Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook ปรับปรุง (1)_compressed

ebook ปรับปรุง (1)_compressed

Published by pnnongnu, 2021-11-30 10:37:31

Description: ebook ปรับปรุง (1)_compressed

Search

Read the Text Version

ไทม์ไลน์กระบวนการทำปลาดุกร้า จับปลาดุกที่เลี้ยงไว้ในบ่อ มาคัดไซส์ หลังจากที่พักปลาไว้ให้สะเด็ดน้ำแล้ว ให้นำ ปลาดุกมาเก็บใส่ไว้ในภาชนะที่ปิดฝามิดชิด 1. 20 นาที ให้มีไซส์ขนาดใกล้เคียงกัน แล้วนำ 4. 2 ชม. มาชั่งให้ได้ปริมาณ 1 กิโลกรัม ทิ้งไว้ 1 คืน หรือ 20 ชั่วโมง เมื่อได้ปลาดุกที่มีขนาดเท่ากันใน เมื่อเราพักปลาดุกไว้ครบ 20 ชั่วโมงแล้วให้ นำปลาดุกออกมาล้างให้สะอาด แล้วนำมา 2. 30 นาที ปริมาณ 1 กิโลกรัมแล้ว ให้นำปลาดุก 5. 30 นาที มาทำการตัดหัวปลาดุกออกเอาแต่ ตั้งพักไว้ให้สะเด็ดน้ำ ส่วนตัวของปลาดุก 3. 30 นาที หลังจากที่ตัดหัวปลาเสร็จแล้วให้เรา 6. 30 นาที เตรียมส่วนผสม -น้ำตาล -เกลือ หลัง นำส่วนที่เป็นตัวปลามาล้างให้สะอาด จากเราได้ส่วนผสมแล้วให้นำส่วนผสมที่ หลังจากที่ล้างเสร็จแล้วให้นำปลาดุก เราเตรียมไว้ เกลือและน้ำตาลมาผสม มาตั้งพักไว้เพื่อให้ตัวปลาสะเด็ดน้ำ คลุกเคล้าให้เข้ากัน

ไทม์ไลน์กระบวนการปลาดุกร้า 7. 20 นาที เมื่อเราคลุกเคล้าส่วนผสมที่เตรียม 1 ชม. เมื่อเราได้ปลาดุกที่เราตากไว้ได้ครบ 5 วัน แล้ว ให้นำมาแพ็คบรรจุใส่ลงในภาชนะหรือถุง ไว้ให้เข้ากันแล้ว ให้นำส่วนผสมมาใส่ 10. เพื่อจำหน่าย ลงในท้องปลาให้แน่นพร้อมกับนำ ส่วนผสมมาคลุกเคล้าให้ตัวปลา เมื่อเราได้ปลาที่คลุกเคล้ากับส่วน เมื่อบรรจุลงในถุงเรียบร้อยแล้วนำมาติด 8. 20 ชม. ผสมเรียบร้อยแล้วให้นำปลามาหมัก 11. 30 นาที ป้ายราคาและโลโก้พร้อมจำหน่าย ในราคา ไว้ในภาชนะที่ปิดมิดชิด ตั้งพักไว้ใช้ กิโลกรัมละ 300 บาท เวลา 20 ชั่วโมง 9. 5 วัน เมื่อเราได้ปลาดุกที่หมักไว้ครบ 20 ชั่วโมง แล้วให้นำปลาดุกออกมาตาก แดด ใช้เวลาตากแดดให้ครบ 5 วัน

น้ำพริกปลาดุกร้า

ไ ท ม์ ไ ล น์ ก ร ะ บ ว น ก า ร น้ำ พ ริ ก ป ล า ดุ ก ร้ า เตรียมวัสดุและส่วนผสม เนื้อปลาดุกร้า ½ กก. ใบมะกรูด 50 กรัม กระเทียม 2 ขีด น้ำตาลปี๊ บ 50 กรัม หอมแดง ½ กก. น้ำมันพืช 200 กรัม พริกแห้ง 2 ขีด กะทะ เกลือ 2 ช้อนชา น้ำมะขามเปียก 50 กรัม หัวข่า 1 กก.

ไทม์ไลน์ เมื่อเตรียมส่วนผสมครบแล้ว 4. 60นาที เมื่อเราผัดจนน้ำพริกสุกมีกลิ่น หอมได้รสชาติตามที่ต้องการ 1. 30นาที ให้นำพริกแห้ง หัวข่า หอมแดง แล้ว ให้นำขึ้นมาตักพักไว้ให้เย็น กระเทียม ใส่ในกระทะเปิดไฟ อ่อน ๆ แล้ว คั่วให้มีกลิ่นหอม 2. 50นาที หลังจากที่เราคั่วส่วนผสมให้มี 5. 30นาที เมื่อเราตั้งน้ำพริกจนเย็นแล้ว กลิ่นหอมได้ที่แล้ว ให้นำส่วน เราก็ตักน้ำพริกที่ได้บรรจุลงใน ผสมที่ได้มาตำให้ละเอียด กระปุก 3. 90นาที เมื่อเราได้ส่วนผสมที่ตำละเอียด 6. 20นาที นำน้ำพริกที่ใส่ในกระปุกแล้วมา แล้ว ให้นำมาผัดรวมกันให้สุกโดย ติดโลโก้และติดราคา เสร็จแล้ว ใช้ไฟอ่อน ๆ ให้มีกลิ่นหอม และ พร้อมจำหน่าย จำหน่ายใน ปรุงรสตามชอบ ราคากระปุกละ 20 บาท

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผสมยาสมุนไพรแผนโบราณ นางเพ็ญศรี บุญเปรี้ยว หมู่ 1 บ้านน้ำแดง

จักสาน นายพัน จันทร์หอม หมู่ 2 บ้านย่านยาว นางจันทร์เพ็ญ กลิ่นหอม หมู่ 5 บ้านนาใน นายเชาวลิต มณีรัตน์ หมู่ 4 บ้านขุนรอง นายทวิต ทับปาน หมู่ 4 บ้านขุนรอง นางหนูเจียม พรมลา หมู่ 7 บ้านชนนิมิตร

อาหารประจำท้องถิ่น ผักเหลียงผัดไข่ แกงเหลียง ผักเหลียง

ภาคผนวก

วิศวกรสังคมตำบลเชี่ยวเหลียง ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ประธานตำบล เลขานุการ น า ง เ พ็ ญ โ พ คั ย แ ส ง เ ผื อ ก น า ง ทั ศ นี ย์ ดำ พั ฒ น์ น า ง ส า ว เ บ ญ จ ม า ศ ส ม บู ร ณ์ น า ง ส า ว รั ต น ม ณี พุ่ ม ไ ช ย น า ง ส า ว ภู ริช ญ า ก ร ะ แ ส โ ส ม น า ง ส า ว พิ ม พ์ ล ภั ส ร ะ เ บี ย บ น า ง ส า ว ส า ธิ ต า เ ห มื อ น ม า ศ น า ง ส า ว จั น ท รั ต น์ ข น อ ม ฝ่ายวิชาการและแผน ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ น า ง ส า ว ส ว ร ส เ ก า ะ ส มั น น า ง ส า ว ช ล ทิ ช า ย อ ด ดำ เ นิ น น า ง ส า ว ก น ก ว ร ร ณ รั ช นิ พ น ธ์ น า ย ณั ฐ พ ล ก า ญ จ น ะ น า ง ส า ว สุ ณิ ส า ห วั ง ส ป น า ง ส า ว ป า ลิ ต า ตั น อิ น น า ย ณั ฐ นั น ท์ นุ่ น ค ง น า ง ส า ว ฐิ ติ พ ร แ ป้ น ปั้ น น า ง ส า ว นิ ศ า รั ต น์ ทั บ ป า น น า ง ส า ว สิ ต า นั น ค ง มุ สิ ก น า ย ก า ศ เ ก บุ ต ร น า ง ส า ว จั น ท รั ต น์ ข น อ ม น า ย ภ า ณุ ม ณี ชั ย น า ง ส า ว กุ ล จิ ร า ห ยั ง สู น า ง ส า ว ยุ ว ธิ ด า พ ร ห ม คี รี น า ง ส า ว ม ลิ วั ล ย์ แ ก้ ว ว ง ค์ น า ง ส า ว กิ ต ติ ม า วั ง ท อ ง น า ง ส า ว ป ภ า วี ห ง ส์ พิ ริย ะ กุ ล น า ย พ ศ ก ร ชั ย ม ง กุ ฎ

อบรมเชิงปฏิบัติการการทำเบอเกอรี่ วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2564

อบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะก้อนเชื้อเห็ด วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2564

อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2564

อบรมเชิงปฏิบัติการการทำเครื่องแกง วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2564

อบรมเชิงปฏิบัติการการทำปลาดุกร้า วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ.2564

นวัตกรรมที่ตากปลาดุกร้า วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2564

อบรมเชิงปฏิบัติการ การตลาดออนไลน์ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2564

แปลงฟ้าทะลายโจร

กิจกรรมจิตอาสา

สารผู้นำชุมชนและชาวบ้านในตำบลเชี่ยวเหลียง

กระผม รู้สึกยินดีและขอขอบคุณกระทรวงการ นายบุญจักร สงคราม กำนันตำบลเชี่ยวเหลียง อุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัย และนวัตกรรม (อว.) อาจารย์ที่ปรึกษาทีมวิศวกรสังคม ทีมวิศวกรสังคม ตำบลเชี่ยวเหลียง และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ที่เล็งเห็นความสำคัญของตำบลเชี่ยวเหลียง ในการจัด โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบ บูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) นับว่าเป็น โครงการหนึ่งที่ดีต่อประชาชนในตำบลเชี่ยวเหลียง หลัง จากผ่านการฝึกอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมการอบรมได้มี ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ดีๆ นำมาปรับใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อชุมชน ขอขอบคุณทุกท่าน ทุกฝ่าย ที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีการ จัดโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบ บูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ในครั้งนี้ ขอ ขอบคุณกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัย และ นวัตกรรม (อว.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ที่ให้โอกาสทีมวิศวกรสังคมตำบลเชี่ยวเหลียง ได้จัด โครงการขึ้นมา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีการจัด โครงการดีๆ แบบนี้ต่อไป ขอบคุณครับ... นายบุญจักร สงคราม กำนันตำบลเชี่ยวเหลียง

ดิฉัน รู้สึกยินดีและขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี และทีมวิศวกร สังคมตำบลเชี่ยวเหลียง ที่ได้จัดโครงการสัมมาชีพครัวเรือนยากจน 15 ครัวเรือน โดย เฉพาะการเพาะก้อนเชื้อเห็ด ได้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ดีๆนำมาปรับใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อในด้านการสร้างอาชีพเสริมและเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายภายในครอบครัวได้ เป็นอย่างดี โดย วรรจรัญ นครชัย

ดิฉัน รู้สึกยินดีและขอขอบคุณทาง มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี และทีม วิศวกรสังคมตำบลเชี่ยวเหลียง ที่ได้จัด โครงการเกี่ยวกับนวัตกรรมที่ตากปลาดุกร้า โดยใช้พลังงานจากโซล่าเซลล์เพื่อมาช่วยดูด ความชื้นจากปลาดุกร้า เนื่องด้วยสภาพ อากาศของตำบลเชี่ยวเหลียง มีฝนตก มากกว่าแดดออก ทางทีมวิศวกรสังคมตำบล เชี่ยวเหลียงได้คิดนวัตกรรมใหม่ที่ตอบโจทย์ ตรงกับสภาพอากาศในตำบลโดยการสร้าง นวัตกรรมที่ตากปลาดุกร้าโดยใช้พลังงานจาก โซล่าเซลล์ ทำให้สามารถผลิตปลาดุกร้าได้ จำนวนมากขึ้น โดย รุ่งทิวา ทรัพย์กำเนิด

ในยุคนี้เป็นยุคของเทคโนโลยีทำให้โลก ออนไลน์โดยส่วนใหญ่เป็นที่นิยมรู้จักกัน อย่างแพร่หลายเพราะเป็นอิเล็กทรอนิกส์ที่ สะดวกรวดเร็วในการสื่อสารและค้นหาข้อมูล จึงง่ายต่อการค้าขาย ทำให้สินค้าของเรามีคน รู้จักมากขึ้น เนื่องจากสถานการณ์โควิดแพร่ ระบาดทำให้การค้าขายผ่านโลกออนไลน์ เป็น ที่สะดวกและปลอดภัยจากโรคโควิด ดิฉันขอ ขอบคุณและชื่นชมทางU2Tและทีมงาน วิศวกรสังคมตำบลเชี่ยวเหลียงที่นำการ อบรมการตลาดออนไลน์นี้เข้ามาช่วยทำให้ ชาวบ้านรู้จักการค้าขายผ่านโลกออนไลน์ มากขึ้น โดย รุ่งทิวา ทรัพย์กำเนิด

บรรณานุกรม จีรนันท์ ภาคอารีย์. ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านย่านยาว. ไทม์ไลน์กระบวนการการทำปลาดุกร้า. (สัมภาษณ์), 18 เมษายน 2564 จีรนันท์ ภาคอารีย์. ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านย่านยาว. ผลิตภัณฑ์ของตำบลเชี่ยวเหลียง. (สัมภาษณ์), 21 เมษายน 2564 ชูศักดิ์ ทับปาน. ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่4 บ้านขุนรอง.เหตุการณ์สำคัญและอื่นๆของบ้านขุนรอง. สัมภาษณ์), 8 มีนาคม 2564 ธวัชชัย บุรีรัตน์. ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่6 บ้านหล่อไหล. เหตุการณ์สำคัญและอื่นๆของบ้านหล่อไหล. (สัมภาษณ์), 10 มีนาคม 2564 ธารินทร์ พลสิทธิ์. ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่3 บ้านเชี่ยวเหลียง. เหตุการณ์สำคัญและอื่นๆของบ้านเชี่ยวเหลียง. (สัมภาษณ์) 7 มีนาคม 2564 บุญจักร สงคราม. กำนันตำบลเชี่ยวเหลียง. เหตุการณ์สำคัญและอื่นๆของบ้านชลนิมิตร.(สัมภาษณ์), 11 มีนาคม 2564

บรรณานุกรม(ต่อ) ศรัณยา บุนนาค. 2557. ประวัติความเป็นมาตำบลเชี่ยวเหลียง. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา HTTP://WWW.ME-FI.COM/TOURISMDB/SENIORTOURISTS-UST/SUBDISTRIC_DETAIL.PHP? SUBID=509 สุภาพ จันทร์หอม. ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่2 บ้านย่านยาว. เหตุการณ์สำคัญและอื่นๆของบ้านย่านยาว. (สัมภาษณ์), 6 มีนาคม 2564 สุภาพ ประสิทธิพร. ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่1 บ้านน้ำแดง. เหตุการณ์สำคัญและอื่นๆของบ้านน้ำแดง. (สัมภาษณ์), 5 มีนาคม 2564 อนุภาพ ตันนุ้ย. ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่5 บ้านนาใน. เหตุการณ์สำคัญและอื่นๆของบ้านนาใน.(สัมภาษณ์), 9 มีนาคม 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook