่ึงหรือทัง 2 คนเป็นโรคอ้วน มีโอกาสที่จะท้าให้บุตร มโี อกาสเป็นโรคอ้วนสูงกวา่ เด็กปกติ ท่มี า : www.lovefit.com 4) ความผิดปกติของร่างกาย บางครังโรคอ้วนอาจจะเกิดจากความผิดปกติของ ต่อมไทรอยด์ท่ีอยู่ในร่างกาย โดยต่อมไทรอยด์นีจะผลิตฮอร์โมน “ไทรอกซิน”ซ่ึงถ้าต่อมไทรอยด์ผิดปกติ ฮอรโ์ มนนีจะถูกผลิตออกมาน้อย จะทา้ ให้ร่างกายเผาผลาญพลงั งานได้ไม่ดี เกิดการสะสมไขมันไว้มาก เกิดโรค อว้ นได้ 1.2 อาการของโรคอว้ น ผู้ท่ีมีภาวะอ้วน คือ ผู้ท่ีมีไขมันส่วนเกินสะสมอยู่ในร่างกายปริมาณมาก ท้าให้เกิดผลกระทบ ต่อสุขภาพ คือ หายใจติดขัด นอนกรน เหน่ือยง่าย ร้อนง่าย เหงื่อออกง่าย ท้ากิจกรรมต่าง ๆ ได้ยากล้าบาก จนอาจท้าให้เกิดปัญหาสุขภาพอ่ืน ๆ รวมถึงความไม่ม่ันใจในตนเอง อาจท้าให้มีปัญหาด้านความสัมพันธ์หรือ การเข้าสงั คม และปญั หาสุขภาพจติ อยา่ งภาวะซึมเศร้าทีอ่ าจเกดิ ขนึ ตามมา

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 15 ชุดท่ี 3 โรคกับโภชนาการ 1.3 การลดความอ้วน 1) ลดอาหารประเภท แปง้ น้าตาล และไขมัน 2) ลดปรมิ าณอาหารในแต่ละมือลง แตย่ ังต้องรบั ประทานให้ครบ 5 หมู่ 3) ไมร่ บั ประทานจบุ จบิ 4) ไม่ดื่มหรอื รบั ประทานอาหารท่มี นี ้าตาลสูง เชน่ น้าอัดลม ขนมรสหวานจัด 5) อาหารมือเย็นเป็นมือที่มักจะรบั ประทานเกินกวา่ ที่ร่างกายจะนา้ ไปใชไ้ ดห้ มด ดังนนั ควร ลดปริมาณอาหารมือเย็นลง และงดรบั ประทานอาหารมือดึก 6) อาจรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึน ทดแทนข้าว แป้ง ขนมหวาน โดยต้องเลือกผลไม้ที่รส ไม่หวานจัด ( ผลไม้บางชนิดมีแป้งและน้าตาลสูง ควรงดรับประทาน เช่น สับปะรด ทุเรียน ขนุน กลว้ ยนา้ ว้า ) 7) ออกก้าลังกายสม้่าเสมอ เพื่อเร่งการเผาผลาญไขมันส่วนเกินออกไป โดยออกก้าลังกายให้ หวั ใจเต้นแรงกว่าปกติ ตอ่ เน่อื งกนั อยา่ งน้อย 30 นาที อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 3 ครัง 2. โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน เกิดจากความผิดปกติของร่างกายท่ีมีการผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ ร่างกายจะ ไม่สามารถน้าน้าตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้าให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงขึน โดยในระยะยาว จะส่งผลให้เกิดการทา้ ลายหลอดเลือด และนา้ ไปสู่ภาวะแทรกซอ้ นของโรคเบาหวานทรี่ ุนแรงมากขึน องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่าปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคเบาหวานท่ัวโลกเป็นจ้านวนมากกว่า 425 ล้านคน และมแี นวโน้มเพ่ิมขนึ ถงึ 642 ลา้ นคนในปีพ.ศ. 2583 จากผลส้ารวจสุขภาพประชาชนไทยครังล่าสุดเมื่อปี 2557 พบว่าคนไทยประมาณ 4.8 ล้านคนเป็น โรคเบาหวาน และมีจ้านวนเพิ่มขึนทุกปี จากสถิติพบว่า ประชากรในวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คน เป็นโรคเบาหวาน และผทู้ เี่ ปน็ โรคเบาหวาน ร้อยละ 50 ไม่ทราบวา่ ตนเองเป็นโรค และคณุ อาจเป็นหนึ่งในนนั ดังนนั การตรวจคัด กรองโรคแตเ่ น่ินและเข้ารับการรักษาอยา่ งทนั ทว่ งที จะชว่ ยลดความรนุ แรงของอาการแทรกซ้อนจากโรคได้ ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=JFjPZkkSztA

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกับสขุ ภาพ 16 ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ 2.1 สาเหตขุ องโรคเบาหวาน ได้แก่ 1. ผู้ทอ่ี ายุมากกว่า 35 ปีขึนไปเป็นกลุ่มเส่ียงตอ่ โรคเบาหวาน 2. ผู้ทอี่ ว้ น (มีคา่ ดัชนมี วลกายหรือ BMI มากกวา่ 25) และมีญาตสิ ายตรงเปน็ โรคเบาหวาน 3. มโี รคความดนั โลหติ สงู 4. ระดับไขมันในเลือดผดิ ปกติ 5. มปี ระวัติเปน็ โรคเบาหวานขณะตงั ครรภ์ หรอื มีประวตั คิ ลอดทารกน้าหนกั เกนิ 4 กิโลกรมั 6. มโี รคหัวใจและหลอดเลือด 7. สตรีทีม่ ีภาวะถงุ นา้ รังไข่ (Polycystic Ovary Syndrome) 2.2 อาการของโรคเบาหวาน 1. เหน่อื ย ออ่ นเพลยี 2. ผวิ แหง้ เกิดอาการคนั บริเวณผวิ 3. ตาแห้ง 4. มอี าการชาทีเ่ ท้า หรือรสู้ กึ เจ็บแปลบ ๆ ทป่ี ลายเท้า หรือท่เี ทา้ 5. ร่างกายซูบผอมลงทผี่ ิดปกติ โดยไม่สามารถหาสาเหตุได้ 6. เมื่อเกิดบาดแผลทบ่ี ริเวณตา่ ง ๆ ของร่างกายมักหายชา้ กวา่ ปกติ โดยเฉพาะแผลทเ่ี กิดกบั บรเิ วณเท้า 7. สายตาพรา่ มวั ในแบบท่ีหาสาเหตุไม่ได้ 2.3 การป้องกันโรคเบาหวาน การรักษาผู้ป่วยเบาหวานในประเภทท่ี 1 จ้าเป็นต้องได้รับฮอร์โมนอินซูลินเข้าไปทดแทนใน ร่างกายด้วยการฉีดยาเป็นหลัก ควบคู่ไปกับการคุมอาหารและออกก้าลังกายท่ีเหมาะสม ในขณะท่ี โรคเบาหวานประเภทที่ 2 หากเป็นในระยะแรก ๆ สามารถรักษาได้ด้วยการรับประทานอาหารท่ีเหมาะสม การออกก้าลัง และควบคุมน้าหนัก หากอาการไม่ดีขึน แพทย์อาจให้ยาควบคู่ไปด้วยหรือฉีดอินซูลินเข้าไป ทดแทนเชน่ เดียวกับโรคเบาหวานชนดิ ที่ 1 สา้ หรับผ้เู ป็นโรคเบาหวานขณะตังครรภ์ ควรเขา้ ฝากครรภก์ ับแพทยต์ ังแตใ่ นระยะแรก พรอ้ ม ทงั ควบคุมอาหารท่รี ับประทานและออกกา้ ลงั กายตามค้าแนะน้าของแพทย์ นอกจากนี ในกรณีท่ีผู้ป่วยเกิดแผลเบาหวานขึนท่ีเท้า แพทย์อาจให้ผู้ป่วยใส่อุปกรณ์ป้องกันแผล เช่น รองเท้าส้าหรับผู้ป่วย เบาหวาน เฝือก หรือผ้าพันแผล เป็นต้น หากแผลเริ่มมีลักษณะรุนแรง ขึน แพทย์อาจวางแผนการรักษาตามความเหมาะสมขึนอยู่กับระดับ ความรุนแรงของแผลเบาหวานที่เป็น ทังนี หากรักษาแล้วอาการไม่ดีขึน แพทยอ์ าจตอ้ งตดั อวยั วะทงิ เพ่ือป้องกันอาการลุกลาม ที่มา : http://www.medicthai.com/โรคเบาหวาน

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรื่องโภชนาการกับสขุ ภาพ 17 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ 2.4 ภาวะแทรกซอ้ นของโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคของหลอด เลือดสว่ นปลาย ภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หรอื เส้นประสาทสว่ ยปลาย โดยภาวะแทรกซอ้ นทพี่ บบ่อยที่สุด คือ ภาวะแทรกซอ้ นทางตา ซึ่งสามารถพบไดเ้ ปน็ จา้ นวนถงึ 1 ใน 3 ของผทู้ ีเ่ ป็นโรคเบาหวาน ทม่ี า : http://www.gel2life.com/knowledge/complications/ ภาพแสดงอวัยวะท่ีไดร้ ับผลกระทบจากโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจาก microvascular หลักของ โร ค เบ า ห ว า น ร ว ม ถึ ง ค ว า ม เสี ย ห า ย ต่ อ ต า ไต แ ล ะ เส้นประสาท ความเสียหายที่เกิดกับดวงตาหรือท่ีเรียกว่า diabetic retinopathy เกิดจากความเสียหายของหลอดเลือด ในจอประสาทตาและสามารถส่งผลให้ค่อย ๆ สูญเสียการ มองเห็นและอาจตาบอดในท่ีสุด ความเสียหายท่ีเกิดกบั ไตหรือที่ เรียกว่า diabetic nephropathy อาจน้าไปสู่การเกิดแผลบน เนือเยื่อ สูญเสียโปรตีนในปัสสาวะ และโรคไตเรือรังในท่ีสุด บางครังตอ้ งฟอกไตหรือการปลูกถ่ายไต ความเสยี หายทีเ่ กิดกบั เส้นประสาทของร่างกายที่เรียกว่า diabetic neuropathy เป็น ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุดของโรคเบาหวาน อาการเหล่านี ทม่ี า : www.tee1infinity.com อาจรวมถงึ อาการชา อาการเป็นเหน็บ ความเจบ็ ปวด และ ความรับรู้ในความเจ็บปวดมีการเปลี่ยนแปลง, ซ่ึงจะน้าไปสู่ความเสียหายกบั ผิวหนัง. ปัญหาเท้าท่ีเกีย่ วขอ้ งกับ โรคเบาหวาน (เชน่ แผลที่เท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน) อาจเกิดขึน และอาจเป็นเร่ืองยากในการรักษา บางครัง ต้องมีการตัดแขนขา นอกจากนีโรคเส้นประสาทเนื่องจากเบาหวาน (อังกฤษ: proximal diabetic neuropathy) ยังทา้ ใหเ้ กดิ การเจบ็ ปวดเน่อื งจากการสูญเสยี และความออ่ นแอของกล้ามเนือ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่ืองโภชนาการกบั สุขภาพ 18 ชดุ ท่ี 3 โรคกับโภชนาการ 2.5 ความรุนแรงของโรคเบาหวาน ในแต่ละวันจะมีจ้านวนผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 200 คน หรอื 8 รายต่อช่ัวโมง และมีเพียง 10 % ของผู้ป่วยเบาหวานที่มีชีวิตอยู่โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ประเทศไทยมียอดผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน เฉล่ียปีละกว่า 8,000 คน และพบว่าคนรุ่นใหม่มีโอกาสเป็นเบาหวานสูงขึนจากพฤติกรรมการด้าเนินชีวิตที่ เปล่ยี นไป สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation: IDF) ได้ก้าหนดให้วันท่ี 14 พฤศจิกายน ของทุกปีเป็นวันเบาหวานโลก โดยได้ก้าหนดสาระส้าคัญประจ้าปี 2018-2019 คือ “The Family and Diabetes” เพื่อสรา้ งให้เกิดความตระหนักรู้เก่ียวกับ ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง โ ร ค เ บ า ห ว า น ที่ มี ต่ อ บุคคลในครอบ ครัว น อกจากนี ยัง มุ่งให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัว ในการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ต ล อ ด จ น ก า ร ป้ อ ง กั น โ ร ค เบ า ห ว า น โ ด ย ก า ร ป รั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต อกี ด้วย ท่มี า : https://www.banmuang.co.th/news 3. โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันของกระแสเลือดท่ีกระทบต่อผนังหลอดเลือดแดง ซ่ึงเกิดจากการสูบ ฉีดของหัวใจ (คล้ายแรงลมที่ดันผนังของยางรถ เมื่อเราสูบลมเข้า) สามารถวัดได้โดยการใช้เคร่ืองวัดความดัน (Sphygmomanometer) วัดทีแ่ ขน และมคี า่ ที่วัดได้ 2 คา่ คือ ความดันช่วงบน หรือ ความดันซิสโตลี (Systolic blood pressure) หมายถึง แรงดันเลือดในขณะที่ หั วใจบี บ ตัว ซึ่งอาจจะสูงตามอายุ และความดันช่วงบนของคนคนเดียวกัน อ าจมี ค่ าท่ี ต่ างกั น อ อ ก ไป ต าม ท่ า เคลอ่ื นไหวของร่างกาย การเปล่ียนแปลง ของอารมณ์ และปริมาณของการออก กา้ ลังกาย ความดันช่วงลา่ ง หรอื ความดันไดแอสโตลี (Diastolic blood pressure) ห ม า ย ถึ ง แ ร ง ดั น เลื อ ด ในขณะที่หัวใจคลายตัว ในปัจจุบันได้มี การก้าหนดค่าความดันโลหิตปกติ และ ระดับความรนุ แรงของโรคความดันโลหิตสูง

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ืองโภชนาการกับสขุ ภาพ 19 ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ โรคความดันโลหิตสูง หมายถึง ภาวะที่ความดันช่วงบน มีค่าตังแต่ 130 มิลลิเมตรปรอทขึนไป และ/หรอื ความดันช่วงล่างมีค่าตังแต่ 80 มิลลิเมตรปรอทขนึ ไป 3.1 สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง 1. ผู้ป่วยท่ีเป็นโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ ประมาณ 90-95% แพทย์จะตรวจไม่พบโรค หรือภาวะ ผิดปกติ หรือส่ิงที่เป็นต้นเหตุของความดันโลหิตสูง เรียกว่า “ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุแน่ ชดั ” (Essential hypertension) 2. ผู้ป่วยท่ีเป็นโรคความดันโลหิตสูงส่วนน้อย ประมาณ 5 – 10 % แพทย์อาจตรวจพบโรค หรอื ภาวะ ผิดปกติ หรือสิ่งที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง เรียกว่า “ความดันโลหิตสูงชนิดทราบสาเหตุ”นันอาจ เกดิ ได้จากหลายสภาวะ ไดแ้ ก่ ▪ โรคไต เช่น โรคไตเรอื รัง ท่มี า: https://www.smpksr.com/article กรวยไตอักเสบเรือรัง หน่วยไตอักเสบ โรคถุงน้าไตชนดิ หลายถงุ ฯลฯ ▪ หลอดเลือดแดงไตตีบ (Renal artery stenosis) ▪ หลอดเลือดแดงใหญต่ ีบ (Coarctation of aorta) ▪ เนอื งอกบางชนิดของต่อมหมวกไตหรอื ต่อมใตส้ มอง 3.2 ปจั จัยเส่ียงต่อการเกิดโรคความดนั โลหิตสงู 1. พนั ธุกรรม โอกาสจะสูงมากขนึ เมื่อมีคนในครอบครัวเป็นโรคนี 2. โรคเบาหวาน เพราะกอ่ ให้เกิดการอักเสบตีบแคบของหลอดเลอื ดต่าง ๆ 3. โรคไตเร้ือรงั เพราะส่งผลถึงการสร้างเอนไซม์ และฮอรโ์ มนท่คี วบคุมความดนั โลหิต 4. น้าหนกั ตวั เกินและโรคอว้ น เพราะเป็นสาเหตุของโรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดต่าง ๆ ตีบจาก ภาวะไขมนั เกาะผนังหลอดเลือด 5. ภาวะหยดุ หายใจขณะหลับ (Sleep apnea) 6. การขาดการออกกาลังกาย เพราะเปน็ ปจั จยั เส่ียงของโรคอว้ นและเบาหวาน 7. การรับประทานอาหารเคม็ อยา่ งตอ่ เน่ือง ตามเหตุผลที่กลา่ วไป 8. การสบู บุหรี่ เพราะสารพิษในควนั บุหรส่ี ง่ ผลให้เกดิ การอักเสบตีบตนั ของหลอดเลือดต่าง ๆ รวมทัง หลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดไต 9. การดื่มแอลกอฮอร์ เพราะสง่ ผลให้หวั ใจเตน้ แรงกวา่ ปกติ และมโี อกาสเป็นโรคความดันโลหิตสงู ถงึ ประมาณ 50 % ของผ้ทู ่ตี ดิ สุราทงั หมด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกับสขุ ภาพ 20 ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ 3.3 อาการความดนั โลหิตสูง รายทีเ่ ป็นความดันโลหติ สูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่วนใหญจ่ ะมี ไม่อาการแสดงแต่อย่างใด และมักตรวจพบได้โดยบังเอิญจากการ ตรวจคัดกรองโรค มีส่วนน้อยที่อาจมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงท่ีต้น คอ เวียนศีรษะ ซึ่งมักจะเป็นตอนต่ืนนอนใหม่ ๆ บางรายอาจมีอาการ ปวดศีรษะตุบ ๆ แบบไมเกรน ส่วนในรายที่เป็นมานาน ๆ หรือมีความดันโลหิตสูงมาก ๆ อาจจะมีอาการอ่อน เพ ลีย เห นื่ อยง่าย ใจสั่น น อน ไม่ห ลับ ตามวั มือเทา้ ชา หรอื มเี ลือดก้าเดาไหล ทมี่ า : https://www.smpksr.com/article/28/ ความดนั โลหิตสูง-อาการ-สาเหตุ-วธิ รี กั ษา 3.4 การปฏบิ ัติตัวสาหรบั ผู้ป่วย / ผู้ท่ีมคี วามเส่ียง (Instruction for Patient / High-Risk Group) 1. บริโภคอาหารควบคุมความดันหรืออาหารแดช (Dietary approaches to stop hypertension– DASH Diet) โดยการเน้นรับประทานผักและผลไม้ท่ีมีกากใย ผลิตภัณฑ์นมที่มีไขมันต่้า เมล็ดธัญพืช ถ่ัวต่าง ๆ ลดการบริโภคเนือสัตวใ์ หญ่ แป้ง น้าตาล ของหวาน ไขมันอิ่มตัวและคอเลสเตอรอล และลดการบริโภคอาหาร เค็มหรือโซเดียม และงดหรือลดการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ โดยผู้ชายให้ด่ืมได้ไม่เกินวันละ 2 หน่วยการด่ืม (Drink) ซึ่งเทียบเท่ากับวิสกี 90 มิลลิลิตร ไวน์ 300 มิลลิลิตร หรือเบียร์ 720 มิลลิลิตร ส่วนผู้หญิงให้ด่ืมได้ไม่ เกนิ 1 หนว่ ยการด่ืม 2. งดการสบู บุหรี่ รวมถึงการใช้ยาเม็ดคุมก้าเนิด 3. ลดนา้ หนกั ให้มดี ชั นมี วลกาย (BMI) นอ้ ยกวา่ 25 กก./ม2 4. หมั่นออกก้าลังกายแบบแอโรบิกเป็นประจ้าให้ได้เกือบทุกวัน เช่น เดินเร็ว ว่ิงเหยาะ ข่ีจักรยาน วา่ ยนา้ อย่างนอ้ ยวันละ 30 นาที 5. รักษาสุขภาพจิตให้ดี ไม่เครียด เข้าใจและยอมรับชีวิต รวมถึงการหม่ันฝึกผ่อนคลายความเครียด และบริหารสุขภาพจิตอยู่เสมอ เช่น สวดมนต์ ท้าสมาธิ โยคะ ร้ามวยจีน ร้องเพลง เล่นดนตรี หรือท้างาน อดเิ รกต่าง ๆ ฯลฯ 3.5 การป้องกนั ไม่ให้เกิดโรค ( Disease Prevention ) 1. รบั ประทานอาหารทม่ี ีประโยชนใ์ หค้ รบ 5 หมู่ใน ปริมาณท่ีเหมาะทกุ วัน เน้นผักและผลไม้ชนิดไมห่ วานให้มาก ๆ และลดอาหารพวกไขมันชนดิ อมิ่ ตวั แปง้ น้าตาล ของหวาน และ อาหารเค็ม 2. ควบคมุ นา้ หนกั ตวั ให้อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ โดยให้มีค่าดัชนี มวลกาย (BMI) น้อยกวา่ 23 กก./ม.2 ความยาวรอบเอวน้อยกว่า 90 เซนติเมตรในผู้ชาย และ 80 เซนตเิ มตรในผู้หญิง ด้วยการ ควบคุมอาหารและหมั่นออกก้าลงั กายอยา่ งสม้า่ เสมอ ท่มี า : https://www.honestdocs.co/high- blood-pressure-in-adult-males

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่องโภชนาการกบั สขุ ภาพ 21 ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ 3. ออกก้าลงั กายแบบแอโรบกิ เปน็ ประจา้ เช่น การเดนิ เรว็ วิ่งเหยาะ ขจ่ี ักรยาน วา่ ยนา้ ครังละ 30 - 45 นาที สัปดาหล์ ะ 3 - 5 ครัง หรือวันเว้นวนั 4. พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอและรักษาสุขภาพจิตให้ดอี ยู่เสมอ 5. ลดปริมาณของเกลือโซเดียมที่บริโภคไม่ให้เกินวันละ 2.4 กรัม (เทียบเท่าเกลือแกง 6 กรัม หรือ ประมาณ 1 ชอ้ นชา) 6. ถ้าเป็นผู้ด่ืมแอลกอฮอล์อยู่แล้ว ส้าหรับผู้ชายควรจ้ากัดปริมาณของแอลกอฮอล์ให้ไม่เกินวันละ 2 หน่วยการด่ืม (เทยี บเทา่ กับวิสกี 90 มลิ ลิลิตร ไวน์ 300 มลิ ลลิ ิตร หรือเบียร์ 720 มิลลิลติ ร) สว่ นผ้หู ญงิ และผู้ ทมี่ ีน้าหนักตัวน้อยควรจ้ากัดปริมาณของการด่ืมแอลกอฮอล์ให้ไม่เกินวันละ 1 หน่วยการด่ืม (เทียบเท่ากับวิสกี 45 มลิ ลิลติ ร ไวน์ 3150 มลิ ลลิ ติ ร หรอื เบียร์ 360 มิลลิลิตร) 7. ปรึกษาแพทย์เก่ียวกับยาที่ใช้อยู่เพราะอาจมียาบางตัวที่ท้าให้เกิดความดันโลหิตสูงได้ ส่วนการใช้ ยาคมุ ก้าเนิดแนะนา้ ว่าควรปรึกษาแพทย์ 8. ผู้ท่ีมีอายุตังแต่ 18 ปีขึนไป แม้ว่าจะยังรู้สึกสบายดีก็ควรไปตรวจสุขภาพ ซ่ึงรวมถึงการตรวจวัด ความดนั โลหิตอย่างนอ้ ยทุก 2 ปี ส่วนผทู้ ี่มีอายุตังแต่ 35 ปขี ึนไป แนะน้าวา่ ควรไปตรวจวดั ความดนั โลหิตอยา่ ง น้อยปีละ 1 ครัง หรือตรวจบ่อยตามที่แพทย์หรือพยาบาลแนะน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ท่ีมีรูปร่างอ้วนหรือมี พอ่ แมพ่ ี่นอ้ งเปน็ โรคนี ขอ้ ควรระวงั (Precaution) 1.ผู้ป่วยต้องรับประทานยาตามท่ีแพทย์ส่ังให้ถูกต้อง ครบถ้วน และไม่หยุดยาเอง แม้ว่าจะรู้สึกว่า สบายดีหรอื ความดันลดลงแล้วกต็ าม 2. หากมผี ลข้างเคยี งของยา ควรมาพบแพทยท์ ันที 4. โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia) คือ โรคท่ีมีระดับไขมันในเลือดสูงกว่าค่าที่ถูกก้าหนดขึน ซึ่งค่าปกตินีได้มาโดยการเก็บข้อมูลทางสถิติ ของระดับไขมันในเลือดของคนท่ัวไป โดยพบว่าเม่ือมีค่าเกินระดับหนึ่งแล้ว บุคคลนัน ๆ ก็จะเสี่ยงต่อการเป็น โรคหลอดเลือดหัวใจและตามมาคือโรคหัวใจขาดเลือด (กล้ามเนือหัวใจตาย) การท่ีบุคคลใดควรจะมีระดับ ไขมันเท่าใด และจะเลือกการรักษาแบบไหนขึนอยู่กับว่ามี ความเส่ียงอ่ืนๆร่วมด้วยอีกกี่ความเส่ียง ดังนันการก้าหนด ระดบั ไขมันในแต่ละคนจึงอาจไม่เท่ากนั โดยรวมโรคนีพบในคนเชือชาติตะวันตกมากกว่า คนเชือชาติเอเชีย และพบในคนท่ีอาศัยในเขตเมือง มากกว่าในเขตชนบท ส้าหรับในประเทศไทย ส้านักงาน สถิติแห่งชาติไม่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีโรคไขมันใน เลือดสูง แต่อย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มท่ีโรคนีจะพบมากขึน เร่ือย ๆ สาเหตุมาจากการเปล่ียนแปลงการด้าเนินชีวิตและ ทม่ี า: http://www.gelgood.com การบริโภคเป็นสา้ คัญ

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 22 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ ค่าปกติของไขมนั อยรู่ ะหว่าง 140 and 200 mg/d ทางการแพทยจ์ ะใหค้ วามสนใจเป็นพเิ ศษกบั ไขมัน Total Chloresterolและ LDL Choresterol และไขมัน HDL Cholesterol เน่ืองจากภาวะทังสองสามารถ ควบคุมโดยการใช้ยาและการปรับเปล่ียนพฤติกรรม แต่การเกิดหลอดเลือดแข็งจะเกิดเร็วหากมีภาวะไขมัน ผดิ ปกติ ดังนี 4.1 สาเหตขุ องไขมนั ในเลอื ดสูง • พนั ธุกรรม รา่ งกายไมส่ ามารถก้าจัดไขมนั ไดอ้ ยา่ งเพียงพอ • โรคเบาหวาน • พฤติกรรมในการด้ารงชีพ ไม่ได้คุมอาหาร ไม่ได้ออกก้าลงั กาย 4.2 ปัจจัยเส่ยี งของโรคไขมันในเลือดสงู • อว้ นหรือน้าหนักเกิน • รับประทานอาหารท่ีมไี ขมนั อ่ิมตวั มาก • ออกก้าลังกายไมเ่ พียงพอ • ประวัติครอบครวั เปน็ โรคหวั ใจ • ความดันโลหติ สูง • สูบบหุ รี่ เบาหวาน 4.3 อาการของไขมนั ในเลอื ดสูง ไขมนั ในเลอื ดสูงจะไม่มีอาการ การท่ีจะทราบว่าไขมันในเลือดสงู รไู้ ดจ้ ากการนา้ เลือดไปตรวจ ท่มี า www.estevia-herb.com

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอื่ งโภชนาการกับสุขภาพ 23 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ 4.4 อาหารที่มีไขมันสูง อาหารที่อดุ มไปด้วยไขมนั อ่ิมตัว เมื่อรบั ประทานมากเกินไปจะท้าใหร้ ะดับไขมันในเลือดสูง ไขมนั ทส่ี งู จะ เป็นความเสี่ยงของการเกิดหลอดเลอื ดแดงแข็ง อาหารที่มีไขมันสูง ได้แก่ • น้ามนั จากสตั ว์ นา้ มันปาล์ม กะทิ • เนย มาร์การิน เนยเทียม • หนังไก่ • เครื่องใน เนือตดิ มัน • ของทอด 4.5 การรักษาโดยการปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม ไขมันในเลือดสูงทุกชนิดจะต้องรักษาด้วยการปรับเปล่ียนพฤติกรรม ซึ่งประกอบไปด้วย การออกก้าลังกาย การลดน้าหนกั การงดบุหรี่ การงดด่มื สุรา และการควบคุมอาหาร ประสทิ ธผิ ลของการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมแต่ละชนิดขึนกับชนิดของไขมันท่ีสูง ผู้ปว่ ยที่ไขมัน LDL สงู การ ลดอาหารทีม่ ีไขมันอิ่มตัว ลดไขมนั ชนิด trans จะช่วยลดไขมันไดด้ ี สว่ นไขมัน Triglyceride สูง การลดนา้ หนัก รว่ มกบั การออกก้าลงั กายจะไดผ้ ลดี ดงั นันในการเลือกวธิ กี ารปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมจะขนึ กับชนิดไขมันท่ีสงู ขนึ 4.6 ไขมันในเลือด มีอะไรบ้าง 1. T-C ระดับคลอเลสเตอรอลรวม (Total Cholesterol, TC) ควรน้อยกวา่ 200 mg/dL 2. LDL-C ระดบั Low Density Lipoprotein-Cholesterol (LDL-C) ควรน้อยกว่า 100 mg/dL 3. HDL-C ระดับ High Density Lipoprotein Cholesterol (HDL-C) ควรมากกวา่ 40 mg/dL 4. TG ระดับไตรกลเี ซอไรด์ (Tri-Glyceride) ควรน้อยกว่า 150 mg/dL 5. โรคหัวใจร่วมหลอดเลอื ด (Cardiovascular disease) ภ าพ ถ่ายจุล ท รรศ น์ ข องหั วใจ ที่ มี ภ าวะ เกิดพังผืด (เหลือง)และโรคแอมีลอยด์ (น้าตาล) แต้มสดี ว้ ย Movat's stain ทม่ี า : https://th.wikipedia.org/wiki/ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคหัวใจร่วมหลอดเลือด หรือ โรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular disease ตัวย่อ CVD) เป็นกลุ่มโรคเก่ียวกับหัวใจหรือหลอดเลือดคือเป็นโรคท่ีมีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมทังกลุ่มโรค หลอดเลือดเลียงหัวใจ (coronary artery disease) เช่น อาการปวดเค้นหัวใจ (angina) และกล้ามเนือหัวใจ ตายเหตขุ าดเลอื ด (myocardial infarction) ตลอดจนโรคหลอดเลือดสมอง โรคหวั ใจเหตคุ วามดนั สูง

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งโภชนาการกับสุขภาพ 24 ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ (hypertensive heart disease) โรคหัวใจเหตุไข้รูมาติก (rheumatic heart disease) โรคกล้ามเนือหัวใจ (cardiomyopathy) ภาวะหัวใจเสียจังหวะ (heart arrhythmia) โรคหัวใจแต่ก้าเนิด (congenital heart disease) โรคลินหัวใจ (valvular heart disease) หัวใจอักเสบ (carditis) ท่อเลือดแดงโป่งพอง (aortic aneurysm) โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease) และภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือด ดา้ (venous thrombosis) 5.1 กลไกของโรคจะข้ึนอยูก่ ับเหตุ โรคหลอดเลือดเลียงหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย จะมีภาวะหลอด เลือดแดงแข็งซ่ึงอาจมีเหตุจากความดันสูง การสูบบุหรี่ โรคเบาหวาน การไม่ออกก้าลังกาย เป็นโรคอ้วน คลอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทานอาหารไม่ถูกต้อง การดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เกิน เป็นต้น การเสียชีวิต เพราะ CVD เกิดจากความดันสูง 13 % การสูบบุหรี่ 9 % โรคเบาหวาน 6 % การไม่ออกก้าลังกาย 6 % และ โรคอ้วน 5 % โรคหวั ใจเหตไุ ข้รูมาติกอาจเนอื่ งกับคอหอยอกั เสบจากเชอื สเตรป็ โตค็อกคสั ทไ่ี มร่ ักษา 5.2 ปจั จัยเส่ียงทีท่ าให้เกิดโรค โรคหัวใจมีปัจจัยเสี่ยงหลายอย่างรวมทังอายุ เพศ การใช้ยาสูบ การขาดการออกก้าลังกาย การดื่ม แอลกอฮอล์มาก อาหารท่ีไม่ถูกสุขภาพ โรคอ้วน ประวัติโรคหัวใจในครอบครัว ความดันโลหิตสูง น้าตาลใน เลอื ดสงู (เพราะโรคเบาหวาน) คลอเลสเตอรอลในเลอื ดสงู (ภาวะสารไขมันสูงในเลอื ด) ปัจจัยทางจติ และสงั คม ความยากจน การด้อยการศึกษา และมลพิษทางอากาศ แม้ปัจจัยเสี่ยงแต่ละอย่างจะมีอิทธิพลในระดับต่าง ๆ กันต่อชุมชนและกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ แต่อิทธิพลโดยรวมของปัจจัยเหล่านีก็คงเส้นคงวามากและแม้ปัจจัย บางอย่าง เช่น อายุ เพศ ประวัติครอบครัวจะเปลี่ยนไม่ได้ แต่ปัจจัยส้าคัญหลายอย่างก็เปล่ียนได้ด้วย การ เปล่ียนพฤติกรรม การรกั ษาดว้ ยยา และการป้องกนั โรคต่าง ๆ รวมทังความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และ โรคเบาหวาน 5.3 อาการของโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตันจะท้าให้เลือดไม่สามารถไปเลียงหัวใจได้เพียงพอ ผู้ป่วยส่วนมาก มีอาการแน่นหรือเจบ็ หน้าอกซึ่งมักจะคงอยูน่ านเป็นนาทีขนึ ไป อาจมีอาการเจ็บร้าวไปถึงไหล่ กราม แขน หลัง หรือบรเิ วณทอ้ งเหนอื สะดอื ขนึ ไป และในบางรายอาจมีอาการเหงื่อแตก ใจส่ัน หน้ามืด หรือหมดสติร่วมดว้ ยได้ โดยอาการของโรคสามารถแบ่งยอ่ ยเป็น 2 กลุ่มหลัก ๆ ได้ คอื 1. กลุ่มท่ีเส้นเลือดหัวใจตีบเฉียบพลัน ผู้ป่วยมักจะมีอาการดังกล่าวข้างต้นขึนมาทันที โดยอาจไม่มี อาการผดิ ปกตนิ ้ามาก่อน 2. กลุ่มท่ีมีเส้นเลือดหัวใจตีบเรือรงั มักมีอาการแน่นหน้าอกหรือเหนื่อยงา่ ยเวลาออกแรงหนัก ๆ แต่ เม่อื นงั่ พักหรอื อมยาใตล้ นิ แลว้ อาการจะดีขนึ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองโภชนาการกับสขุ ภาพ 25 ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ 5.4 การป้องกนั หลอดเลือดแดงแข็งสามารถป้องกนั โดยลดปัจจัยเส่ยี ง เชน่ ทานอาหารให้ถูกสขุ ลักษณะ ออกกา้ ลังกาย หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ และจ้ากัดการดื่มแอลกอฮอล์ การรักษาความดันสูงและโรคเบาหวานก็มีประโยชน์ ด้วยการรักษาคอหอยอักเสบจากเชือสเตร็ปโตค็อกคัส ด้วย ยาปฏิชีวนะ สามารถลดความเสี่ยงโรคหัวใจเหตุ ไข้รูมาติก การทานยาแอสไพรินเพื่อป้องกันล่วงหน้า มีป ระโยช น์ ไม่ ชัด เจน ส้ าห รับ ผู้ มี สุขภ าพ ดี แล ะ คณะท้างานป้องกันเฉพาะกิจของสหรัฐ (USPSTF) ก็ แนะน้าไม่ให้ท้าส้าหรับหญิงอายุน้อยกว่า 55 ปี และ ส้าหรับชายอายุน้อยกว่า 45 ปี แต่แนะน้าส้าหรับ ผู้สูงอายุกว่านันเป็นบางพวก การรักษาโรคจะท้าให้ ได้ผลดกี วา่ ไมร่ ักษา ท่มี า : https://blog.arincare.com/2016/07 โรคทีเ่ กดิ จากภาวะโภชนาการต่า ได้แก่ 1. โรคโลหติ จางจากการขาดธาตุเหล็ก 1.1 สาเหตุ พบในสตรีวัยเจริญพันธุ์ เพราะต้องเสียโลหิตเป็นประจ้าทุกเดือน สตรีระยะตังครรภ์และระยะสร้าง น้านม และยังพบในทารกและเด็กก่อนวัยเรียนเน่ืองจากรับประทานอาหารไม่พอ ร่วมกับการมีพยาธิปากขอ ทา้ ให้เสยี โลหิตเปน็ ประจา้ 1.2 อาการ อาจถูกคนอนื่ ทกั วา่ เหลือง ซดี มีอาการอ่อนเพลีย ไม่สดชืน่ เบ่ืออาหาร เหนือ่ ยง่าย มึนงงศีรษะ หนา้ มืด บางคนท่ีโลหิตจางมากอาจเปน็ ลม หมดสติ หกลม้ หวั ใจทา้ งานหนักจนวายได้ 1.3 การแกไ้ ข โดยการแนะน้าให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กเป็นจ้านวนมาก เช่น ตับ เลือด ผักเขียวเข้ม และ อาจเพิ่มธาตุเหล็กในอาหารที่บรโิ ภคเป็นประจ้าวนั เชน่ มกี ารเพมิ่ ธาตุเหลก็ เข้าในน้าปลา หรืออาจตอ้ งใช้ในรูป ของยา ซ่ึงธาตุเหล็กในรูปของยาอาจท้าให้เกิดอันตรายได้ ถ้ารับประทานมากเกินไป โดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาคอีสาน ที่มีประชากรสว่ นหนึง่ เป็นโรคโลหิตจางจากกรรมพนั ธุ์ เช่น ทาลัสซเี มีย (Thallassemia)

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ืองโภชนาการกบั สุขภาพ 26 ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ 2. การขาดวิตามิน เอ 2.1 สาเหตุ มักพบเป็นเด็กท่ีขาดโปรตีนและแคลอรีมาก เน่ืองจากวิตามินเอต้องใช้โปรตีนเป็นตัวพาไปยังอวัยวะต่าง ๆ ท่ีมา : https://medthai.com วติ ามนิ เอ เป็นวิตามินท่ีละลายในไขมัน ถ้าบริโภคไขมันต้่าอาจเกิด การขาดวิตามินเอได้ 2.2 อาการ ในระยะแรกคือการปรับตามองในที่มืดได้ช้า กว่าปกติ ต่อไปมีเย่ือบุตาขาวเสีย และลามไปถึงตาด้า อาจท้าให้ แกว้ ตาทะลแุ ละตาบอดได้ 2.3 การแก้ไข โดยส่งเสริมให้รับประทานอาหารที่มี วิตามินเอสูง เช่น ไข่แดง ตับ พืชผักสีเหลือง เช่น ฟักทอง มะละกอสุก มะม่วงสุก หรือผักใบเขียว เช่น ผักบุ้ง ผักต้าลึง เป็นต้น 3. โรคเหนบ็ ชาจากการขาดวิตามินบี 1 3.1 สาเหตุ มักพบในกลุ่มท่ีรับประทานข้าวที่สีขัด จนขาว และอีกกลุ่มคือ คนท่ีงดอาหารเนือสัตว์ เช่น สตรีหลัง คลอดตามชนบท ท่ียึดถือประเพณีอยู่ไฟ ซึ่งมีผลต่อเน่ืองถึง ทารกที่รับประทานนมแม่ด้วย ทารกจะบวม หายใจหอบ และ อาจถงึ หัวใจวายได้ 3.2 อาการ ในผู้ใหญ่มักมีการชามือ - เท้า อ่อนแรง และอาจมีหัวใจวายได้ นอกจากนียังพบในกลุ่มคนที่ชอบ รบั ประทานปลารา้ ดบิ หมากพลู น้าชา ใบเม่ียง ซ่ึงมสี ารทา้ ลาย วิตามินบี 1 ภาวะท่ีต้องการวิตามินบี 1 เพิ่มมากขึน ได้แก่ พวกท้างานหนัก ภาวะไข้ โรคติดเชือ ต่อไทรอยด์เป็นพิษ ผ้ปู ว่ ยโรคตับแข็งและพวกดม่ื สุราเรอื รัง ทม่ี า : https://www.caherbal.com 3.3 การแกไ้ ขปอ้ งกนั ให้หุงข้าวแบบไม่เช็ดน้า ทานข้าวซ้อมมือ ลดปริมาณน้าในการหุงต้มอาหาร เช่น หุงข้าวแบบเช็ดน้า จะสูญเสียวิตามินบี 1 ประมาณ 85 % ถ้าไม่เช็ดน้าจะสูญเสียวิตามินบี 1 ประมาณ 50 % การแช่ข้าวเหนียว ค้างคืน แล้วเทน้าทิงแล้วน่ึงนัน จะสูญเสียวิตามินบี 1 ประมาณ 60 % ท้าปลาร้าให้สุกก่อนรับประทาน เลิกด่มื เหล้า เลิกหรือรบั ประทานเม่ียง ชา ให้น้อยลง และควรรับประทานอาหารพวกที่มีวิตามินบี 1 เช่น เนือ หมู เนอื ววั ถั่วเหลือง

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรื่องโภชนาการกับสขุ ภาพ 27 ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ 4. โรคปากนกกระจอกจากการขาดวติ ามนิ บี 2 ทีม่ า : https://www.pobpad.com 4.1 สาเหตุ โรคนีมักพบในเด็กนักเรียนตามชนบทช่วงปลายฤดูแล้ง เนื่องจากขาดผักใบเขียวเข้ม ส่วนเนอื สัตว์และนมทีม่ ีวติ ามินบี 2 อยมู่ าก เดก็ กลุ่มนมี ักได้รับประทานนอ้ ยอยู่แลว้ 4.2 อาการแสดง คือ เป็นแผลที่มุมปากทัง 2 ข้าง ริมฝีปากเจ่อบวม และแตกเป็นรอย ถึงแมว้ า่ จะไม่เป็นอันตรายถึงชวี ติ แตจ่ ะท้าให้รบั ประทานอาหารไม่ได้ เป็นผลใหข้ าดอาหารอ่นื ๆ ตามมา 4.3 การป้องกนั ปากนกกระจอก โรคปากนกกระจอกสามารถป้องกนั ได้ โดยเรม่ิ จากการดแู ลตัวเองไม่ให้มีปญั หาสุขภาพทีเ่ สี่ยงเปน็ โรค ดงั กล่าว ซึง่ สามารถทา้ ได้ ดังนี - รับประทานอาหารที่มีปริมาณของวิตามินบี 2 สูง ได้แก่อาหารที่มีส่วนผสมของยีสต์ เช่น ขนมปังเมล็ดอัลมอนด์ เคร่ืองในสัตว์ ธัญพืช ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ เห็ด ถ่ัวเหลือง นม โยเกริ ์ต บล็อกโคลี ผกั โขม - ไม่ควรกัดหรือเลียรมิ ฝปี ากเม่ือปากแห้งหรือแตก เนื่องจากการกัดปากจะท้าให้เลือดออกและ แผลหายไดช้ ้า ทังนี น้าลายท่ีเลียริมฝีปากจะลา้ งความชมุ่ ชนื ของผิวหนังออกไป สง่ ผลให้ปาก แหง้ กวา่ เดมิ - ควรทาลิปปาล์มที่ผสมเจลหรือขผี งึ เปน็ ประจ้า เม่ือเกิดอาการปากแห้ง โดยเลอื กผลิตภัณฑ์ที่ อ่อนโยนต่อผิว ไมก่ ่อให้เกดิ อาการระคายเคือง - ผทู้ ีใ่ สฟ่ นั ปลอมควรหมนั่ ดูแลความสะอาดของฟนั ปลอมอยู่เสมอ รวมทงั ไม่ใส่ฟนั ปลอมขณะ นอนหลับ - ผ้ปู ่วยโรคเชือราในช่องปากที่มปี ัญหาสุขภาพอนื่ ซ่งึ เกย่ี วข้องกบั โรคดังกล่าว เช่น ปว่ ยเป็น เบาหวาน ควรรักษาความสะอาดชอ่ งปากและรบั การรักษาอย่างสม้่าเสมอ เพ่อื ไม่ให้อาการ ของโรคแยล่ ง - งดสบู บหุ รี่

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่อื งโภชนาการกับสุขภาพ 28 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ 5. โรคคอพอกจากการขาดไอโอดีน ปจั จบุ นั นีพบนอ้ ยลง เพราะมีการเตมิ ไอโอดีนในเกลือท่ีส่งไปขายตามชนบท โดยเฉพาะภาคเหนอื และภาคอสี าน รวมทงั มีเกลอื อนามัยขององค์การเภสชั กรรมด้วย ที่มา : https://www.honestdocs.co/diseases-caused-by- malnutrition-common-in-thailand 5.1 สาเหตุของคอพอก คอพอกเกิด ได้จากหลายปัจจัย โดยสาเหตุหลักท่ีพบ คือ ภาวะขาดไอโอดีน อันเป็นสารส้าคัญที่ จ้าเป็นต่อการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ เมื่อร่างกายได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอ จะส่งผลให้ต่อมไทรอยด์ต้องท้างาน หนักขึนเพ่ือผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ จนท้าให้ต่อมมีขนาดโตขึน นอกจากนี ผู้ที่ได้รับไอโอดีนจากอาหารไม่ เพยี งพอ โดยเฉพาะเด็กและทารก ยังเสย่ี งก่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ พัฒนาการทางสมองอกี ด้วย 5.2 อาการ ต่อมไทรอยด์ทคี่ อโต ถ้าโตมากจะกดทับหลอดลมทา้ ให้หายใจไม่สะดวกและถ้า มารดาเป็นระหวา่ งตังครรภท์ ารกทคี่ ลอดออกมาอาจมีลกั ษณะปัญญาอ่อน เป็นใบ้ หูหนวก 5.3 การป้องกันคอพอก โรคคอพอกส่วนใหญ่เกิดจากภาวะขาดไอโอดีน โดยปกติคนเราควรได้รับไอโอดีน 150 ไมโครกรัมต่อ วัน ซึ่งมีปริมาณเท่ากับเกลือเสริมไอโอดีน 1 ช้อนชา ดังนัน การรับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยไอโอดีนอย่าง อาหารทะเลและอาหารเสริมไอโอดีน โดยเฉพาะเกลือเสริมไอโอดีนท่ีผ่านการรับรองจากส้านักงาน คณะกรรมการอาหารและยา จึงอาจช่วยปอ้ งกนั โรคนีได้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรื่องโภชนาการกับสุขภาพ 29 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ 6.โรคขาดโปรตีนหรือตานขโมย ทม่ี า : https://storylog.co/story 6.1 สาเหตุ เป็นโรคที่เกดิ จากภาวะโภชนาการต้่า ซ่ึงมีสาเหตุ จากการขาดสารอาหารประเภทโปรตนี หรือได้รบั สารอาหารประเภทโปรตนี ไม่เพียงพอ ก ารต รว จ พัฒ น าก าร พ บ ว่าเป็น เด็ก ที่มี พัฒนาการล่าช้า น้าหนัก ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะ ต้่า กว่าเกณฑ์มาตรฐาน เด็กขาดโปรตีนมักมีพฤติกรรม เฉยชาต่อสังคม ซึม ไม่ร่าเริง 6.2 อาการแสดงของเด็กขาดโปรตีน 1. ใบหน้าบวมกลมเหมือนดวงจันทร์ / และมีอีกกลุ่ม ใบหน้าตอบเห่ียวแห้งคล้ายลูกลิง 2. ตาแห้ง เปลือกตาด้านในซีด หรืออาจมีอาการบวมรอบ ๆ ดวงตา 3. มีอาการอักเสบภายในช่องปากบ่อย ๆ เช่น ต่อมนา้ ลายโต ลินอักเสบ ริมฝีปากอักเสบ 4. มีฟันขึนช้า 5. ขนตาสัน ขนตาห่าง ผมเสียแห้งไม่เงางาม 6. ผิวคลา้ / หรืออาจซีดลง ร่วมกับมีผิวลอก 7. เล็บน่ิมและบาง 8. ผิวแห้ง รูขุมขนเป็นตุ่ม 9. มีกล้ามเนือท่ีแก้มแต่ไม่มีกล้ามเนือท่ีอวัยวะอื่นๆ เช่น สะโพก 10. ท้องป่องโต อาจตรวจพบน้าในช่องท้อง หรือตับโตร่วมด้วย 11. หัวใจเต้นช้าลง ความดันตา้่ 12. ซีด เลือดออกง่าย 6.3 วิธีป้องกันโรคขาดโปรตีน โรคขาดโปรตีนพบมากในเด็กก่อนวันเรียน และสาเหตุหลักมาจาก การได้รับสารอาหารประเภท โปรตีนไม่เพียงพอตามวัย หรืออาจเกิดจากการดูดซึมของล้าไส้ หรือความผิดปกติของไต โปรตีนรั่ว การ ป้องกันพืนฐาน เริ่มที่อาหารจึงควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนอย่างเพียงพอและป้องกันไม่ให้เกิดโรค พยาธิ ควรทานอาหารท่ีมีโปรตีนในปริมาณเพียงพอ ดังนี 1. นม ด่ืมนมแม่อย่างเดียวตังแต่แรกเกิด – 6 เดือน หลังจากนันเร่ิมอาหารเสริมและนม 2. ไข่ จัดเป็นอาหารโปรตีนสูงราคาถูก ควรเร่ิมไข่แดงก่อน และรับประทานไข่ขาวหลัง 12 เดือน เพราะรายงานทางการแพทย์พบว่า เด็กอายุตา้่ กว่า 12 เดือนเส่ียงต่อการแพ้ไข่ขาว 3. เนือปลา ปลานา้ จืดได้แก่ ปลาช่อน ปลากระพง ปลาทะเล ได้แก่ ปลาแซลมอน ปลาทู 4. อกไก่ บริเวณอกไก่พบว่ามีปริมาณสูงสุดในเนือไก่ 5. เนือสันในหมู ถ่ัวลันเตา เต้าหู้ ธัญพืช

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ืองโภชนาการกับสุขภาพ 30 ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ คะแนน โรคทเ่ี กิดจากภาวะโภชนาการ ชอื่ ................................................สกุล......................................................เลขที่.............ช้นั ............. คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่ม เพื่อชว่ ยกันวเิ คราะห์สาเหตุ อาการ และการป้องกนั โรคท่เี กิด จากภาวะโภชนาการแลว้ สรุปลงในตารางต่อไปนี โดยแยกเปน็ โรคทีเ่ กดิ จากภาวะโภชนาการเกินจ้านวน 5 โรค และโรคทเ่ี กิดจากภาวะโภชนาการต่า้ จา้ นวน 5 โรค 1. โรคที่เกดิ จากภาวะโภชนาการเกิน ช่อื โรค สาเหตุ อาการ การปอ้ งกัน

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรือ่ งโภชนาการกบั สุขภาพ 31 ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ การปอ้ งกนั 2. โรคท่เี กิดจากภาวะโภชนาการตา่ ชอ่ื โรค สาเหตุ อาการ

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ืองโภชนาการกับสขุ ภาพ 32 ชดุ ที่ 3 โรคกบั โภชนาการ แบบทดสอบหลังเรยี น เร่อื งโรคกบั โภชนาการ คาช้แี จง โปรดเลอื กคาตอบทถี่ ูกต้องท่ีสดุ แลว้ ทาเครอ่ื งหมายกากบาท (×) ลงในกระดาษคาตอบ ใชเ้ วลาในการทาแบบทดสอบ 10 นาที ............................................................................................................................................................. 1. ขอ้ ใดไม่ใช่สาเหตขุ องภาวะโภชนาการเกิน 1. พันธุกรรม 2. ทา้ งานหนกั 3. ขาดการออกกา้ ลงั กาย 4. รับประทานอาหารท่ีมไี ขมันเป็นประจา้ 2. ข้อใดเปน็ ลักษณะของภาวะโภชนาการทีด่ ี 1. ร่างกายซูบผอม 2. เจบ็ ป่วยเปน็ โรคอยู่บ่อย ๆ 3. เปน็ โรคความดนั โลหิตสงู 4. น้าหนักและสว่ นสูงเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 3. ขอ้ ใดเป็นผลกระทบในด้านสขุ ภาพจากปญั หาภาวะโภชนาการ 1. มีรูปร่างอว้ นจึงหาซอื เสือผา้ ใสย่ าก 2. มนี า้ หนกั ตวั น้อยท้าใหบ้ ุคลิกภาพไมด่ ี 3. มรี ูปร่างอ้วนจึงเหนื่อยงา่ ยเมือ่ ทา้ งานหนกั 4. มีน้าหนกั ตัวน้อยจงึ ชอบโดนเพอ่ื น ๆ แกล้ง 4. การปฏิบตั ิตนในข้อใดส่งผลใหเ้ กิดภาวะทุพโภชนาการ 1. หลกี เลี่ยงอาหารฟาสต์ฟู้ด 2. รับประทานอาหารราคาถกู 3. รบั ประทานอาหารหลากหลาย 4. รบั ประทานอาหารเฉพาะที่ชอบ

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ 33 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ 5 ข้อใดแสดงความสัมพนั ธ์ของพฤตกิ รรมโภชนาการกบั สขุ ภาพท่ถี ูกต้อง 1. การรับประทานอาหารนอ้ ย จะช่วยให้มรี ปู รา่ งท่ีสวยงาม 2. การรับประทานอาหารมาก จะชว่ ยให้รา่ งกายแขง็ แรง 3. การรบั ประทานอาหารเกนิ ความต้องการของร่างกายจะทา้ ให้เป็นโรคอว้ น 4. การรบั ประทานอาหารทีม่ สี ารอาหารครบถว้ น จะเส่ียงตอ่ การเปน็ โรคเบาหวาน 6 กรกนกมองเห็นได้ไม่ชัดในตอนกลางคืน และตาสู้แสงไม่ได้ กรกนกควรเลือกรับประทานอาหารชนิดใด เพอื่ ช่วยในการมองเหน็ 1. ไขแ่ ดง นา้ มนั ตบั ปลา ผกั ใบเขยี ว 2. ถั่วเหลือง ขา้ วกล้อง เนือหมู 3. เคร่ืองในสตั ว์ ตบั กุง้ แหง้ 4. ปลาหมกึ กุง้ หอย 7. ข้อใดไม่ใช่โรคเรอื รังทม่ี สี าเหตมุ าจากความอ้วน 1. โรคความดนั โลหติ สงู 2. โรคกระดกู พรนุ 3. โรคไขข้ออกั เสบ 4. โรคหวั ใจ 8. บคุ คลใดตอ่ ไปนจี ดั ได้ว่ามีภาวะโภชนาการดี 1. วาวาชอบรับประทานอาหารหลากสสี นั 2. ขวญั ทานมงั สวิรัติท่ีซง่ี ไมม่ ีเนอื สตั ว์ 3. เปตองรับประทานอาหารนอกบ้านเปน็ ประจ้า 4. ครีมมักรบั ประทานอาหารหลากหลายประเภท 9. คนทเี่ ป็นโรคเบาหวานควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทใด 1. อาหารท่ีใหพ้ ลงั งานสงู 2. อาหารท่ีมรี สหวาน 3. อาหารทม่ี โี ปรตีนสูง 4. อาหารทม่ี ีรสจัด 10. คนทม่ี ีอาการตอ่ มไทรอยดบ์ วมโต มีก้อนกลมโตที่บริเวณคอหอย แสดงวา่ เป็นโรคอะไร 1. โรคคอพอก 2. โรคเหนบ็ ชา 3. โรคขาดสารอาหาร 4. โรคหลอดลมอักเสบ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่อื งโภชนาการกับสุขภาพ 34 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ ช่อื ..................................................สกุล...........................................เลขท.่ี ............ชนั ................... กระดาษคาตอบ ขอ้ ท่ี 1 2345 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ขอใหโ้ ชคดีในการทาแบบทดสอบนะคะ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองโภชนาการกับสุขภาพ 35 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ บรรณานกุ รม กิตติ ปรมตั ถผล, ปรชี า ไวยโภคา, กา้ ไลทพิ ย์ ระน้อย, ศิรริ ัตนส์ เี หลอื ง, วชิ าญ มะวิญธร และประภาพร บญุ มา (ผเู้ รยี บเรยี ง). (2557) หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐานสุขศกึ ษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1. กรงุ เทพฯ: สา้ นกั พมิ พเ์ อมพนั ธ.์ พรสุข หนุ่ นริ นั ดร,์ ประภาเพ็ญ สวุ รรณ, สรุ ีย์พนั ธ์ุ วรพงศธร และอนันต์ มาลารัตน์ (ผเู้ รยี บเรียง). (2556). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสุขศกึ ษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1. กรงุ เทพฯ:ไทยร่มเกล้า. สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) (ผเู้ รียบเรยี ง).(2560). ชดุ กจิ กรรมพัฒนาการคิดเสริมสร้างสมรรถนะ สาคญั และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รียน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์ บรษิ ัทพัฒนาคุณภาพวชิ าการ. สจุ ิตรา สคุ นธทรัพย์, อรชร อนิ ทกุล และชัยวฒั น์ ดรุณธรรม (ผูเ้ รียบเรียง).(2557). หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐานสุขศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั แอ๊ดวานซ์ อนิ เตอร์พรนิ ตงิ . สชุ าดา วงศใ์ หญ่ และปรีชา ไวยโภคา (ผูเ้ รียบเรียง).(2551). หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานสขุ ศึกษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1. กรุงเทพฯ : ไทยรม่ เกล้า.

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ เรือ่ งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 36 ชุดที่ 3 โรคกบั โภชนาการ ภาคผนวก

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ 37 ชดุ ที่ 3 โรคกับโภชนาการ เฉลยแบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องโรคกบั โภชนาการ ขอ้ ที่ 1 234 5 5 1× × 2 3× × 4 × 5 × 6 × 7 × 8 × 9 × 10 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนเรือ่ งโภคกบั โภชนาการ ข้อที่ 1 234 × 1 2 × 3 × 4 5 × 6× × 7 8 × 9 × 10 × ×

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สขุ ภาพ 38 ชุดท่ี 3 โรคกับโภชนาการ คะแนน แนวคาตอบ ภาวะโภชนาการที่ดีและไม่ดี ช่ือ.........................................สกลุ .........................................เลขที่..............ชั้น................... ให้นักเรียนนาคาต่อไปนไี้ ปเตมิ ลงในตารางแยกแยะระหวา่ งคนทมี่ ภี าวะโภชนาการที่ดีและคนทม่ี ี ภาวะโภชนาการท่ีไมด่ ใี หถ้ กู ต้อง รา่ งกายสมบูรณ์ ภาวะโภชนาการเกนิ ภาวะโภชนาการตา่ ภูมติ ้านทานต่า การรับประทานอาหารที่มไี ขมนั มากเกินไป โรคอ้วน นา้ หนักน้อยกวา่ เกณฑ์ รบั ประทานอาหารครบ 5 หมู่ โรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลอื ด ปราศจากโรคภัยไข้เจบ็ สขุ ภาพจติ ดี โรคตาฟาง รับประทานอาหารถูกสัดส่วน ลกั ษณะของคนที่มภี าวะโภชนาการทด่ี ี ลักษณะของคนท่ีมีภาวะโภชนาการทไ่ี ม่ดี รา่ งกายสมบูรณ์ ภาวะโภชนาการเกนิ รบั ประทานอาหารครบ 5 หมู่ ภาวะโภชนาการต่า ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จ็บ ภมู ติ ้านทานตา่ สุขภาพจิตดี การรบั ประทานอาหารที่มไี ขมันมากเกนิ ไป รับประทานอาหารถกู สดั ส่วน โรคอว้ น น้าหนกั นอ้ ยกวา่ เกณฑ์ โรคความดันโลหิตสงู โรคหวั ใจขาดเลือด โรคตาฟาง

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรื่องโภชนาการกบั สขุ ภาพ 39 ชุดท่ี 3 โรคกับโภชนาการ คะแนน แนวคาตอบ โรคที่เกดิ จากภาวะโภชนาการ ค้าชแี จง ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่มเป็น 5 กลมุ่ เพื่อช่วยกันวิเคราะหส์ าเหตุ อาการ และการป้องกนั โรคท่เี กิด จากภาวะโภชนาการแล้วสรุปลงในตารางต่อไปนี โดยแยกเป็นโรคท่เี กิดจากภาวะโภชนาการเกินจา้ นวน 5 โรค และโรคท่เี กิดจากภาวะโภชนาการต้่าจ้านวน 5 โรค 1. โรคที่เกิดจากภาวะโภชนาการเกนิ ชอ่ื โรค สาเหตุ อาการ การปอ้ งกนั โรคอว้ น - การรับประทานอาหารมาก - นา้ หนกั เยอะเกนิ เกณฑ์ - รับประทานอาหารให้ เกินไป พอเหมาะกับความต้องการ - เหนือ่ ยง่าย - พันธุกรรม - ออกกา้ ลังกายสม้า่ เสมอ - มีไขมนั สว่ นเกนิ ตามสว่ น -- โกราครอขว้านดการออกกา้ ลงั กาย ต- ่าสงายๆตขาอมงัวร่างกาย -- คไมวร่บับคปุมรระะทดาับนนอา้ าตหาาลรใจนบุ เลจือิบด โรคเบาหวาน - พนั ธกุ รรม - อ่อนเพลีย มีอาการชา - ควบคุมอาหาร - ผู้สูงอายุ - หิวน้ามากกวา่ ปกติ - ออกกา้ ลงั กายสม่้าเสมอ - -ทราับนปอราะหทาราทนอม่ี าีไขหมาันรทส่มีงู แรี ลสะ - -ปปวสัดสศาีรวษะะดกึ บอ่ ย ๆ - งคดวสบบูคบมุ หุนรา้ แ่ีหลนะักจา้ กดั การดื่ม เ-คเรลอ่ื ี่ยงงดผ่ืมลทไมมี่ ้รีแสอหลวกาอนฮจอดั ล์ โรคความดนั นห้าตวานลสมูงากเกนิ ไป - -ตนามา้ หัวนแกั นล่นดลหงนเา้รอ็วก โลหิตสูง - ลดอาหารเค็ม - ทานผกั และผลไม้นอ้ ย - เหนอื่ ยง่าย หายใจหอบ โรคไขมัน - ลพดกั นผา้อ่ หนนใหัก้เพียงพอ ในเลอื ดสูง -- ไพมัน่อธอุกกรกร้ามลังกาย - -เลเหือนดก่ือ้ายเงด่าายไกหวล่าปกติ - องดอสกูบกบ้าลุหังรก่ี าอยอกก้าลงั กาย โรคหวั ใจและ -- เรปับน็ ปโรระคทเบานาหอวาาหนารทีม่ ีรสเค็ม - -มเนึ วงยี งนสศมีรษองะตหือนา้ มดื หลอดเลือด - ไม่ออกกา้ ลังกาย - ปวดศรี ษะมาก เม่ือลกุ ขนึ - งดสบู บหุ ร่ี สรุ า -- กไมา่ครสวบบู คบมุหุ อรา่ี หาร จ- าเจก็บเตหียนงา้ อเจกบ็ หนา้ อก --คลวดบนคา้ มุ หอนากั หสา่วรนเกิน - เป็นโรคเบาหวาน ความดนั ฯ -- หใจาสยนั่ ใจใตจดิ เตข้นดั เรว็ --งอดอสกูบกบ้าุหลรงั ี่กาอยอกกา้ ลังกาย - ไม่ออกก้าลังกาย -- มหึนวั ใงจงวสามยองตือ - งดสบู บุหรี่ สุรา - โรคอ้วน คอเลสเตอรอลใน - หวั ใจลม้ เหลว - ควบคมุ ระดบั นา้ ตาล เลือดสงู - มึนงง สมองตือ - ควบคุมความเครยี ด - งดสบู บหุ รี่ ออกก้าลงั กาย

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งโภชนาการกับสขุ ภาพ 40 ชดุ ท่ี 3 โรคกบั โภชนาการ 2. โรคท่ีเกิดจากภาวะโภชนาการต่า ช่ือโรค สาเหตุ อาการ การป้องกัน โรคขาด ได้รับสารอาหารโปรตนี และ สารอาหาร คาร์โบไฮเดรตไมเ่ พยี งพอ พงุ โต หวั โต ก้นปอด และโตช้า รับ ป ร ะ ท าน อ าห าร ท่ี มี ส า ร อ า ห า ร โป ร ตี น แ ล ะ โรคเหน็บชา ขาดวติ ามนิ บี 1 มนึ งง ซึม และเบ่ืออาหาร คาร์โบไฮเดรตอย่างเพียงพอ น้าหนักนอ้ ย ผอมแห้ง แ ล ะ ป้ อ ง กั น ไม่ ให้ เกิ ด โ ร ค โรคโลหติ จาง ขาดธาตุเหลก็ ชาตามปลายมือปลายเทา้ พรบั ยปาธริะทานอาหารท่ีมวี ิตามนิ ปวดกลา้ มเนือบริเวณน่อง บี 1 อยา่ งเพียงพอ เช่น ข้าว เบอ่ื อาหาร เหน่ือยงา่ ย ขาลีบ ซ้อมมือ เครื่องในสตั ว์ ตัวบวมเนือ่ งจากหวั ใจโต ประเภทตบั เป็นต้น ผิวซีด อ่อนเพลีย เบ่ืออาหาร รับประทานอาหารที่มธี าตุ เหลก็ อยา่ งเพยี งพอ เชน่ หงดุ หงิด มนึ งง ปวดศรี ษะ นม เนอื สัตว์ ไข่ เป็นตน้ เลบ็ บางเปราะ ตอ่ มไทรอยดบ์ วมโต มีก้อน รบั ประทานอาหารที่มีธาตุ โรคคอพอก ขาดธาตไุ อโอดีน กลมโตท่บี รเิ วณคอหอย ไอโอดีนอย่างเพียงพอ เชน่ อาหารทะเลและเกลือทม่ี ี สารไอโอดนี เป็นตน้ ตาแหง้ และย่น เคืองตา รบั ประทานอาหารท่ีมี นา้ ตาไหล เมอื่ อย่ใู นท่ีมดื จะ วติ ามินเออย่างเพียงพอ เชน่ โรคตาฟาง ขาดวติ ามนิ เอ มองไมเ่ หน็ มีจดุ สเี ทาขาวอยู่ นา้ มันตบั ปลา ตับ ไข่แดง บรเิ วณเยอ่ื บุตา ผักใบเขียว เป็นต้น โรค ขาดวิตามินบี 2 เป็นแผลทมี่ ุมปากทัง 2 ขา้ ง รบั ประทานอาหารที่มี ปากนกกระจอก ริมฝีปากแหง้ บวมตงึ และ วติ ามินบี 2 อย่างเพยี งพอ แตก เม่ือหายจะมีแผลเปน็ เช่น นม เครื่องในสัตว์ ลินอกั เสบบวมแดงและเจ็บ ผักใบเขียว เป็นต้น

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งโภชนาการกบั สุขภาพ ชุดที่ 3 โรคกับโภชนาการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook