Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit1

unit1

Published by 6032040019, 2018-08-27 22:03:11

Description: unit1

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1เรือ่ ง การส่ือสารข้อมลู และเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์เบอื้ งต้น

แบบทดสอบท่ี 11. การสอ่ื สารข้อมลู (Data Communication) หมายถงึ อะไรตอบ กระบวนการถา่ ยโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผูส้ ง่ และผรู้ ับ โดยผา่ นชอ่ งทางส่ือสาร เช่น อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื คอมพวิ เตอร์เปน็ ตัวกลางในการสง่ ขอ้ มลู เพ่อื ให้ผู้สง่ และผู้รับเกิดความเข้าใจซึง่ กนั และกนั2. การสอ่ื สารทางไกล (Telecommunication) หมายถงึ อะไรตอบ การตดิ ตอ่ สื่อสารดว้ ยการรับส่งขอ้ มูลขา่ วสารระหวา่ งตัวประมวลผล โดยผ่านสื่อกลางทเ่ี ชอ่ื มต้นทางและปลายทางทหี่ ่างกนั โดยใช้อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสห์ ลายรูปแบบ ตามกฎเกณฑ์ หรอื ระเบยี บวธิ ีการท่ีกาหนดขน้ึ ในแตล่ ะอุปกรณ์3. ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) หมายถงึ อะไรตอบ หมายถงึ การนาเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ มาเชอ่ื มตอ่ เขา้ ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการส่อื สารขอ้ มลู เพื่อแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ข่าวสารระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์

แบบทดสอบที่ 14. สว่ นประกอบของระบบสอ่ื สารขอ้ มูลประกอบด้วยอะไรบ้างตอบ การสอ่ื สารขอ้ มูลมีองคป์ ระกอบ 5 อย่าง 1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการส่งข่าวสาร (Message) เปน็ ตน้ ทางของการส่ือสารขอ้ มลูมีหนา้ ทเ่ี ตรยี มสร้างขอ้ มูล เช่น ผพู้ ดู โทรทัศน์ กล้องวดิ โี อ เป็นตน้ 2. ผรู้ ับ (Receiver) เปน็ ปลายทางการสือ่ สาร มีหนา้ ที่รบั ข้อมลู ที่สง่ มาให้ เช่น ผ้ฟู ัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เปน็ ตน้ 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสือ่ สารเพอื่ นาขอ้ มลู จากตน้ ทางไปยงั ปลายทางสอ่ื ส่งขอ้ มูลอาจเปน็ สายคู่บดิ เกลยี ว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรอื คล่ืนทีส่ ่งผา่ นทางอากาศ เช่นเลเซอร์ คล่ืนไมโครเวฟ คลนื่ วทิ ยุภาคพ้ืนดิน หรือคลื่นวทิ ยุผ่านดาวเทยี ม 4. ขอ้ มลู ขา่ วสาร (Message) คอื สญั ญาณอิเล็กทรอนิกสท์ ส่ี ง่ ผ่านไปในระบบสอ่ื สาร ซง่ึ อาจถูกเรียกว่าสารสนเทศ (Information) โดยแบง่ เปน็ 5รปู แบบ ดังน้ี 4.1 ข้อความ (Text) ใชแ้ ทนตวั อกั ขระต่าง ๆ ซงึ่ จะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหสั แอสกี เป็นต้น 4.2 ตวั เลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซงึ่ ตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถกู แปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง

แบบทดสอบที่ 15. ประโยชนข์ องระบบเครือข่ายมีอะไรบ้างตอบ 1. สามารถแชร์ขอ้ มลู ใช้ร่วมกนั ได้ ข้อมูลต่างๆในแตล่ ะเครอ่ื งภายในระบบ หากมผี ู้อื่นตอ้ งการใช้คณุ สามารถแชร์ใหผ้ อู้ ื่นนาไปใช้ได้ หรือขอ้ มลู ที่เป็นสว่ นรวมก็สามารถแชรไ์ วเ้ พ่อื ให้หลายๆฝ่ายนาไปใชง้ านได้ ซง่ึก็จะช่วยทาให้ประหยดั เน้อื ท่ีในการจัดเก็บและชว่ ยให้การปรบั ปรุงขอ้ มูลในระบบงา่ ยข้ึนและไมเ่ กิดความขัดแยง้ของข้อมลู ด้วย เพราะข้อมลู มีอยู่ชุดเดยี ว 2. สามารถแชร์อปุ กรณต์ ่างๆรว่ มกันได้ เช่น เคร่ืองพมิ พ์ สแกนเนอร์ ซิปไดร์ฟ เป็นตน้ โดยที่ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งซอื้ อุปกรณเ์ หล่านน้ั มาตดิ ตัง้ กับทกุ ๆเครื่อง เช่นในบา้ นคุณมเี ครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทั้งหมด 4 เครอื่ งอาจจะซือ้ เคร่อื งพิมพม์ าเพยี งตวั เดียวและแชร์เครือ่ งพิมพ์นน้ั เพ่อื ใช้ร่วมกันได้ 3. สามารถใช้โปรแกรมร่วมกันหลายๆเครื่องได้ เชน่ ในหอ้ ง LAB คอมพิวเตอร์ทมี่ ีจานวนคอมพวิ เตอร์ทม่ี ีจานวนเคร่ืองในระบบจานวน 30 เคร่อื ง คณุ สามารถซอ้ื โปรแกรมเพยี งแค่ 1 ชดุ และสามารถใช้งานร่วมกันได้ ซงึ่ จะทาใหส้ ะดวกในการดแู ลรักษาด้วย

แบบทดสอบท่ี 1 4. การสอื่ สารในระบบเครอื ข่ายผใู้ ช้สามารถเชื่อมกับเคร่อื งอ่ืนๆในระบบได้ เช่น อาจจะส่งขอ้ ความจากเครอื่ งของคณุ ไปยงั เครอ่ื งของคนอื่นๆได้ นอกจากนคี้ ุณยงั สามารถใช้ E - Mail ส่งขอ้ ความขา่ วสารต่างๆภายในสานักงานได้อกี เชน่ แจง้ กาหนดการตา่ งๆแจง้ ขอ้ มลู ต่างๆให้ทกุ ๆคนทราบ โดยไม่ต้องพมิ พอ์ อกทางเคร่ืองพมิ พเ์ พ่อื แจกจา่ ย ทาให้ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยได้อกี ทางหนึ่ง 5. การแชร์อินเทอร์เน็ต ภายในระบบเครอื ขา่ ยคณุ สามารถแชรอ์ นิ เตอร์เน็ตเพ่ือใช้รว่ มกนั ได้ โดยที่คุณไมจ่ าเป็นต้องซอ้ื Internet Account สาหรับทุกๆเคร่ืองและไม่จาเป็นต้องตดิ ตง้ั โมเดม็ ทกุ เคร่ือง ซงึ่ ก็จะช่วยใหค้ ณุ ประหยัดค่าใช้จา่ ยได้มาก 6. เพอื่ การเรยี นรู้ การที่คณุ ไดท้ ดลองใช้งานระบบเครือข่ายจะทาใหค้ ณุ สามารถเรียนรู้และคุ้นเคยกับระบบเครอื ข่ายมากขน้ึ ทาใหค้ ุณมปี ระสบการณใ์ นระบบเครือขา่ ยมากขน้ึ และจะทาให้คุณรู้สกึ ว่ามันไม่ใชเ่ รือ่ งยากเลย

แบบทดสอบที่ 16. การสอื่ สารขอ้ มูลมีก่ชี นดิ อะไรบา้ งแต่ละชนดิ แตกตา่ งกนั อย่างไร?ตอบ การสอ่ื สารข้อมูลมี 3. ชนิด 1. การสือ่ สารขอ้ มลู ทศิ ทางเดยี ว (Simplex Transmission) เปน็ การตดิ ต่อสือ่ สารเพยี งทิศทางเดยี วคือผสู้ ่งจะส่งข้อมูลเพยี งฝั่งเดียวและโดยฝงั่ รบั ไม่มกี ารตอบกลบั เชน่ การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ เปน็ ตน้ 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex Transmission) สามารถ สง่ ข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึง่ ไปในทศิ ทางเดยี วเทา่ นน้ั ทง้ั ฝา่ ยส่งและฝา่ ยรับ หรอื พดู อกี นยั หน่งึ คอื ผูส้ ง่ สามารถสง่ ข้อมลู ไปให้แก่ผู้รบั สว่ นผูร้ บั ก็สามารถโต้ตอบกลับได้ แตไ่ มส่ ามารถส่งสวนทางกันได้ในเวลาเดยี วกัน 3. การสอื่ สารขอ้ มูลสองทิศทางพร้อมกนั (Full Duplex Transmission) สามารถ ส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ได้ทงั้ 2ทิศทาง ทั้งฝา่ ยสง่ และฝ่ายรับ หรอื พูดอกี นยั หนงึ่ คอื ผสู้ ง่ และผู้รบั สามารถโตต้ อบสวนทางกนั ไดใ้ นเวลาเดยี วกนั เช่น การสง่ สญั ญาณโทรศัพท์ สนทนา msn , facebook

แบบทดสอบที่ 17. สญั ญาณมกี ีป่ ระเภทอะไรบ้าง?ตอบ สญั ญามี 2 ประเภท ดงั นี้ 1. สัญญาณแบบดจิ ิทลั (Digitals signal) เปน็ สัญญาณที่ถูกแบง่ เป็นชว่ งๆ อย่างไมต่ ่อเนื่อง (Discrete) โดยลักษณะของสัญญาณจะแบ่งออกเปน็ สองระดับเพอ่ื แทนสถานะสองสถานะ คอื สถานะของบิต 0 และสถานะของบติ 1 โดยแต่ละสถานะคอืการให้แรงดันทางไฟฟ้าท่แี ตกตา่ งกัน การทางานในคอมพิวเตอร์ใช้สญั ญาณดจิ ทิ ัล 2. สญั ญาณอนาลอก(Analog Signal) เป็นสญั ญาณคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าท่ีมคี วามต่อเนื่องของสัญญาณ โดยไม่เปลย่ี นแปลงแบบทันท่ีทนั ใดเหมอื นกับสญั ญาณดจิ ทิ ลั เช่น เสียงพูด หรอื อุณหภมู ิในอากาศเมอื่ เทยี บกบั เวลาท่เี ปล่ยี นแปลงอย่างต่อเนื่อง

แบบทดสอบที่ 16. การสอื่ สารขอ้ มูลมีก่ชี นดิ อะไรบา้ งแต่ละชนดิ แตกตา่ งกนั อย่างไร?ตอบ การสอ่ื สารข้อมูลมี 3. ชนิด 1. การสือ่ สารขอ้ มลู ทศิ ทางเดยี ว (Simplex Transmission) เปน็ การตดิ ต่อสือ่ สารเพยี งทิศทางเดยี วคือผสู้ ่งจะส่งข้อมูลเพยี งฝั่งเดียวและโดยฝงั่ รบั ไม่มกี ารตอบกลบั เชน่ การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ เปน็ ตน้ 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex Transmission) สามารถ สง่ ข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึง่ ไปในทศิ ทางเดยี วเทา่ นน้ั ทง้ั ฝา่ ยส่งและฝา่ ยรับ หรอื พดู อกี นยั หน่งึ คอื ผูส้ ง่ สามารถสง่ ข้อมลู ไปให้แก่ผู้รบั สว่ นผูร้ บั ก็สามารถโต้ตอบกลับได้ แตไ่ มส่ ามารถส่งสวนทางกันได้ในเวลาเดยี วกัน 3. การสอื่ สารขอ้ มูลสองทิศทางพร้อมกนั (Full Duplex Transmission) สามารถ ส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ได้ทงั้ 2ทิศทาง ทั้งฝา่ ยสง่ และฝ่ายรับ หรอื พูดอกี นยั หนงึ่ คอื ผสู้ ง่ และผู้รบั สามารถโตต้ อบสวนทางกนั ไดใ้ นเวลาเดยี วกนั เช่น การสง่ สญั ญาณโทรศัพท์ สนทนา msn , facebook

ประเภทเครอื ข่าย1. แบ่งตามลกั ษณะทางกายภาพ PAN : ระบบการติดตอ่ สือ่ สารไรส้ ายส่วนบคุ คล LAN : ระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถน่ิ MAM : ระบบเครอื ขา่ ยระดบั เมอื ง WAM : ระบบเครือขา่ ยระดับประเทศ หรือเครือขา่ ยบริเวณกวา้ ง

ประเภทเครอื ข่าย2. แบง่ ตามหนา้ ท่ีของคอมพิวเตอร์ Peer-to-Peer : เครือขา่ ยประเภทนี้ เครื่องคอมพวิ เตอรบ์ นเครอื ข่ายจะมสี ิทธิเท่าเทียมกนั ไมม่ เี ครือ่ งใดเครอ่ื งหนง่ึ ทาหน้าท่ีเป็นเซิร์ฟเวอรโ์ ดยเฉพาะ โดยสามารถเป็นไดท้ งั้ คบู่ รกิ าร ละผ้ขู อบริการในขณะเดียวกนัทัง้ น้ขี ึน้ อยกู่ ับการติดต้งั เพ่ือใชง้ านตามลักษณะเปน็ สาคัญ จุดประสงค์ของเครอื ข่ายแบบเพยี ร์ทเู พยี ร์คือ ต้องการแชรข์ ้อมลู เพือ่ ใช้งานภายในเครือขา่ ยเป็นหลักสาคญั ดงั นนั้ เครือข่ายประเภทนี้จงึ ไม่ได้มุ่งเนน้ ศกั ยภาพด้านระบบความปลอดภัยเชน่ เดียวกับเครือขา่ ยแบบไคลแอนต/์ เซิรฟ์ เวอร์ Client-Server : เครอื ขา่ ยประเทนี้มเี ครื่องศูนย์บริการ ทเี่ รยี กว่าเครือ่ งเซิรฟ์ เวอร์ และมเี ครื่องลูกข่ายต่างๆเช่อื มต่อโดยเครือข่ายหนง่ึ ๆ อาจมเี คร่ืองเซริ ์ฟเวอรม์ ากวา่ หนงึ่ ตัวเช่ือมตอ่ ภายในวงแลนเดยี วกนั ก็ได้ ซึง่เซิรฟ์ เวอรแ์ ต่ละตัวก็รบั หนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั

ประเภทเครอื ขา่ ย1. ไฟล์เซริ ฟ์ เวอร์ คอื เครือ่ งทท่ี าหน้าทบี่ ริการแฟม้ ขอ้ มลู ให้แก่เครอ่ื งลกู2. พรินต์เซิรฟ์ คอื เครือ่ งทที่ าหน้าทบ่ี รกิ ารงานพิมพ์ให้แก่เคร่อื งลกู ข่าย โดยบันทกึ งานพมิ พเ์ กบ็ ไว้ในรปู แบบของสพลู และดาเนนิ การพมิ พง์ านตามลาดบั ควิ3. ดาตา้ เบสเซริ ฟ์ เวอร์ คอื เคร่ืองทาหน้าท่บี ริการฐานขอ้ มูลให้แกเ่ ครื่องลกู ข่าย4. เวบ็ เซริ ฟ์ เวอร์ คือเครือ่ งที่จัดเก็บขอ้ มูลด้านเว็บเพจขององค์กร เพอ่ื ให้ผู้ทอ่ งเท่ยี วอนิ เทอร์เนต็ สามารถเขา้ ถงึเว็บขององคก์ รได้5. เมลเซริ ฟ์ เวอร์ คือเครอ่ื งท่ีทาหนา้ ทีจ่ ดั เก็บขอ้ มลู ดา้ นจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ E-mail ทม่ี ีการบั สง่ระหว่างกัยภายในเครือขา่ ย

ประเภทเครอื ข่าย3. แบ่งตามcเป็นเกณฑ์ Intranet : นั้นเป็นเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ทีน่ ากอ่ ตง้ั โดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกาอินเตอรเ์ น็ตในสมัยยคุ แรก ๆ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2512 เปน็ เพยี งการนาคอมพวิ เตอร์จานวนไมก่ ี่เคร่อื งนั้นมาเชื่อมตอ่ กันเทา่ นนั้ โดยมีเพียงสายส่งสญั ญาณ เพอ่ื แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอร์ Internet : ตรงกนั ข้ามกับอินเตอร์เนต็ อินทราเน็ตเป็นเครอื ขา่ ยส่วนบคุ คลที่ใชเ้ ทคโนโลยีอนิ เตอรเ์ น็ตเชน่ เวบ็ ,อีเมล์,FTP แต่อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP แตใ่ ชส้ าหรบั การรบั -ส่งข้อมูลเชน่ เดียวกบัอินเตอรเ์ น็ตซง่ึ โปรโตคอลนส้ี ามารถใช้ได้กับฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภทฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายนไี้ มใ่ ชป่ จั จัยหลักของอินทราเนต็ แตเ่ ปน็ ซอร์ฟแวร์ท่มี ีมาใหอ้ ินทราเนต็ ทางานได้ อินทราเน็ตเป็นเครือขา่ ยทอี่ งค์กรสรา้ งขน้ึ สาหรับใหก้ ับพนักงานขององค์กรท่ใี ชเ้ พยี งเทา่ น้นั

ประเภทเครอื ข่าย Exttanet : เปน็ เครือขา่ ยแบบก่งึ อนิ เตอรเ์ นต็ ก่ึงอนิ ทราเน็ต เอก็ ส์ตราเน็ต คอื เครือข่ายท่เี ชื่อมต่อระหวา่ งอนิ ทราเน็ตของ 2 องค์กร ดังนัน้ จะมบี างส่วนของเครอื ขา่ ยทเี่ ป็นเจ้าของร่วมกันระหวา่ ง 2 องคก์ รหรอืบรษิ ทั การสรา้ งอนิ ทราเนต็ จะไมจ่ ากดั ดว้ ยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายท่ีเกย่ี วกบั การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลท่ที ั้ง 2 องคก์ รจะต้องตกลงกัน การสรา้ งเอ็กส์ตราเน็ตจะเนน้ ทรี่ ะบบการรักษาความปลอดภัยขอ้ มูลกับรวมถึงการติดตั้งไฟรว์ อลหรือ ระหวา่ งอินทราเนต็ และการเขา้ รหัสขอ้ มลู และสิง่ ทส่ี าคญั ทส่ี ุดกค็ ือ นโยบายการรกั ษาความปลอดภยั ข้อมูลและการบงั คบั ใช้

จดั ทาโดย นาย เทอดเกยี รติ ชมุ นมุ พรปวส. 2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ เลขท่ี 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook