ใบความรู้ 5.1 เร่อื ง องค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 5 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ผู้ใช้ และ กระบวนการ ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกับองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ทั้งนี้เน่ืองจากระบบสารสนเทศใน ปจั จุบนั มกี ารนาคอมพวิ เตอรม์ าประยุกต์ใชเ้ พอื่ จดั การกบั ขอ้ มลู เปน็ หลกั น่ันเอง 1) ฮารด์ แวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์คอื เครอ่ื งมือหรอื อปุ กรณท์ ้ังหมดที่เก่ยี วข้องกับคอมพวิ เตอร์ ท้ังน้ีรวมถงึ อุปกรณ์เชอ่ื มต่อเพื่อ เพิ่มประสิทธภิ าพของคอมพวิ เตอร์ในด้านต่างๆ ดว้ ย ฮารด์ แวร์มหี ลายประเภท ทาหน้าทีแ่ ตกตา่ งกันตามระบบ การทางานของคอมพิวเตอร์ ในหน่วยการเรียนรู้นี้ จะนาเสนอตัวอย่างของฮาร์ดแวร์ท่ีนิยมใช้งานในปัจจุบัน ดงั น้ี แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) ทาหน้าท่ีรับข้อมูลตัวหนังสือหรือสัญลักษณ์ต่างๆ ด้วย การกดที่แป้นพิมพ์ ภายในจะมีแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแปลงตัวหนังสือหรือสัญลักษณ์ท่ีกดลงไปเป็นรหัส หรือขอ้ มลู ดจิ ิทัล มีตาแหน่งของแปน้ พิมพ์เรียงกันเหมือนเครื่องพมิ พ์ดดี เมาส์ (Mouse) เป็นฮาร์ดแวร์ทาหน้าทร่ี ับข้อมูล ด้วยการควบคุมตัวช้ีตาแหน่งหรือเคอร์เซอร์ (Curser) บนจอภาพ โดยจะรบั ขอ้ มลู ผา่ นคาส่งั คลิก ดบั เบิลคลิก คลิกขวา และแดรก (Drag) สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลท่ีได้จากการแปลงค่าแสงท่ีตกกระทบวัตถุให้ เป็นสญั ญาณดจิ ทิ ัลท่แี สดงผลออกมาในรูปแบบของไฟลร์ ปู ภาพภายในคอมพิวเตอร์ กล้องวีดีโอ (Video Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทภาพเครื่องไหว ซึ่งจะ บันทึกข้อมูลลงในหน่วยจัดเก็บข้อมูลสารอง มีน้าหนักเบา พกพาได้สะดวก สามารถดูไฟล์ภาพเคล่ือนไหวได้ จากจอภาพท่ีตัวกลอ้ ง การ์ดเครือข่าย (Network Card) หรือ การ์ดแลน (LAN Card) ทาหน้าที่เช่ือมต่อสัญญาณระหว่างเคร่ือง คอมพิวเตอร์กับฮาร์ดแวร์อื่นๆ หรือ ระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ด้วยกันในระบบ เครอื ขา่ ย
เมนบอร์ด (Mainboard) เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีติดตั้งแผงวงจรไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หลายๆ ส่วนเขา้ ดว้ ยกนั เช่น ซีพียู แรม การด์ แสดงผล การ์ดเสยี ง เป็นต้น ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นฮาร์ดแวร์สาหรับบันทึกข้อมูลหลักที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ สามารถ เก็บข้อมูลได้มากกว่าส่ือบันทึกอื่นๆ มีหลักการทางานเหมือนกับแผ่นดิสก์เกตต์ คือ การอ่านข้อมูลบนจาน แมเ่ หล็ก เครื่องอ่านซีดี/ดีวีดี (CD/DVD Drive) ใช้สาหรับอ่านและบันทึกข้อมูลด้วยซีดีหรือดีวีดี มี หลกั การทางานด้วยการบนั ทึกขอ้ มลู ลงบนจานแมเ่ หล็ก จอภาพ (Monitor) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าที่แสดงผลเพ่ือส่ือสารกับผู้ใช้เป็นหลัก ปัจจุบันมี การพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ จอภาพวีจีเอ แบบพลาสมา แลจอภาพแบบสัมผสั ลาโพง (Speaker) ทาหนา้ ที่แสดงผลขอ้ มลู ในรปู แบบเสยี ง
เครอ่ื งพิมพ์ (Printer) เปน็ ฮาร์ดแวรท์ ่ีทาหน้าที่ในหน่วยแสดงผล ใช้สาหรับแสดงผลข้อมลู ใน รปู แบบส่งิ พมิ พ์ ยูเอสบีแฟรสไดรฟ์ (USB Flash Drive) ทาหน้าท่ีจัดเก็บหรือบันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึก ข้อมลู สารองท่นี ิยมใชม้ ากในปจั จบุ ัน เนือ่ งจากมรี ปู แบบท่สี วยงาม น้าหนกั เบา พกพาสะดวก เคส (Case) เป็นกล่องเหล็กหรือพลาสติกแข็ง ใช้สาหรับติดต้ังฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เช่น เมนบอรด์ เครือ่ งจา่ ยไฟ เคร่ืองอ่านเขยี นแผ่นซีดี/ดีวดี ี การ์ด เป็นต้น 2) ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟต์แวร์คือโปรแกรมหรือชุดคาสั่งท่ีทาให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ ซอฟต์แวร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟตแ์ วร์ระบบ และ ซอฟต์แวรประยกุ ต์ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟตแ์ วรท์ ช่ี ่วยในการจดั การระบบ คอมพิวเตอร์ จัดการทางด้านอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบน จอภาพ การนาข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การดูแล การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การ สื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึง ซอฟต์แวร์ท่ีดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีมีอยู่ในระบบ ซอฟต์แวร์ ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (operating system) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ เปน็ ต้น ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการของคอมพิ วเตอร์ท่ีเรียกว่า ระบบปฏบิ ัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคาสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อ่ืนๆ ของคอมพิวเตอร์ให้ ทางานอย่างถูกต้อง ซอฟต์แวร์น้ีเชื่อมอยู่ระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์กับฮาร์ดแวร์ท่ีเป็นหน่วย ประมวลผล
หน่วยความจา หน่วยขับแผ่นบันทึก แผงแป้นอักขระและจอภาพ ในเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการน้ีจะสง่ งานผ่านไปยังโปรแกรมควบคุมการจัดการพ้ืนฐาน ซ่งึ เป็นโปรแกรมยอ่ ยข้นั พืน้ ฐานของ การตดิ ต่อไปยงั ฮาร์ดแวร์ของระบบอีกต่อ หน่ึง การนาไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ผู้ใช้จาเป็นต้องเรียนรู้คาส่งั ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการให้ไดใ้ น ระดับหน่ึง เพ่ือเป็นพ้ืนฐานขั้นต้นของการเรียกติดต่อกับคอมพิวเตอร์เช่น การขอดูรายการข้อมูลที่เก็บในแผ่น บันทึก การจัดรปู แบบแผ่นบนั ทึกเพ่ือนามาเก็บข้อมลู การสาเนาแฟ้มขอ้ มูล การลบแฟ้มข้อมูล และการเปลีย่ น ชื่อแฟ้มข้อมูลใหม่ เป็นต้น การเรียนรู้ระบบปฏิบัติการได้ละเอียดลึกซ้ึงมากก็ยิ่งจะช่วยให้สามารถเรียก ติดต่อ ใชง้ านคอมพวิ เตอรไ์ ดม้ ากยง่ิ ขนึ้ ระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เปน็ ระบบปฏิบัติการท่ที างานเพียงงานเดียว ในเวลาหน่ึง เช่น ซีพีเอ็ม เอ็มเอสดอส พีซีดอส แอปเป้ิลดอส และระบบปฏิบัตกิ ารท่ีทางานพร้อมๆกนั หลายๆ งานในเวลาเดียวกันเรยี กวา่ ระบบหลายภารกิจ (multitasking system) เชน่ โอเอสทู วินโดวส์ 95 1. ซพี ีเอ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M) ซีพีเอ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M) จัดเป็นระบบปฏิบัติการรุ่นแรกๆ ท่ีนามาใช้ งานกับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ขนาด 8 บิต ซึ่งปัจจุบันน้ีล้าสมัยแล้วหลังจากเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้ ขยายมาเป็นเครื่องขนาด 16 บิต ก็ได้มีการเขียนระบบปฏิบัติการขึ้นใหม่ คือ เอ็มเอสดอส (Microsoft Disk Operating System : MS-DOS) พี ซีดอ ส (Personal Computer Disk Operating System : PC-DOS) ระบบปฏบิ ัตกิ ารเอ็มเอสดอสน้ีไดร้ บั ความนิยมนามาใชง้ านกบั เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรร์ ะดับพีซี 2. เอม็ เอสดอส เอ็มเอสดอสมีรากฐานมาจากระบบปฏิบัติการซีพีเอ็มน่ันเอง โดยการเขียนโปรแกรมสาหรับใช้งานกับ ไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูลอินเทล ขนาด 16 บิต เบอร์ 8088 ขึ้นใหม่ที่ยังคงรูปแบบลักษณะคาส่ังคล้าย ของเดิม เม่ือมีการปรับปรุงเพ่ิมขยายในเวลาต่อมาเป็นรุ่น 2.0 จึงได้มีการพัฒนาขีดความสามารถให้สูงขึ้นอีก มากมาย โดยในรุ่น 2.0 น้ีจะมีรูปแบบคาส่ังที่คล้ายคลึงกับคาส่ังในระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ โดยเฉพาะด้านการ จัดการข้อมูลในฮารด์ ดสิ กท์ จี่ ัดเป็นโครงสรา้ งตน้ ไม้ของการ แบ่งระบบแฟม้ เป็นระบบยอ่ ย เอ็มเอสดอสเป็นระบบปฏิบัติการที่เหมาะสาหรับงานงานเดียว แม้จะมีซอฟต์แวร์มาเสริมช่วยการใช้ งานในลักษณะหน้าต่าง (window) ทาให้สามารถทางานหลายอย่างพร้อมกันแต่ก็ยังทาได้ไม่ดีนัก เพราะไม่ได้ มีการออกแบบมาเพื่องานหลายชิ้นโดยเฉพาะ เม่ือขีดความสามารถของฮาร์ดแวร์สูงข้ึน ระบบปฏิบัติการที่ เหมาะสาหรับฮาร์ดแวร์จึงได้รับการพัฒนาเพ่ือมาทดแทนเอ็มเอสดอส เช่น ระบบปฏิบัติการ โอเอสทู และ วินโดวส์ 3. ระบบปฎบิ ตั ิการโอเอสทู และวินโดวส์ ระบบ ปฏิบัติการโอเอสทู และวินโดวส์ ถือเป็นระบบปฏิบัติการท่ีออกแบบและสร้างมาใช้กับเคร่ือง ไมโครคอมพิวเตอร์ ตระกูลพีเอสทูของบริษัทไอบีเอ็มจากัดเป็นระบบปฏิบัติการที่นามาชดเชยขีด จากัด ของเอ็มเอสดอสเดิม ด้วยการเพิ่มลักษณะพิเศษของการทางานหลายงานพร้อมกัน เทคนิคการเรียกใช้คาส่ัง เป็นเมนูและสญั รูป (icon) 4. ระบบปฎิบัตกิ ารยนู กิ ซ์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาและออกแบบสาหรับงานด้านวิชาการ และ ประยุกต์ใชท้ างดา้ นวทิ ยาศาสตร์ บนเคร่อื งมินิคอมพิวเตอร์ แต่ในภายหลงั ก็ได้ปรับปรุงไปใชบ้ นเคร่อื งเกอื บทุก
ระดับ รวมถึงเคร่อื งไมโครคอมพิวเตอรด์ ้วย ระบบปฏิบัติการยนู ิกซเ์ ป็นระบบใหญ่และซับซอ้ น สามารถใหผ้ ู้ใช้ หลายรายทางานหลายงานพร้อมกัน อย่างไรก็ตามจะมีขีดจากัดท่ีหน่วยความจาของระบบ เป็น ระบบปฏิบัตกิ ารที่นิยมใชเ้ ปน็ เครอื ขา่ ยเพ่ือการตดิ ต่อส่ือสารขอ้ มลู รว่ มกัน 2. ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ (Application software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ทีเ่ ขยี นขึ้นเพ่ือ ประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น การทางานใดๆ โดยใช้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์จาเป็นต้องทางานภายใต้สิ่งแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏิบัตกิ ารเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์ เป็นต้น ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ตย์ ังแบง่ แยกออกเปน็ ซอฟต์แวรท์ ่ีเขยี นข้นึ ใชง้ านเฉพาะและซอฟต์แวร์สาเร็จ 1) ซอฟต์แวร์ท่ีเขียนข้ึนใช้งานเฉพาะ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนตามความต้องการของผู้ใช้หรือ เฉพาะงานใดงานหน่ึง ผู้เขียนต้องเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์น้ันเป็นอย่างดี เช่น ซอฟต์แวร์ สาหรับงานจดั เก็บภาษขี องกรมสรรพากร ซอฟตแ์ วร์งานธนาคาร 2) ซอฟต์แวร์สาเร็จ เป็นซอฟต์แวร์ที่มีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างข้ึน และวางขายท่ัวไปผู้ใช้สามารถหาซ้ือ มาประยกุ ตใ์ ช้งานทั่วไปได้ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟตแ์ วร์ตารางทางาน ซอฟต์แวรจ์ ดั การฐานข้อมลู ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหน่ึงมาจากขีด ความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้นๆ เพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่าย ต่างพยายามแข่งขันกัน หลายๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเคร่ืองพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ท่ีอ่าน เขา้ ใจงา่ ย ใหว้ ิธหี รอื ขน้ั ตอนทอี่ ธบิ ายไว้อยา่ งชัดเจน และมีระบบโอนย้ายขอ้ มูลเข้าออกกับซอฟต์แวรอ์ น่ื ไดง้ า่ ย ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยู่มากมาย อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ใช้งานท่ัวไป และ ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะทาง ซอฟต์แวรท์ ีใ่ ช้งานท่วั ไป ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไป เป็นซอฟต์แวร์ท่ีไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสาหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใช้งานจะตอ้ งเป็น ผูน้ าไปประยุกต์กับงานของตน ผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาช้ินงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของ ซอฟตแ์ วร์ใชง้ านท่วั ไปนจ้ี ะไมส่ ูงมากเกินไป ซอฟต์แวรใ์ ชง้ านทั่วไปซึง่ นิยมเรยี กวา่ ซอฟตแ์ วร์สาเร็จ แบ่งออกเป็นหลายกล่มุ ตามลักษณะการใชง้ าน คอื ดา้ นการประมวลคา ดา้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู หรอื ตารางทางาน ดา้ นการเกบ็ และเลือกค้นขอ้ มูลเป็นระบบฐานข้อมูล ดา้ นการตดิ ตอ่ ส่ือสารทางไกล ด้านการพิมพ์ตง้ั โตะ๊
ด้านการลงทุนและการจัดการเงนิ ด้านวทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรรม ดา้ นภาพกราฟกิ และการนาเสนอขอ้ มูล ดา้ นการจาลอง เกม และการตดั สนิ ใจ ในบรรดาซอฟต์แวรส์ าเรจ็ ท้ังหลายในกลมุ่ นี้ กลุ่มซอฟตแ์ วรท์ ่ีมกี ารใช้งานมากและจาเป็นต้องมีประจา หน่วยงาน มักจะเป็นสี่รายการแรก คือ ด้านการประมวลคา ด้านตารางทางาน ด้านระบบฐานขอ้ มูล และด้าน การสื่อสาร นอกจากน้ีซอฟต์แวรท์ ่ีกาลังได้รับความนิยมสูงข้ึน ได้แก่ ซอฟต์แวร์ด้านกราฟิกเพื่อนาเสนอข้อมูล และซอฟตแ์ วรก์ ารพมิ พต์ งั้ โต๊ะ ซอฟต์แวร์สาเร็จส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมดเป็นโปรแกรมประยุกต์เชิงพาณิชย์ท่ีมาจากต่างประเทศ ยกเว้นเฉพาะกลุ่มแรก คือ โปรแกรมประมวลคาที่ประเทศไทยมีสร้างและพัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถ นามาใชง้ านร่วมกับภาษาไทย โดยการนาซอฟตแ์ วร์เดิมมาดดั แปลงและเพิ่มเติมส่วนทใี่ ชง้ านเป็นภาษาไทย นอกจากซอฟต์แวร์สาเร็จท่ีกล่าว ยังมีซอฟต์แวร์สาเร็จซ่ึงนาความสามารถของงานหลายๆ ด้านมา รวมอยู่ในโปรแกรมเดียวกัน เพื่อให้สามารถใช้งานหลายอย่างได้พร้อมกัน คือ จะใช้ได้ทั้งประมวลคา ตาราง ทางาน จัดการฐานขอ้ มูล การนาเสนอข้อมลู และอาจรวมถงึ การส่อื สารขอ้ มูลดว้ ย ซอฟต์แวร์สาเร็จอาจไม่สามารถนาไปใช้กับงานโดยตรง จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือพัฒนา เพ่ิมเติม ซึ่งการแก้ไขน้ีอาจต้องใช้เวลาและกาลังงาน ในบางครั้งก็ยังไม่สามารถสนองความต้องการได้ จึงเกิด การพฒั นาซอฟต์แวร์เพอื่ ใชง้ านเฉพาะอาชพี หรือเฉพาะทาง ซอฟต์แวร์ประยกุ ตเ์ ฉพาะทาง ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะทาง เป็นโปรแกรมท่ีได้รับการออกแบบและพัฒนาสาหรับนาไปใช้งาน เฉพาะด้าน หรือในอาชีพใดอาชีพหนึ่ง เช่น โปรแกรมช่วยจัดการด้านการเงิน โปรแกรมช่วยจัดการบริการ ลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟตแ์ วร์ประเภทน้ีในท้องตลาดทั่วไป แต่จะซื้อหาได้จากผู้ผลิตหรือ ตัวแทนจาหนา่ ยในราคาค่อนข้างสงู กวา่ ซอฟตแ์ วร์ ทใ่ี ชง้ านทวั่ ไป โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพ่ือใช้เก็บข้อมูลลูกค้า และระบบ ของงาน ภายในซอฟตแ์ วร์ควรจะมีส่วนทางานประมวลคาเพ่ือใชส้ ร้างรายงาน ติดต่อโตต้ อบจดหมาย และการ นดั หมายตามกาหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีท้ังรูปแบบที่มีผูใ้ ช้งานคนเดยี ว หรอื ผู้ใช้งานได้ พร้อมกันหลายคน ในประเทศไทยมีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้งานเฉพาะทางอยู่บ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์ที่ บรษิ ทั ผูผ้ ลติ ต่างประเทศได้ออกแบบมาเพ่ือรองรับงานด้านธรุ กิจ ในท่นี ี้ไดร้ วบรวมจดั ประเภท ไวด้ ังน้ี 1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหน้ี บัญชีสินทรัพย์ถาวรและ ค่าเสื่อมราคาสะสม บญั ชแี ยกประเภททั่วไป และบญั ชีเงนิ เดอื น 2) ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจาหน่าย ไดแ้ ก่ ระบบงานรบั ใบสั่งซื้อสินค้า ระบบงานบริหารสนิ ค้าคงคลัง ระบบงานควบคมุ สนิ คา้ แบบจานวนและรายชิน้ และระบบงานประวตั ิการขาย 3) ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ ระบบงานกาหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกาลังการผลิต การคานวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิต หลัก การวางแผนความตอ้ งการวัสดุ การควบคุม การทางานภายในโรงงาน การกาหนดเงนิ ทนุ มาตรฐานสินค้า และการกาหนดขนั้ ตอนการผลติ 4) ซอฟต์แวร์อื่นๆ ไดแ้ ก่ ระบบการสร้างรายงาน การบรหิ ารการเงิน การเช่าซ้ืออสังหารมิ ทรพั ย์ และ การเชา่ ซ้อื รถยนต์
3) ข้อมูล ขอ้ มลู ในทีน่ จ้ี ะมคี วามหมายรวมถึงขอ้ มลู ดิบท่ยี ังไม่ได้ผา่ นการประมวลผล และสารสนเทศทเ่ี ปน็ ข้อมูล ท่ีผ่านการประมวลผลแล้ว เมื่อนามาใช้ในระบบคอมพิวเตอร์แล้วจะถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลหรือ สัญญาณดิจทิ ลั โดยมชี นิดของข้อมลู รูปแบบของแฟม้ ข้อมูล และประเภทของแฟม้ ข้อมูล ดังนี้ ชนิดของข้อมูล ข้อมูลจะถูกเรียงลาดับจากเล็กไปใหญ่ ได้แก่ บิต ตัวอักษร เขตข้อมูลหรือฟิลด์ ระเบียนข้อมูล แฟ้มข้อมูล และฐานข้อมูล ข้อมูลแต่ละบิตจะมีลักษณะเฉพาะของตัวเองซึ่งสามารถแบ่งเป็น ชนิดตา่ งๆ ตามลักษณะไดด้ งั นี้ 1. เลขจานวนเตม็ (Integer) 2. คา่ ตรรกะ (Boolean or Logical) 3. ตัวอักษร (Character) 4. สายอักขระ (String) 5. เลขจานวนจรงิ (Floating-Point Number) 6. วนั และเวลา (Date/Time) 7. ไบนารี (Binary) รูปแบบของแฟ้มข้อมูล เนื่องจากข้อมูลท่ีใช้ในการประมวลผลมีจานวนมากกว่าที่จะเก็บไว้ใน หน่วยความจาหลัก จึงมีการจัดเก็บข้อมูลไว้ในรูปแบบของแฟ้มข้อมูล เพ่ือให้มีความเป็นอิสระจากกัน โดย ในขณะทีม่ ีการประมวลผลน้นั ขอ้ มลู จะถกู เก็บไว้ที่หน่วยความจาหลกั แลว้ จะลบทิง้ ไปเมือ่ มกี ารทางานสิน้ สุด ประเภทของแฟ้มขอ้ มลู ภายในคอมพิวเตอรจ์ ะมีแฟ้มขอ้ มลู ทใี่ ช้งาน 2 ลักษณะ คือ แฟม้ ขอ้ มูลที่นาไป ประมวลผลเพ่ือให้ได้สารสนเทศ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล และแฟ้มข้อมูลท่ีเป็นโปรแกรมสาหรับนาไปประมวลผล แฟม้ ขอ้ มลู ในชนดิ แรกอกี ทหี นึ่ง เรยี กวา่ แฟ้มโปรแกรม 4) ผูใ้ ช้ คือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ใช้งาน โต้ตอบ ควบคุม และดูแลคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้ที่ดีควรมีความรู้และ ความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์ เพ่อื ให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานได้ดียงิ่ ขึ้น ผู้ใช้สามารถแบ่งตาม ลกั ษณะการใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ 5 ประเภท คอื ผูใ้ ช้งานตามบา้ น ผู้ใช้งานตามสานักงานขนาดเลก็ ผใู้ ช้งานท่ี ตอ้ งกาความคล่องตวั ผู้ใชง้ านตามสานักงานใหญ่ และผ้ใู ชง้ านสมรรถนะสูง 5) กระบวนการ ขน้ั ตอนการทางานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานจนกระท่ังได้ผลลัพธต์ ามความต้องการของผู้ใช้ กระบวนการ ทางานท่ีดีจะต้องเกิดจากผูใ้ ช้มีความรู้ ความสามารถในการใชง้ าน ข้อมลู มีความถูกต้อง ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ มีประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านเพ่อื ใหไ้ ด้ผลลัพธ์ตามท่ตี ้องการ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลใน รูปแบบดิจิทัล ทาให้สามารถส่งเสริมการทางานด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน คอมพิวเตอร์มี ลักษณะการทางานภายใต้การควบคุมของชุดคาส่ังที่มนุษย์เขียนขึ้น โดยจะทางานอย่างเป็นระบบผ่าน ส่วนประกอบตา่ งๆ ของคอมพวิ เตอร์
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: