Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit3

unit3

Published by 6032040019, 2018-08-27 22:06:42

Description: unit3

Search

Read the Text Version

บทท3่ีเรือ่ งโครงสรา้ งเครอื ขา่ ย (TOPOLOGY)

โครงสร้างเครือขา่ ย (Topology)1. ลักษณะการเชื่อมตอ่ เครือข่าย 1.1 การเช่อื มต่อแบบจุดต่อจดุ (Point to Point) แบบจดุ ตอ่ จดุ (point-to-point) คือ วิธเี ชอ่ื มต่อสอื่ สงข้อมูลระหว่างอปุ กรณ์ 2 อุปกรณ์ โดยมเี สน้ ทางเพียง 1 เสน้ เทา่ นน้ั เช่นลกั ษณะการเชอ่ื มต่อระหว่างเครื่องคอมพวิ เตอรพ์ ซี ีแต่ละเคร่ืองมีเพยี งสายเพยี ง 1 สายต่อเชือ่ มโยงกนั ในการทางาน หรือในเคร่อื งทที่ าหนา้ ทเี่ ป็นเคร่ืองปลายทาง 1 เครอ่ื ง เชือ่ มตอ่ กบั เคร่อื งเมนเฟรมโดยใช้สาย 1 เสน้ หรอื ในอกี กรณีหนึ่งเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 2 เครือ่ งส่อื สารกันโดยใช้การส่งขอ้ มลู ผ่านคล่นื ไมโครเวฟ

โครงสร้างเครอื ขา่ ย (Topology) 1.2 การเชอื่ มตอ่ แบบหลายจุด (Multipoint or Multidrop) แบบหลายจดุ หรอื มัลตดิ รอปไลน์ (multidrop lime) หมายถงึ ส่ือสง่ ขอ้ มลู 1 สื่อ มีอปุ กรณ์หลายๆ อุปกรณ์ ใชส้ ือ่ สง่ ข้อมูลหรือสายร่วมกนั ดงั รูปที่ 2.3 นอกจากน้ถี ้าส่อื ส่งข้อมลู เป็นคล่ืนวทิ ยุ แบบหลายจุดใช้คล่นื วทิ ยุในอากาศรว่ มกนั การใช้คล่นื วิทยุรว่ มกัน ทาไดโ้ ดยแบง่ ความถ่ีออกเป็นช่วงความถข่ี องอปุ กรณ์แตล่ ะตวั ซ่ึงถอื ว่าเปน็ การใช้สื่อสงข้อมูลร่วมกันในแบบแบง่ สว่ นท่ีเรียกวา่ การแบง่ ปนั สว่ น (spatially share)หรืออาจผลดั กนั ใชส้ ื่อสง่ ขอ้ มูลโดยกาหนดระยะเวลาการใช้ทีเ่ รียกว่า การแบง่ ปันเวลา (time share)

โครงสร้างเครือขา่ ย (Topology)2. โครงสรา้ งของเครือขา่ ย (Network Topology) แบง่ เป็น 6 ชนดิ 2.1 โครงสร้างแบบบสั (Bus Topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบบสั จะประกอบดว้ ย สายส่งข้อมลู หลกั ทีใ่ ช้สง่ ขอ้ มูลภายในเครอื ขา่ ยเครือ่ งคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครอ่ื ง จะเช่อื มตอ่ เข้ากับสายขอ้ มลู ผ่านจดุ เชอ่ื มต่อ เมอื่ มกี ารสง่ ขอ้ มูลระหว่างเครอ่ื งคอมพิวเตอรห์ ลายเครอื่ งพร้อมกนั จะมีสญั ญาณขอ้ มลู ส่งไปบนสายเคเบ้ลิ และมกี ารแบง่ เวลาการใช้สายเคเบล้ิ แตล่ ะเครื่องข้อดี- ใชส้ ื่อนาข้อมูลนอ้ ย ชว่ ยใหป้ ระหยดั ค่าใช้จ่าย- ถา้ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหนงึ่ เสียก็จะไมส่ ่งผลต่อการทางานของระบบโดยรวมข้อเสีย- การตรวจจดุ ทม่ี ีปญั หา กระทาไดค้ อ่ นข้างยาก และถ้ามจี านวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมกี ารส่งขอ้ มูลชนกันมากจนเปน็ ปัญหา

โครงสรา้ งเครอื ขา่ ย (Topology) 2.2 โครงสร้างแบบดาว (Star Topology) โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จะต้องมจี กุ ศูนย์กลางในการควบคมุ การเชอื่ มต่อคอมพิวเตอร์ หรอื ฮับ (hub) การสือ่ สารระหวา่ งเคร่อื งคอมพิวเตอรต์ า่ งๆ จะส่อื สารผา่ นฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสเู่ ครื่องคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอื่นๆ โครงสร้างเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ขอ้ ดี-ถา้ ตอ้ งการเช่ือมตอ่ คอมพิวเตอร์เคร่ืองใหม่ก็สามารถทาได้งา่ ยและไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อน่ื ๆ ในระบบข้อเสยี-ค่าใชจ้ ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเม่ือฮบั ไม่ทางาน การส่ือสารของคอมพวิ เตอรท์ ้งั ระบบก็จะหยุดตามไปด้วย

โครงสร้างเครือขา่ ย (Topology) 2.3 โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งเครอ่ื งคอมพิวเตอรโ์ ดยทแ่ี ตล่ ะการเช่ือมตอ่ จะมีลกั ษณะเปน็ วงกลม การส่งข้อมลู ภายในเครือข่ายนกี้ จ็ ะเป็นวงกลมดว้ ยเชน่ กัน ทิศทางการส่งข้อมลู จะเป็นทศิ ทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนง่ึจนถึงปลายทาง ในกรณที ่ีมีเครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งใดเคร่อื งหน่งึ ขดั ข้อง การสง่ ขอ้ มลู ภายในเครอื ขา่ ยชนิดนี้จะไมส่ ามารถทางานตอ่ ไปได้ข้อดี- ใชส้ ายเคเบลิ้ น้อย- ถา้ ตดั เครื่องคอมพวิ เตอรท์ เ่ี สยี ออกจากระบบ ก็จะไมส่ ่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไมม่ กี ารชนกนั ของขอ้ มลู ท่แี ต่ละเคร่ืองสง่ข้อเสยี- การสง่ ข้อมูลภายในขา่ ยงานชนดิ นไ้ี ม่สามารถทางานต่อไปได้ ถา้ เครื่องคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองใดเคร่ืองหน่ึงขดั ขอ้

โครงสรา้ งเครือขา่ ย (Topology) 2.4 โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Topology) มลี กั ษณะเชื่อมโยงคล้ายกบั โครงสรา้ งแบบดาวแต่จะมโี ครงสรา้ งแบบต้นไม้ โดยมีสายนาสัญญาณแยกออกไปเปน็ แบบก่ิงไมเ่ ป็นวงรอบ โครงสรา้ งแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุม่ จะประกอบด้วยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ระดับตา่ งๆกันอยู่หลายเคร่ืองแล้วต่อกนั เป็นช้นั ๆ ดูราวกบั แผนภาพองค์กร แต่ละกล่มุ จะมีโหนดแมล่ ะโหนดลกู ในกลุ่มนั้นท่มี ีการสัมพันธก์ ัน การสอ่ื สารข้อมูลจะผ่านตวั กลางไปยังสถานอี ่ืนๆได้ทั้งหมด เพราะทกุ สถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับสง่ ขอ้ มูลเดียวกัน ดงั นน้ั ในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทลี ะสถานีโดยไมส่ ่งพรอ้ มกัน

โครงสรา้ งเครอื ขา่ ย (Topology)ข้อดี– มีความเรว็ ในการสื่อสารข้อมลู สงู โปรแกรมท่ใี ชใ้ นการควบคมุ การสือ่ สารก็เปน็ แบบพ้นื ฐานไม่ซบั ซ้อนมากนกั– สามารถรับส่งขอ้ มูลได้ปรมิ าณมากและไม่มปี ญั หาเร่อื งการจัดการการจราจรในสื่อส่งขอ้ มูลไมเ่ หมอื นกบั แบบที่ใช้สอ่ื ส่งขอ้ มูลร่วมกัน– มคี วามทนทานต่อความเสยี หายเม่อื ส่อื สง่ ขอ้ มลู หรอื สายใดสายหน่งึ เสยี หายใชก้ ารไมไ่ ด้ ไม่สง่ ผลตอ่ ระบบเครอื ขา่ ยโดยรวม แต่เกิดเสยี หายเฉพาะเครื่องตน้ สายและปลายสายเทา่ นั้น– ระบบเครือขา่ ยมคี วามปลอดภยั หรอื มคี วามเปน็ สว่ นตวั เม่อื ขา่ วสารถูกรับสง่ โดยใชส้ ายเฉพาะระหวา่ ง 2 เคร่ืองเทา่ นัน้ เครอื่ งอน่ื ไม่สามารถเขา้ ไปใช้สายรว่ มดว้ ย– เน่อื งจากโทโพโลยแี บบสมบรู ณ์เปน็ การเชอื่ มต่อแบบจดุ ตอ่ จดุ ทาให้เราสามารถแยกหรือระบเุ คร่อื งหรือสายท่ีเสยี หายไดท้ นั ที ช่วยให้ผู้ดแู ลระบบแกไ้ ขขอ้ ผิดพราดหรอื จดุ ท่เี สยี หายไดง้ า่ ย

โครงสรา้ งเครอื ขา่ ย (Topology)ขอ้ เสยี– จานวนสายท่ใี ช้ตอ้ งมีจานวนมากและอินพุด / เอาตพ์ ตุ พอร์ต (i / o port ) ต้องใชจ้ านวนมากเชน่ กัน เพราะแต่ละเครือ่ งต้องต่อเชอ่ื มไปยังทกุๆ เครอ่ื งทาใหก้ ารตดิ ตัง้ หรอื แกไ้ ขระบบทาได้ยาก– สายทใี่ ชม้ ีจานวนมาก ทาให้ส้ินเปลืองพ้ืนทใี่ นการเดินสาย– เนอื่ งจากอุปกรณ์ต้องการใชอ้ นิ พดุ / เอาตพ์ ตุ พอรต์ จานวนมาก ดงั นั้นราคาของอุปกรณ์ต่อเชือ่ มจึงมีราคาแพงและจากข้อเสยี ข้างต้นทาให้โทโพโลยแี บบสมบูรณ์จงึ ถูกทาไปใช้ค่อนขา้ งอยู่ในวงแคบ

โครงสรา้ งเครือขา่ ย (Topology) 2.5 โครงสรา้ งแบบผสม (Hybrid Topology) คอื เป็นเครือขา่ ยทผ่ี สมผสานกนั ทงั้ แบบดาว,วงแหวน และบัส เชน่ วทิ ยาเขตขนาดเล็กทม่ี หี ลายอาคาร เครือข่ายของแตล่ ะอาคารอาจใชแ้ บบบสั เช่ือมตอ่ กบั อาคารอนื่ ๆทใี่ ชแ้ บบดาว และแบบวงแหวนข้อดี- ไม่ต้องเสียคา่ ใช้จา่ ยในการวางสายเคเบิลมากนกั- สามารถขยายระบบไดง้ า่ ย- เสยี ค่าใชจ้ า่ ยนอ้ ยข้อเสีย- อาจเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดงา่ ย เน่อื งจากทุกเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ตอ่ ยบู่ นสายสญั ญาณเพยี งเส้นเดยี ว ดังน้นั หากมกี ารขาดทตี่ าแหนง่ ใดตาแหนง่ หนงึ่ ก็จะทาใหเ้ ครอื่ งอน่ื สว่ นใหญ่หรอื ทัง้ หมดในระบบไมส่ ามารถใชง้ านไดต้ ามไปดว้ ย- การตรวจหาโหนดเสยี ทาได้ยากเนอ่ื งจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพวิ เตอรเ์ พยี งเครอื่ งเดยี วเทา่ นั้นทส่ี ามารถสง่ ขอ้ ความออกมาบนสายสญั ญาณ ดังนนั้ ถ้ามีเครอื่ งคอมพิวเตอร์จานวนมากๆ อาจทาให้เกดิ การคบั คง่ั ของเนตเวริ ์ก ซง่ึ จะทาให้ระบบชา้ ลงได้

โครงสรา้ งเครือขา่ ย (Topology) 2.6 โครงสร้างแบบเมซ (Mesh Topology) รปู แบบเครอื ขา่ ยแบบน้ี ปกติใชใ้ นระบบเครอื ขา่ ยบรเิ วณกว้าง (Wide Area Network) ลักษณะการสือ่ สารจะมีการตอ่ สายหรอื การเดนิ ของขอ้ มูลระหว่างคอมพวิ เตอร์หรือโหนดไปยงั โหนดอืน่ ๆ ทุก ๆ ตวั ทาให้มที างเดินขอ้ มลู หลายเสน้ และปลอดภยั จากเหตุการณท์ ีจ่ ะเกดิ จากการลม้ เหลวของระบบ แต่ระบบนจ้ี ะมีคา่ ใชจ้ ่ายมากกวา่ ระบบอนื่ ๆ เพราะต้องใช้สายสื่อสารเปน็ จานวนมากข้อดี- ในกรณีสายเคเบล้ิ บางสายชารุด เครอื ข่ายทัง้ หมดยังสมารถใช้ได้- ทาให้ระบบมเี สถียรภาพสูง นิยมใช้กบั เครอื ข่ายทต่ี อ้ งการเสถียรภาพสงู และเครือข่ายทีม่ คี วามสาคญัข้อเสีย- สิน้ เปลอื งคา่ ใช้จ่าย และสายเคเบิ้ลมากกวา่ การต่อแบบอน่ื ๆ- ยากต่อการตดิ ตั้ง เดินสาย เคล่อื นย้ายปรบั เปล่ียนและบารุงรักษาระบบเครอื ข่าย

จัดทาโดย นายเทอดเกยี รติ ชมุ นุมพรปวส.2 คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ เลขท่ี 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook