Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

Published by suwatchai timhirat, 2022-08-29 01:02:36

Description: รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

Keywords: Sar_2564

Search

Read the Text Version

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ การปฏบิ ตั ิงาน ผลการ เปาหมาย 5 ขอ ไม ผล ประเมิน ประเด็นพจิ ารณา ปฏิบัติ ปฏบิ ตั ิ สาํ เร็จ คณุ ภาพท่ี 1. มเี ปาหมายวิสัยทัศนและพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากาํ หนดชัดเจน ได 1.1 กาํ หนดเปา หมายท่สี อดคลอ งกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา ความตอ งการของชมุ ชน ทองถ่นิ วตั ถปุ ระสงคข องแผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของรฐั บาลและตน สังกัด 5.00 ยอดเยย่ี ม 1.2 กาํ หนดวสิ ยั ทศั น และพนั ธกิจ ทสี่ อดคลอง เช่ือมโยงกบั เปาหมาย แผนยทุ ธศาสตรช าติ แผนการ ศึกษาแหงชาติ นโยบายของรัฐบาลและตนสงั กัด √- 1.3 กําหนดเปาหมาย วสิ ัยทศั น และพนั ธกจิ ทนั ตอ การเปลี่ยนแปลงของสงั คม 1.4 นาํ เปาหมาย วสิ ัยทศั น และพนั ธกิจผา นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน √- 1.5 นาํ เปา หมาย วสิ ยั ทัศน และพันธกจิ ของโรงเรยี นเผยแพรตอ สาธารณชน √- 2. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา √- 2.1 มีการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาอยางเปนระบบ √- 2.2 มีการนาํ แผนไปปฏบิ ัติ ติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรุงพฒั นางานอยา งตอเนื่อง 2.3 มีการบริหารอตั รากําลงั ทรพั ยากรทางการศึกษาจดั ระบบดูแลชวยเหลือนักเรยี น และระบบการ 5.00 ยอดเยีย่ ม นเิ ทศภายใน √- 2.4 สถานศกึ ษามกี ารนําขอ มลู มาใชในการพัฒนาสถานศึกษา √- 2.5 สถานศกึ ษาใหบุคลากรและผูทีเก่ียวของทุกฝายมสี ว นรวมในการวางแผน ปรับปรงุ พัฒนา และ รวมรับผิดชอบตอ ผลการจดั การศกึ ษา √- 3. ดําเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน คุณภาพผเู รียนรอบดา นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุกกลุม เปาหมาย √- 3.1 บรหิ ารจัดการเกยี่ วกบั งานวิชาการ ในดา นการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา 3.2 บรหิ ารจดั การเกย่ี วกับงานวิชาการ ในดา นการพฒั นาหลกั สตู รตามความตองการของผูเรยี น ที่ √- สอดคลอ งกับบริบทของสถานศกึ ษา ชุมชน และทองถ่นิ 3.3 บรหิ ารจัดการเกย่ี วกับกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รท่ีเนนคุณภาพผูเ รยี นรอบดา นเชือ่ มโยงวิถชี วี ติ จริง 5.00 ยอดเยย่ี ม 3.4 กาํ หนดหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลมุ การจัดการเรียนการสอนทุกกลุมเปา หมาย √- 3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพฒั นาหลักสตู รใหทนั ตอ การเปล่ียนแปลงของสงั คม √- 4. พัฒนาครูและบคุ ลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ 4.1 สงเสรมิ สนับสนนุ พัฒนาครู บุคลากร ใหม ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ √- 4.2 จดั ใหมชี ุมชนการเรยี นรูทางวชิ าชพี √- 4.3 นาํ ชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพเขามาใชใ นการพฒั นางานและการเรียนรูของผเู รียน √- 4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ตั งิ านของครู บคุ ลากร ทม่ี ผี ลตอ การเรียนรขู องผเู รียน 3.00 ดี √- -√ -√ √- Page 50 of 60

การปฏิบัติงาน ผลการ ประเดน็ พิจารณา ไม ผล ประเมนิ ปฏบิ ัติ ปฏิบัติ สาํ เรจ็ คุณภาพที่ ได 4.5 ถอดบทเรยี นเพือ่ สรางนวัตกรรมหรอื วธิ ีการท่เี ปน แบบอยา งท่ดี ที ่ีสงผลตอ การเรยี นรูของผูเรียน √ - 5. จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเี่ อือ้ ตอการจดั การเรยี นรอู ยางมคี ณุ ภาพ 5.00 ยอดเย่ยี ม 5.1 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายในหอ งเรียน ทเี่ อื้อตอการเรยี นรู และคํานงึ ถงึ ความปลอดภัย √ - 5.2 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายนอกหองเรยี นทเี่ อือ้ ตอการเรียนรู และคํานงึ ถึงความปลอดภยั √ - 5.3 จดั สภาพแวดลอ มท่ีสงเสรมิ ใหผ เู รียนเกดิ การเรียนรูเปนรายบุคคล และเปน กลุม √- 5.4 จดั สภาพแวดลอ มทางสงั คม ท่เี ออ้ื ตอ การจดั การเรียนรู และมีความปลอดภยั √- 5.5 จัดใหผเู รียนไดใชป ระโยชนจากการจัดสภาพแวดลอ มตามศกั ยภาพของผเู รียน √- 6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู 5.00 ยอดเยยี่ ม 6.1 ไดศกึ ษาความตอ งการเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา √- 6.2 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ บรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรทู เ่ี หมาะสมกบั สภาพของ √ - สถานศึกษา 6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ บริหารจดั การและการจดั การเรียนรูท เ่ี หมาะสมกบั สภาพ √- ของสถานศกึ ษา 6.4 ใหบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ ใชใ นการบริการจัดการและการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกบั √- สภาพของสถานศึกษา 6.5 ติดตามผลการใชบ ริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาเพอ่ื ใชในการบริการจดั การและ √ - การจัดการเรียนรทู ่เี หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา สรปุ ผลการประเมนิ 4.67 ยอดเยยี่ ม   จดุ เนน และกระบวนการพฒั นาทส่ี งผลตอ ระดับคณุ ภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ           โรงเรยี นไดม ีการบริหารแบบมีสวนรว ม โดยคณะกรรมการบริหารโรงเรียนกาํ หนดเปา หมาย การศึกษาของโรงเรยี น บุคลากรทกุ คนรว มกนั วิเคราะห SWOT เพือ่ พิจารณาสภาพปญหา ผลการ จัดการศกึ ษาทีผ่ า นมา โดยการศึกษาขอ มลู ผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการจดั การศกึ ษาตามนโยบาย การปฏิรปู การศกึ ษา และจดั ประชุมระดมความคดิ เห็น จากบคุ ลากรในโรงเรยี น เพ่ือวางแผนรวมกนั กําหนด เปาหมาย ปรบั วิสยั ทศั น กําหนดพันธกจิ กลยุทธ ในการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา เพอ่ื การพฒั นา คุณภาพผูเรยี น โดยปการศึกษา 2564 นี้ ทางโรงเรียนไดด ําเนินการจัดทํา แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ปก ารศึกษา 2562 – 2564  ข้ึน เพื่อใหก าร พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเปน ไปอยา งตอ เนอ่ื ง      2.1 โรงเรียนมกี ารกําหนดเปาหมาย วิสยั ทัศนและพันธกจิ สอดคลอ งกับสภาพปญ หาความตองการ พัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา ความ ตองการของชุมชน ทอ งถ่ิน และสอดคลองกบั แนว ทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาแหง ชาติ      2.2 โรงเรียนมแี ผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจําป สอดคลอ งกบั การ พฒั นาผูเ รยี นทกุ กลมุ เปาหมาย มีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาใหม คี วามรู ความเชย่ี วชาญ ตาม มาตรฐานตาํ แหนง ขอ มลู สารสนเทศมีความถูกตอง ครบถวน ทนั สมยั นาํ ไปประยกุ ตใชได ดาํ เนนิ การอยาง เปน ระบบ และมี กจิ กรรมจดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่กระตุนผูเรยี นใหใฝเรยี นรู      2.3 โรงเรียนมีการปรบั ปรุงแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจําป ที่สอดคลอ งกับสภาพปญ หา ความตอ งการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ูป การศึกษา โดยผูมสี วนได สวนเสียมีสว นรวมในการพฒั นาและรับผิดชอบ Page 51 of 60

     2.4 ผูเกี่ยวขอ งทกุ ฝาย และเครือขา ยการพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา มีสวนรว มในการรว มกัน วางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา และรับทราบ รับผดิ ชอบตอผลการ จดั การศกึ ษา      2.5 โรงเรียนมกี ารนเิ ทศ กาํ กบั ตดิ ตาม และประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ท่เี หมาะสม เปนระบบและตอเนอ่ื ง เปดโอกาสใหผูเกยี่ วของมีสว นรว มใน การจดั การศึกษา      2.6 โรงเรยี นมรี ปู แบบการบริหารและการจดั การแบบมสี ว นรวม ยึดหลกั ธรรมาภบิ าล และแนวคดิ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมุงพฒั นาผเู รยี นตามแนวทาง ปฏริ ปู การศึกษา      2.7 โรงเรยี นมกี ารจัดสภาพแวดลอมภายใน ใหเออื้ ตอ การเรียนรแู กผ ูเ รยี น 2.ขอ มูล หลักฐาน เอกสารทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง           ประเด็นภาพความสาํ เรจ็ ดา นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การไดแก  โรงเรียนมีเปาหมาย วสิ ยั ทัศน และพนั ธกจิ ทโี่ รงเรยี นกําหนดชดั เจน สอดคลองกับบริบท ของโรงเรียน  ความตอ งการของชุมชน มรี ะบบการบรหิ ารจัดการคุณภาพอยางเปน ระบบ วางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาโดยนาํ แผนไปปฏิบตั ิ ติดตาม ตรวจ สอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ พฒั นางานอยางตอเนอ่ื ง มีการบริหาร อตั รากําลงั ทรพั ยากรทางการศกึ ษา  และระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นํา ขอมลู มาใชใ นการพัฒนาบุคลากร และผูเกย่ี วขอ งทกุ ฝายมสี ว นรว มในการวางแผน ปรบั ปรงุ   ปรับปรงุ และพฒั นารว มกนั รบั ผดิ ชอบตอ การจดั การศึกษา  มกี ารบรหิ าร จดั การศกึ ษา มีการบรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั งานวชิ าการ รวมถึงมีการจดั การเรียนการสอน  มกี ารสนับลสนุนพัฒนาครแู ละบุคลากรตรงตามความตองการและจดั ใหมชี มุ ชน การเรยี นรทู างวิชาชพี มาใชในการพฒั นางานและการเรยี นรขู องผเู รียน จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพภายในและภายนอกหอ งเรยี น และสภาพแวดลอ มทางสังคม ทเ่ี ออ้ื ตอการจดั การเรยี นรขู องผูเรยี นทีม่ ีคุณภาพ มคี วามปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนบั สนุนการบริหารจดั การ และการจดั การเรียนรูท่ีเหมาะสมกบั สภาพของ โรงเรยี น พัฒนาบรกิ ารดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ มหี องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอรเ พื่อใชในการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรูอยา งเหมาะสม Page 52 of 60

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปนสําคัญ จํานวนครูทง้ั หมด : 23 การปฏบิ ตั งิ าน เปา จาํ นวนครทู ผ่ี าน ผลการ ผลการ เกณฑท โ่ี รงเรียน ประเมนิ ประเมิน ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม หมาย/ กําหนด (คน) (รอยละ) คุณภาพที่ ปฏิบตั ิ รอ ยละ ได 1. จดั การเรียนรผู านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตได 90.00 23 100.00 ยอดเยย่ี ม 1.1 จัดกจิ กรรมการเรียนรูตามมาตรฐานการเรยี นรู ตัวช้ีวัดของหลกั สตู ร √ - 23 สถานศกึ ษาท่ีเนน ใหผูเรียนไดเ รียนรู โดยผา นกระบวนการคดิ และปฏิบัติ จรงิ 1.2 มแี ผนการจัดการเรียนรทู ่สี ามารถนาํ ไปจดั กจิ กรรมไดจ ริง √- 23 1.3 มรี ปู แบบการจดั การเรียนรูเฉพาะสําหรบั ผทู มี่ ีความจําเปน และ √- 21 ตองการความชวยเหลอื พเิ ศษ 1.4 ฝก ทกั ษะใหผ ูเ รียนไดแ สดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรุปองคความรู √ - 23 และนาํ เสนอผลงาน 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรูใหผูเรียนสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ น √ - 23 ชวี ติ ประจําวนั ได 2. ใชส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง เรียนรูทเี่ ออ้ื ตอการเรียนรู 75.00 16 69.57 ดี 2.1 ใชส อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั การเรียนรู √- 16 2.2 ใชแ หลงเรียนรู และภมู ิปญ ญาทองถ่ินในการจัดการเรียนรู √- 16 2.3 สรางโอกาสใหผ เู รียนไดแ สวงหาความรูดว ยตนเองจากสือ่ ทีห่ ลาก √- 16 หลาย 3. มีการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวก 90.00 23 100.00 ยอดเยีย่ ม 3.1 ผูสอนมีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น โดยเนนการมปี ฏสิ ัมพันธเชิงบวก √ - 23 3.2 ผสู อนมกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรียน ใหเด็กรกั ครู ครูรกั เดก็ และเด็ก √ - 23 รกั เด็ก เดก็ รักท่จี ะเรียนรู สามารถเรยี นรูร วมกันอยางมีความสขุ 4. ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยา งเปน ระบบ และนําผลมาพัฒนาผูเ รยี น 80.00 18 78.26 ดีเลิศ 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรูอยางเปน √- 23 ระบบ 4.2 มีข้นั ตอนโดยใชเครือ่ งมือและวธิ ีการวัดและประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสม √ - 16 กบั เปา หมายในการจดั การเรยี นรู 4.3 เปด โอกาสใหผ เู รยี นและผูม ีสว นเกี่ยวขอ งมสี ว นรว มในการวัดและ √ - 16 ประเมนิ ผล 4.4 ใหขอมูลยอ นกลบั แกผเู รยี นเพอ่ื นําไปใชใ นการพฒั นาการเรียนรู √- 16 5. มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรูและใหข อ มลู สะทอนกลบั เพอ่ื พัฒนาปรับปรุงการจดั การเรยี นรู 75.00 16 69.57 ดี Page 53 of 60

การปฏบิ ตั ิงาน เปา จํานวนครทู ่ีผาน ผลการ ผลการ เกณฑทโี่ รงเรียน ประเมิน ประเมิน ประเด็นพจิ ารณา ปฏิบัติ ไม หมาย/ กําหนด (คน) (รอยละ) คุณภาพท่ี ปฏิบตั ิ รอ ยละ ได 5.1 และผูมสี ว นเกี่ยวของรวมกันแลกเปลีย่ นความรแู ละประสบการณใ น √ - 16 การจดั การเรยี นรู 5.2 นาํ ขอ มูลปอ นกลบั ไปใชในการปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู √ - 16 ของตนเอง สรุปผลการประเมนิ 83.48 ดเี ลิศ   จดุ เนนและกระบวนการพัฒนาทีส่ ง ผลตอ ระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นนผูเรยี นเปนสาํ คญั      โรงเรยี นดาํ เนนิ การสงเสรมิ ใหครูจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน ผูเรยี นเปน สาํ คัญโดยการดําเนินงาน/กจิ กรรม อยา งหลากหลาย ไดแก งานหลกั สูตรมีการประชมุ ปฏบิ ัติ การ ปรบั ปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษา พัฒนาสูประชาคม อาเซยี นและมาตรฐานสากล เรยี นรู มีการบรู ณาการภาระช้ินงานทกุ ระดบั ชนั้ จดั ทําหนวยบูรณาการ เศรษฐกจิ พอ เพยี ง คุณคาพระวรสาร ปรบั โครงสรางรายวชิ า  เนน การ การสอนท่เี นน ทักษะการคดิ ครใู ช สอื่ การสอนท่ีทันสมัย เชน เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม และภูมปิ ญญาทอ งถ่นิ มี การนเิ ทศ ตดิ ตามการจัดกจิ กรรมการ เรยี นการสอน ภาคเรียนละ 1 ครัง้ มกี ารนาํ ภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ เขา มามีสว น รวมในการจดั กจิ กรรมใหน กั เรียนไดเรียนรู Page 54 of 60

2. สรุปผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับคุณภาพ ระดบั ปฐมวัย ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานการศึกษา ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม ดีเลิศ 1. มพี ัฒนาดา นรางกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัยท่ดี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนองได ดีเลศิ 2. มีพฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณได ดเี ลศิ 3. มีพัฒนาการดานสงั คม ชว ยเหลอื ตนเองและเปน สมาชิกทดี่ ีของสังคม ยอดเยีย่ ม 4. มีพัฒนาการดานสติปญ ญา สือ่ สารได มที กั ษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความรูได ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยีย่ ม 1. มีหลกั สตู รครอบคลมุ พัฒนาการทั้งสด่ี าน สอดคลอ งกับบรบิ ทของทอ งถนิ่ ดเี ลศิ 2. จัดครใู หเพียงพอกับช้นั เรยี น ดีเลศิ 3. สงเสริมใหครมู คี วามเชย่ี วชาญดานการจัดประสบการณ ยอดเยี่ยม 4. จัดสภาพแวดลอมและสื่อเพ่อื การเรยี นรอู ยางปลอดภัยและเพยี งพอ ยอดเยย่ี ม 5. ใหบริการส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรียนรเู พื่อสนบั สนุนการจัดประสบการณ ยอดเยย่ี ม 6. มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเ่ี ปด โอกาสใหผเู ก่ยี วของทุกฝายมสี ว นรวม ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ี่เนน เด็กเปน สาํ คญั ดีเลิศ 1. จัดประสบการณทีส่ ง เสริมใหเด็กมีพัฒนาการทกุ ดาน อยา งสมดุลเตม็ ศักยภาพ ยอดเยย่ี ม 2. สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณต รง เลน และปฏิบตั ิอยา งมีความสขุ 3. จดั บรรยากาศทเี่ อ้ือตอ การเรียนรู ใชส่ือและเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวยั 4. ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาํ ผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณแ ละพฒั นาเด็ก สรุปผลการประเมินระดับปฐมวยั Page 55 of 60

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี น ดีเลิศ ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผูเรยี น ดี ดเี ลศิ 1. มีความสามารถในการอาน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คํานวณ ดเี ลศิ 2. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห คดิ อยางมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแกป ญ หา ยอดเยย่ี ม 3. มคี วามสามารถในการสรางนวัตกรรม ดเี ลศิ 4. มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 5. มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ดีเลิศ 6. มคี วามรทู ักษะพืน้ ฐาน และเจตคติที่ดตี องานอาชพี ดเี ลศิ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของผเู รยี น ดีเลิศ 7. การมีคณุ ลักษณะและคา นยิ มทด่ี ตี ามทีส่ ถานศกึ ษากําหนด ดีเลิศ 8. ความภูมิใจในทอ งถนิ่ และความเปนไทย ยอดเยี่ยม 9. การยอมรบั ท่ีจะอยรู ว มกันบนความแตกตางและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม 10. สขุ ภาวะทางรา งกายและจิตสงั คม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยย่ี ม 1. มเี ปา หมายวิสยั ทัศนแ ละพันธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน ดี 2. มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเย่ียม 3. ดาํ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่เี นนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ เปา หมาย ยอดเยี่ยม 4. พัฒนาครแู ละบุคลากรใหมีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ดีเลิศ 5. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอือ้ ตอ การจัดการเรียนรูอยา งมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู ดี มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเ รยี นเปน สําคัญ ยอดเยย่ี ม 1. จัดการเรยี นรผู านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนําไปประยุกตใ ชในชีวติ ได ดเี ลิศ 2. ใชส ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูท เี่ อ้อื ตอการเรียนรู ดี 3. มีการบริหารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก ดเี ลศิ 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ รียนอยางเปนระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผเู รียน 5. มีการแลกเปลีย่ นเรียนรแู ละใหขอมูลสะทอ นกลบั เพ่อื พฒั นาปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู สรปุ ผลการประเมินระดบั ข้นั พื้นฐาน Page 56 of 60

3. จุดเดน ระดบั ปฐมวยั คุณภาพของเด็ก 1. เดก็ มีสขุ ภาพกายรางกายแข็งแรง เจริญเตบิ โตสมวัย อารมณแ จม ใส กลา แสดงออก สามารถเลนออกกาลงั กายและเคล่อื นไหวรา งกายไดอยางคลองแคลว 2.เด็กมี คุณธรรมจริยธรรม ปฏบิ ตั ิตนเปนคนดตี ามคุณลักษณะอนั พึงประสงค มคี วามใฝรู มีจินตนาการและความคิดสรา งสรรค และสามารถเลนและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมรว มกับผูอ นื่ มีวนิ ัยและรผู ดิ ชอบและสามารถปรับตัวเขา กบั สังคมได กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1.โรงเรยี นพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาครอบคลมุ พฒั นาการทั้ง 4 ดา น สอดคลองกบั บริบทของทอ งถิ่น มกี ารจัดประสบการณเรียนรทู ่ีหลากหลายทเ่ี นนการเรียนรูดวยวิธี การลงมือปฏบิ ัติ 2. มีการพัฒนาบุคลากรใหมีความรคู วามสามารถในการจัดประสบการณอ ยา งตอ เนอื่ งการจดั ประสบการณท่เี นนเด็กเปน สําคญั 3.โรงเรียนมกี ารจดั การ สภาพแวดลอมท้งั ภายในและภายนอกหอ งเรยี นใหเอือ้ ตอการเรยี นรูข องเด็ก คํานงึ ความปลอดภัย และสะอาด ถูกสขุ ลักษณะ มีแหลง เรียนรูท่หี ลากหลาย จัดใหห อ งเรยี น มพี ้ืนท่ีทํากิจกรรม และการเคล่ือนไหวทีเ่ ด็กสามารถจะทาํ งานไดดวยตนเอง มมี มุ เลน มมุ ประสบการณ เพอ่ื เดก็ ไดเลือกเลน อยา งเสรี มหี อ งสมุด หอ งวิทยาศาสตร หอง ส่ือการเรยี นรู มสี นามเดก็ เลน กลางแจง และลานอเนกประสงคใชเปนพืน้ ที่ในการทาํ กจิ วตั รประจาวนั เพอ่ื การเรยี นรูอ ยา งเพียงพอ การจัดประสบการณทีเ่ นนเด็กเปน สาํ คัญ 1.ครูผูสอนไดรบั การอบรมพัฒนาตนเองอยางตอ เนอื่ ง เพ่ือพฒั นาใหค รูมคี วามรคู วามสามารถในการจดั การเรียนการสอนทีม่ คี ุณภาพและเนนผูเ รียนเปนสําคญั 2.ครูมี การนําสอื่ และเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณที่หลากหลาย เหมาะสมกบั ชว งอายุ ระยะความสนใจ วิถีการเรียนรูแ ละขนั้ ตอนการจดั ประสบการณ ระดบั ขั้นพ้ืนฐาน คุณภาพของผูเรยี น 1.ผูเรยี นมคี ณุ ลกั ษณะและคา นิยมทด่ี ีงามตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด 2. ผเู รียนยอมรบั ทจ่ี ะอยูรวมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย 3. โรงเรียนพระวรสารไดส ง เสรมิ / เสรมิ สรางบคุ ลิกภาพแหง ความสาํ เรจ็ ใหก ับครูและนกั เรียนอยางเปนระบบ มรี ะเบียบวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1.ผูบรหิ ารมวี ิสยั ทัศน และบริหารงานโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การโรงเรนี 2. หลักสูตรสถานศึกษามีความเหมาะสมและสอดคลองกบั ทองถน่ิ มกี ารนเิ ทศ ภายใน กํากบั ตดิ ตามตรวจสอบและนําผลไปปรับปรุงแผนการเรยี นการสอนอยา งสม่าํ เสมอ 3. หอ งเรยี น หองปฏิบัติการ อาคารเรยี นมีความมัน่ คง สะอาด ปลอดภัย มสี ง่ิ อาํ นวยความสะดวกพอเพียง อยูในสภาพดีพรอ มใชงาน สภาพแวดลอ มรม ร่ืน และมีแหลง เรียนรสู าํ หรบั ผเู รียนเพยี งพอและเหมาะสม กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน ผูเรยี นเปนสําคญั 1. ครใู ชส อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง เรยี นรูท เี่ อ้อื ตอ การเรียนรู 2. ครูผูสอนมีการใชเทคนิคการสอนทีห่ ลากหลาย สรางกระบวนการคดิ ใหก ับผูเรียน 3. ครผู ูสอนจดั กจิ กรรมใหผ เู รยี นไดเ กิดการเรียนรแู บบ Active Learning ผูเ รยี นเรียนรจู ากประสบการณการทํางาน เรียนรูจ ากกระบวนการกลุม การแลกเปลีย่ นเรยี นรแู ละการอยรู ว ม กบั ผูอ ื่น 4. จดุ ควรพัฒนา ระดับปฐมวัย คุณภาพของเด็ก 1. สง เสริมใหเ ดก็ มีพฒั นาการดานการคิดวเิ คราะห การคดิ รวบยอด และการแกป ญ หาเหมาะสมตามวัย 2. จัดกจิ กรรมสงเสริมเดก็ ทีม่ นี าํ้ หนกั - สว นสงู ไดต ามเกณฑ มาตรฐาน กระบวนการบริหารและการจดั การ 1. มีการพฒั นาขอมูลสารสนเทศอยางครบถว น / การจัดระบบขอ มูลสารสนเทศ 2. ใหบ คุ ลากรมสี วนรวม / มคี วามเขา ใจ ในการบรหิ ารงาน 3. การพฒั นาการจัดการ เรียนรู โดยใชเ ทคนิควธิ ีการและนวตั กรรมทห่ี ลากหลาย การจัดประสบการณท เี่ นนเดก็ เปนสําคญั 1. สงเสรมิ ใหครูมคี วามเชีย่ วชาญดานการจดั ประสบการณ 2. ผูป กครองมีสวนรวมในการวางแผน และนําผลการประเมินไปพัฒนาเดก็ อยา งเปนระบบ 3. จดั บรรยากาศท่ี เออื้ ตอการเรียนรู และปรับปรงุ เปล่ียนแปลงอยูเสมอ ระดับขนั้ พื้นฐาน คุณภาพของผเู รยี น Page 57 of 60

1.สัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั เกรด 3 ขน้ึ ไปของกลมุ สาระคณิตศาสตร ภาษษอังกฤษ ของผเู รยี นไมเ ปน ไปตามเปา หมาย 2. ผเู รยี นสวนใหญม นี ํ้าหนักไมเปนไปตามเกณฑ กรมอนามัย คือ อว น และเริม่ อว น ตอ งจัดกจิ กรรมใหผ เู รยี นไดอ อกกําลงั กาย ใหความรเู รอื่ งการเลอื กรับประทานอาหาร เพอ่ื ควบคุมนํา้ หนกั กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. เสริมประสทิ ธภิ าพเพิม่ เติมในดานระบบสารสนเทศ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นนผเู รยี นเปนสําคญั 1. จดั โอกาสใหครมู ีทักษะการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก เพ่อื การเขา ใจ เขา ถึงและดูแลนักเรยี นไดอ ยา งเหมาะสมย่ิงขน้ึ 2. สง เสริมใหครผู สู อนจดั การเรยี นการสอน แบบ Active Learning ในทุกกลุมวชิ า เพ่ือใหผเู รียนมีทกั ษะกระบวนการคดิ อยา งเปนระบบ และมีการแลกเปลีย่ นเรียนรรู ะหวา งผูเ รียนกบั ครูผูสอน 5. แนวทางการพัฒนา 1. แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 1   จดั โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน 2. แผนปฏิบัติงานท่ี  2  จดั มาตรการดแู ลแกไขนักเรียนทม่ี ีน้ําหนักไมเปนไปตามเกณฑกรมอนามัย คอื อว น และเริม่ อว น โดยจัดกจิ กรรมใหผู เรียนไดออกกําลงั กาย ใหค วามร ู   เรอื่ ง การเลือกรับประทานอาหารเพอ่ื ควบคมุ น้ําหนัก โดยเขา รว มโครงการสง เสริมการบรโิ ภคผกั ผลไม และภาวะโภชนาการของนกั เรยี น กบั สสส. 3. แผนปฏบิ ัติงานที่  3  พฒั นากระบวนการบรหิ ารและการพฒั นาระบบสารสนเทศของโรงเรียน 4. แผนปฏิบัตกิ ารท ี่ 4  พัฒนาอาคารสถานทีแ่ ละสงิ่ แวดลอ ม พัฒนาอาคารประกอบใหมสี ภาพพรอ มใชง านและจดั บรรยากาศใหโ รงเรยี น สะอาด  รมร่ืนอยูเสมอ 5. แผนปฏิบตั กิ ารที ่ 5  จัดโอกาสเสรมิ ศักยภาพครใู นดานการบริหานกั เรียนเชงิ บวก และพฒั นาอยางตอ เนอื่ งในการจดั การเรียนรแู บบ  Active Learning  ในกลมุ สาระวชิ าเพอ่ื   ใหผ เู รียนมที ักษะกระบวนการคิดอยางเปนระบบ และมีการแลกเปล่ยี นเรยี นรรู ะหวา งผเู รียนกบั ครูผู สอน         6. ความตอ งการชวยเหลือ      1.  การเพิ่มสวัสดิการใหก ับครูเอกชนใหเ ทียบเทา ครูในสว นรฐั บาล 2.  การเพิม่ เงินอุดหนุนรายหวั นักเรียน 7. ความโดดเดน ของสถานศึกษา(ถา มี) Page 58 of 60

รายงานรวบรวมโดย (Prepared by) บาดหลวง ดร.ธวชั สิงหสา   ผูอํานวยการ นายสุวฒั ชยั ทมิ หิราช   เจาหนาที่ Page 59 of 60

ภาคผนวก Page 60 of 60

ประกาศโรงเรยี น เรอ่ื ง การกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาและคาเปาหมายความสําเรจ็ ของ โรงเรียนระดบั ปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (ประกาศโรงเรยี นเรื่องการกาํ หนดคาเปา หมาย)





















รายงานการประชมุ หรอื การใหค วามเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น (รายงานการประชมุ ใหความเหน็ ชอบ)



คําส่งั แตงตัง้ คณะทาํ งานจดั ทํา SAR (คาํ ส่งั แตต้ังคณะกรรมการประเมนิ ตนเอง)











หลกั ฐานการเผยแพร SAR ใหผมู ีสวนเก่ยี วของหรอื สาธารณชนรบั ทราบ (เผยแพร sar)



แผนผงั อาคารสถานท่ี (ผังโรงเรียนพระวรสาร)





โครงสรางการบรหิ ารงานโรงเรียน (โครงสรางบริหารงานโรงเรียน)





โครงสรา งหลกั สูตร เวลาเรยี น ของโรงเรยี น (โครงสรา งหลักสูตร )





undefined (ประวตั ิความเปน มาโรงเรยี นพระวรสาร)

ประวัติความเปน็ มาของสถานศึกษา โรงเรียนพระวรสาร ได้จัดตั้งขึ้นโดย บาทหลวงทองดี กฤษเจริญในนามของมิส ซัง โรมันคาทอลิกกรุงเทพ ฯ ด้วยเหตุผลที่ว่า เด็กในละแวกวัดชนไก่ต้องเดินไปเรียนไกลจากหมู่บ้าน การ เดินทางไม่สะดวกในฤดูน้ำหลาก และเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีลักษณะตามที่สังคมและประเทศชาติ มุ่งหวัง เพื่อเป็นกุศลสำหรับเด็กๆ ได้รับการอนุญาตให้เปิดทำการสอน ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2497 ตาม หลกั สูตรของกระทรวงศกึ ษาธิการ เปน็ อาคารไม้ ช้ันเดยี วยาว 44 เมตร ตามใบอนุญาตเลขที่ 1 / 2497 ให้ รับนักเรียนได้ 110 คน เปิดตั้งแตช่ ั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เริ่มทำการสอนต้งั แต่ วันที่ 17 พฤษภาคม 2498 มีนักเรียนทั้งหมด 36 คน บาทหลวงทองดี กฤษเจริญเป็นเจ้าของ / ผู้จัดการ นายวันทา จติ ตารตั น์ รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ โดยแบง่ การเรยี นเป็น 3 ภาคเรียน มีวันหยุด ประจำสัปดาห์คอื วนั พฤหสั บดีและวนั อาทติ ย์ โรงเรียนพระวรสารมกี ารเปล่ียนแปลงผู้บรหิ ารตลอดจนการพัฒนาปรับปรุงอาคาร สถานที่ ดงั นี้ พ.ศ. 2498 บาทหลวงทองดี กฤษเจริญ ยา้ ยไปประจำท่ีกรุงเทพ ฯ บาทหลวงเรอเน เมอร์นเิ อร์ มา เป็นผูแ้ ทนผรู้ บั ใบอนุญาต พ.ศ. 2505 บาทหลวงฮ้วั เซ้ียง กิจบุญชู ( ปัจจบุ ันคือ พระคาร์ดินัล ไมเกล้ิ มีชยั กิจบุญชู) ได้ขยาย ชน้ั เรียนประถมศึกษาปที ่ี 5 โดยขอขยายปลี ะ 1 ช้ันเรียน พ.ศ. 2508 บาทหลวงรอแบรต์ บีโยต์ เป็นผแู้ ทนผูร้ ับใบอนุญาต ได้กอ่ สร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สองชนั้ จำนวน 4 หอ้ งเรียน ขยายช้นั เรียนจนถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เปดิ โปรแกรมภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ เพยี งโปรแกรมเดยี ว และไดก้ ่อสร้าง อาคารบ้านพักซิสเตอร์ และหอพักนกั เรยี นประจำ ให้นายบุญส่ง สิงห์สา เป็นผ้จู ดั การ โรงเรียน พ.ศ. 2509 บาทหลวงทองดี กฤษเจรญิ ไดถ้ ึงแก่กรรม ทางมสิ ซังโรมนั คาทอลกิ จึงเปลี่ยนเจ้าของเป็น ของมสิ ซงั โรมนั คาทอลกิ ตามหนังสอื อนุญาตเลขท่ี 5 / 2509 ลงวันท่ี 7 มิถุนายน 2509 ตง้ั แต่วันท่ี 16 พฤษภาคม 2509 ( มสิ ซงั โรมนั คาทอลิกเป็นนติ ิบคุ คลประเภทองคก์ ารศาสนา ตามพระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยลักษณะของวัดบาทหลวงโรมันคาทอลกิ ในกรุงสยามตามกฏหมาย ร.ศ. 128 ) พ.ศ. 2512 บาทหลวงอา เดชังป์ เปน็ ผู้แทนผรู้ บั ใบอนญุ าต ได้กอ่ สร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหลก็ สามช้ัน จำนวน 6 ห้องเรียน ต่อจากอาคารไม้ สรา้ งเสรจ็ ในเดือนกรกฏาคม และต่อเตมิ อาคาร ตึก 3 ชนั้ อีกชนั้ ละ 4 ห้องเรียน รวมเปน็ 12 ห้องเรียน และเสนอเร่ืองขอรับรองวทิ ยะฐานะ เม่ือ 29 มิถนุ ายน 2521 โรงเรียนไดร้ ับรองวิทยฐานะระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึงชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3 มีนกั เรยี น 874 คน ครู 28 คน

พ.ศ. 2524 บาทหลวงธวัช พันธมุ จินดา เป็นผ้ลู งนามแทนเจา้ ของโรงเรยี นพระวรสาร และปี พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2530 ได้สร้างโรงอาหารหลงั อาคารเรียนรอแบรต์ ( ตึก 2 ช้นั ) เพือ่ ใช้เปน็ สถานที่รบั ประทาน พ.ศ. 2533 อาหารของนักเรียน และวนั ที่ 2 มิถุนายน 2528 พธิ เี ปิดและเสกโบสถ์นักบุญลูกา ซง่ึ ช้นั ล่าง พ.ศ. 2537 ของโบสถ์เป็นหอประชมุ โรงเรียน บาทหลวงบญุ เสริม เนอื่ งพลี เปน็ ผลู้ งนามแทนผ้รู บั ใบอนญุ าต ไดป้ รับปรุงอาคารเรยี น พ.ศ. 2542 โดยทาสีใหมท่ ้ังหมด ปรับปรุงชัน้ ล่างของอาคารเดชงั ป์ ( ตึก 3 ช้ัน ) เปน็ ห้องธุรการ วิชาการ และทำร้ัวโรงเรยี น ทำศาลาที่พกั นักเรยี นบริเวณหน้าโรงเรียน จำนวน 2 หลงั สรา้ งหอ้ งน้ำ พ.ศ. 2543 นกั เรยี นขนาด 8 น่งั และหอ้ งเกบ็ อุปกรณ์กฬี า บาทหลวงศรีปราชญ์ผิวเกลี้ยงเป็นผูล้ งนามแทนผูร้ ับใบอนญุ าตไดป้ รับปรุงสนามฟุตบอลใหม่ โดยถมดินและหินเกร็ด พร้อมทั้งติดไฟใหญ่ 4 มุม เพื่อให้สามารถใชส้ นามในเวลากลางคืนได้ นอกจากนี้ยังได้ดำเนินการสร้างหอพักชายเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ัน ชั้นบนเป็น ห้องพักนักเรียนประจำชาย ชั้นล่างใช้เป็นห้องปฏิบัติการต่างๆ ได้แก่ ห้องปฏิบัติการ คอมพวิ เตอร์ ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา และห้องดนตรี บาทหลวงสุรชัย กจิ สวัสดิ์ เป็นผู้แทนผรู้ บั ใบอนุญาต – ผู้จัดการ ขยายชั้นเรยี นระดับกอ่ น ประถมศกึ ษา ( อนุบาล ) ชั้นปที ่ี 1 – 3 จำนวน 6 ห้องเรียน ปีการศกึ ษา 2539 ปรบั ปรุง โรงเรยี นใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน นำคอมพวิ เตอร์ จำนวน 40 ชดุ มาสอนในระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 – ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 จัดหาครูต่างประเทศมาสอนภาษาองั กฤษ จดั ทำ โครงการเฉลมิ พระเกียรติ เนื่องในวโรกาสท่พี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ทรงครองสริ ิราชยส์ มบตั ิ ครบ 50 ปี โดยหาทุนใหแ้ ก่นกั เรยี นทีย่ ากจน และอาหารกลางวันสำหรับนักเรยี นท่ีขาด แคลน ปกี ารศึกษาเริ่มใช้อาคารเรยี นอนบุ าลตึก 3 ชัน้ และทำพิธีเปดิ โดย นายสนอง ปาลวัฒน์ นายอำเภอบา้ นหม่ี จดั ทำธรรมนญู โรงเรียนพระวรสาร สำหรบั ปีการศกึ ษา 2541 – 2543 บาทหลวงเดชา อาภรณ์รัตน์ เปน็ ผลู้ งนามแทนผู้รับใบอนุญาต เปน็ ผู้จัดการ และ ครูใหญ่โรงเรยี นพระวรสาร เนอ่ื งจากอาจารย์ทวีป สิงหส์ า ( เปน็ ครูใหญ่โรงเรียนพระวร สารนาน ถึง 37 ปี )ไดถ้ ึงแก่กรรมไดป้ รบั ปรุงสนามฟตุ บอลเล็ก เพื่อใช้เปน็ ลานจอดรถรบั – ส่งนกั เรยี น ปรบั ปรุงระบบโทรศัพทภ์ ายใน เทคอนกรีตเสรมิ เหล็กรอบบริเวณทเี่ ข้าแถว เคารพธงชาติ และ ไดร้ ับโอนโรงเรียนฉอ้อนอนุชนศึกษาจากอำเภอชุมแสง มาตงั้ ณ เลขท่ี 97 หมทู่ ี่ 9 ต. บางพ่งึ อ. บ้านหมี่ จ. ลพบุรี ตามใบอนุญาตเลขท่ี 21 / 2542 ตัง้ แตว่ ันที่ 1 เมษายน 2542 ใหน้ างสาวจันทรต์ รา วัฒนานกุ ลู พงศ์ เปน็ ครใู หญโ่ รงเรยี นฉออ้ นอนชุ น ศกึ ษา โรงเรียนพระวรสาร ได้รวมกจิ การโรงเรยี นฉอ้อนอนุชนศึกษา ตามใบอนญุ าตเลขท่ี ลบ.4 /2543 ลงวันท่ี 28 มิถนุ ายน 2543 โดยใช้ชอื่ โรงเรียนพระวรสาร เปดิ ทำการสอนต้ังแตร่ ะดับชั้น

พ.ศ. 2544 อนุบาลปีที่ 1 – มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีนักเรียนจำนวน 1,331 คน จำนวนหอ้ งเรยี น 31 หอ้ งเรยี น ครู 42 คน ได้ปรบั ปรุงขนาดของห้องสมุด ปรบั ปรงุ ห้องคอมพิวเตอร์ จัดระบบ พ.ศ. 2545 เสยี งภายในโรงเรยี นใหม่ท้ังหมด และมนี างสาวจนั ทร์ตรา วัฒนานกุ ลู พงศ์ เปน็ ครใู หญ่ พ.ศ. 2548 ปรับปรุงหอ้ งเรยี นเคลอื่ นทห่ี ลังถำ้ แม่พระ ปรบั ปรุงลานหนา้ โบสถ์วดั นักบญุ ลูกา ปรบั ปรุง พ.ศ. 2549 โรงอาหารใหม่ ขนาด 10 x 60 เมตร ทำรา้ นค้าภายในโรงอาหารใหใ้ หม่และเป็น พ.ศ. 2550 ระเบยี บ ทาสีอาคารเรียน และอาคารประกอบใหม่ทงั้ หมด ติดเคร่อื งดบั เพลิงจำนวน 15 เคร่ือง สำหรับทกุ อาคาร เพิ่มหม้อกรองน้ำสะอาดสำหรบั ดืม่ สรา้ งหอ้ งสขุ านักเรยี น เพิม่ ปรบั ปรงุ ห้องนำ้ สำหรับครูที่ช้นั สองของอาคารอาเดชังป์ ปรับปรงุ ถนนคอนกรตี เสริม เหล็กขนาดกวา้ ง 6 เมตร ขา้ งโบสถท์ างไปบ้านใต้ความยาว 50 เมตร มีทางเขา้ ขนาด 1.70 เมตร บาทหลวงสุระพงษ์ ไม้มงคลเป็นผู้รบั ใบอนุญาต โดยมีนางสาวจันทรต์ รา วัฒนานุกูลพงศ์ เปน็ ครใู หญ่ และ มีนางสาวอาภาวดี นลี วชั ระ เปน็ ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายธรุ การ – การเงนิ มกี ารปรับปรงุ บริเวณเสาธง ปรบั ปรุงหอ้ งโสตทศั นูปกรณ์ ปรบั ปรุงภมู ทิ ศั นใ์ น บรเิ วณตา่ งๆ ของโรงเรียน ใหม้ คี วามสวยงามรม่ รืน่ จดั ซื้อเคร่อื งคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน ใช้เรียนจำนวน พ.ศ. 2547 นางสาวนิภา เรืองวุฒชิ นะพืช รับตำแหนง่ ครูใหญแ่ ทน นางสาวจนั ทร์ตรา วฒั นานกุ ลู พงศ์ บาทหลวงสรุ ะพงษ์ ไมม้ งคลเป็นผู้รบั ใบอนญุ าตโดยมี นางสาวนภิ า เรอื งวฒุ ิชนะพืช เปน็ ครใู หญ่ มีการสร้างห้องน้ำสำหรับนักเรียนชายและหญิง อาคารศลิ ปะ ปรับปรุงอาคาร สถานท่ี ภมู ทิ ศั น์ของโรงเรยี น และสร้างแหลง่ การเรยี นรูต้ า่ งๆ บาทหลวงสุระพงษ์ ไม้มงคลเปน็ ผ้รู ับใบอนญุ าต โดยมี นางสาวเบญญาภา ไทยแก้วรอด รับตำแหนง่ ครใู หญ่มกี ารต่อเติมอาคารตอ่ จากอาคารอาเดชังป์โดยร้อื ถอนบ้านพักพระสงฆ์ เก่า เพ่ือขยายเป็นห้องเรียน และหอ้ งประกอบการ ไดแ้ ก่ หอ้ งแนะแนวและห้องสมดุ รวมท้ัง มีการปรับปรุงภูมิทัศนร์ อบๆบรเิ วณโรงเรียนให้เป็นแหลง่ การเรยี นรู้ของนักเรียนและสร้าง บรรยากาศ ที่ดีต่อการเรียน บาทหลวงพทิ ักษ์ ศลิ าโคตร เป็นผแู้ ทนผูร้ บั ใบอนุญาต โดยมนี างสาวเบญญาภา ไทยแก้วรอด รับตำแหนง่ ครูใหญ่ ในปีนี้มนี โยบายสนบั สนนุ ทางด้านเทคโนโลยสี มัยใหมโ่ ดยพัฒนาปรับปรุง การใชง้ านอนิ เตอรเ์ นต็ ในโรงเรยี นทตี่ อบสนองความต้องการของผเู้ รียน รวมไปถงึ พัฒนาการ ทางด้านกีฬา ดนตรี ของนักเรยี น มีการจดั รายการเสยี งตามสายในโรงเรียนเพอื่ ประชาสัมพนั ธ์ข่าวสารความรู้ใหก้ ับครูและนกั เรยี นพรอ้ มทั้งจัดให้มีเวบ็ ไซด์ของโรงเรยี น เกิดขึน้ ทางดา้ นวิชาการมกี ารพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เนน้ การเรียน การสอนแบบโครงงานเพ่อื ให้นักเรียนได้มีทักษะในการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ พัฒนา ผลงานด้วยตนเอง เสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม โดยยึดคณุ ธรรมพื้นฐาน 8 ประการ คอื

พ.ศ. 2551 ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ อดทน สภุ าพ สะอาด สามคั คี มีนำ้ ใจ ไดผ้ ่านการรบั รอง พ.ศ. 2552 คณุ ภาพการศึกษาจาก สมศ. ได้รับรางวัลโรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพระดบั ทอง รางวลั สุดยอด พ.ศ. 2553 สว้ มในระดับภาคกลาง และไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ การแข่งขนั ฟตุ บอลในการแข่งขันกฬี า พ.ศ. 2554 นักเรยี นของสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 พ.ศ. 2555 บาทหลวงพทิ ักษ์ ศิลาโคตร เป็นผลุ งนามแทนผู้รับใบอนุญาต / ผู้จดั การโดยมี ซิสเตอร์ เบญญาภา ไทยแก้วรอด เป็นผ้อู ำนวยการ ปีนมี้ ีการสง่ เสริมและพัฒนาโดยการจัดซื้อเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ใหมจ่ ำนวน 50 เคร่ือง สรา้ งอทุ ยานการเรียนรู้ท่ีครอบคลมุ ทัง้ จังหวดั ลพบรุ ี ปรบั ปรุงแหล่งการเรยี นรทู้ วั่ โรงเรยี น เริม่ ใช้พระราชบัญญัตโิ รงเรียนเอกชน ปี 2550 ต้ังแต่ วันที่ 12 มกราคม 2551 ใชร้ ะบบบัญชโี ปรแกรม Quickbook บาทหลวงพิทักษ์ ศลิ าโคตร เปน็ ผ้ลู งนามแทนผู้รับใบอนุญาต โดยมีซสิ เตอรไ์ พรศรี มะลวิ ัลย์ เป็นผู้อำนวยการ ปีน้ีมีการจัดหอ้ งเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ 1 หอ้ งและจัดซื้อเครื่อง คอมพวิ เตอร์จำนวน 50 เครื่องเพ่อื ใชเ้ รยี นในระดับประถมและมธั ยมศึกษา จัดระบบ อินเตอร์เน็ตของโรงเรยี น เปดิ ห้องเรียนคอมพวิ เตอรร์ ะดับอนุบาล ปรบั ปรงุ ห้องประชุมช้ัน ลา่ งของโบสถ์โดยติดต้ังเครื่องปรบั อากาศใช้สำหรบั เป็นหอ้ งประชุมและจัดงานของโรงเรียน สรา้ งโรงอาหารและห้องน้ำสำหรบั นกั เรียนอนุบาลต่อจากด้านหลงั ของอาคารเรยี น บาทหลวงพทิ ักษ์ ศิลาโคตร เปน็ ผู้ลงนามแทนผูร้ บั ใบอนุญาต โดยมีซสิ เตอร์ไพรศรี มะลวิ ลั ย์ เปน็ ผู้อำนวยการ ปีน้ีมกี ารขอขยายช้ันเรยี นเตรียมอนบุ าลเพมิ่ ขนึ้ จำนวน 1 ห้องเรียนความ จุนกั เรยี น 35 คน และปรับสภาพห้องเรียนตา่ ง ๆ ให้เป็นปัจจบุ นั ปรบั ปรุงอาคารหอพกั ชาย ดา้ นหน้าเป็นหอ้ งพยาบาลสำหรบั นักเรยี นอนบุ าล และ เริ่มใชเ้ ครื่องแบบนกั เรยี นอนบุ าลเปน็ ลายสก็อตสฟี า้ เหลือง ปรังปรงุ ห้องธรุ การ หอ้ งวิชาการ และสรา้ งถนนทางออกจากโรงเรียน ด้านหนา้ ห้องสขุ า ดำเนนิ การโครงการส่งเสริมสขุ ภาพระดับเพชร จดั โครงการอาหารกลางวัน สำหรับนกั เรียนชั้นอนุบาลปที ี่ 1 - ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 บาทหลวงพิทักษ์ ศิลาโคตร เปน็ ผ้ลู งนามแทนผู้รับใบอนุญาต / ผูจ้ ัดการ โดยมีนางสาวไพรศรี มะลวิ ัลย์ รับตำแหน่งเป็นผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา ปนี มี้ ีการสร้างอาคารเรยี นสำหรับนักเรียน เตรียมอนบุ าล ติดกลอ้ งวงจรปดิ ในทางเดนิ บันไดอาคาร 3 ชนั้ และหอ้ งเรยี นในระดับ มัธยมศกึ ษา จำนวน 6 หอ้ งเรยี น พร้อมทัง้ มีการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ของนักเรียน โดยใชค้ ูม่ อื แบบเรียนของสถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ(พ.ว.) พร้อม ท้ังเปลยี่ นแปลงยุทธศาสตร์ของโรงเรียน เพือ่ ใหต้ อบรบั กับการพัฒนาโรงเรียนในปีการศึกษา 2554 วา่ “มงุ่ มัน่ พัฒนา จดั การศกึ ษา สู่ความเปน็ เลิศ” บาทหลวงพทิ ักษ์ ศิลาโคตร เป็นผู้ลงนามแทนผรู้ ับใบอนุญาต / ผจู้ ัดการ โดยมนี างสาวสมพร กตัญญู รบั ตำแหน่งเปน็ ผู้อำนวยการสถานศึกษาปี นี้มีการทาสีอาคารเรยี นทปี่ ระสบภัย สรา้ ง

หลังคาทางเดินผ่านอาคารอนุบาล อาคารรอแบรต์ และโดมของอาคารเดชังป์ ปรบั ปรงุ ภูมิ ทัศน์ตา่ งๆบรเิ วณโรงเรยี น และได้รบั การประเมินคุณภาพภายนอกรอบทีส่ าม พ.ศ. 2556 บาทหลวงศิริชาญ เอยี งผาสุข เปน็ ผู้ลงนามแทนผู้รบั ใบอนญุ าต / ผู้จดั การ โดยมีนางสาวสม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พร กตญั ญู รับตำแหน่งเปน็ ผู้อำนวยการสถานศึกษา นางสาวจติ ราพร ณ ขอนแกน่ เปน็ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 ผ้ชู ว่ ยผู้อำนวยการ ในปกี ารศึกษา 2556 นี้โรงเรียนมีการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนและ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 ปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ในโรงเรยี นให้เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ มกี ารสร้างทางเดนิ พร้อมหลงั คา ( Walk way ) จากอาคารอเลก็ ซิสยาวตลอดจนถงึ อาคารเอชังป์ บาทหลวงศริ ิชาญ เอยี งผาสขุ เป็นผ้ลู งนามแทนผู้รบั ใบอนุญาต/ผู้จดั การ โดยมนี างสาว จิตราพร ณ ขอนแก่น เป็นผอู้ ำนวยการ ในปีการศึกษา 2557 โรงเรยี นมีการ พฒั นาห้องน้ำสำหรับนกั เรยี นปฐมวัย วางท่อระบายน้ำหลังอาคารอเล็กซสิ ปรบั ปรุงพนื้ บริเวณหนา้ อาคารเดชังป์ จัดทำที่นั่งสำหรับนักเรยี นบริเวณโดม และหนา้ อาคาร ทาสอี าคาร เรยี น หอ้ งน้ำชายและหญิง เพ่ือภูมทิ ัศน์ท่ดี ีเหมาะแก่การเรียนรู้ พักผอ่ น สำหรับนกั เรยี น บาทหลวงศิริชาญ เอียงผาสขุ เปน็ ผ้ลู งนามแทนผ้รู ับใบอนญุ าต บาทหลวงประเสรฐิ หนิ ฝนทอง ผจู้ ัดการ บาทหลวงสรุ เดช กจิ เจรญิ เปน็ ผู้อำนวยการ ในปกี ารศึกษา 2558 โรงเรยี นมีการพฒั นาสนามเด็กเลน่ อนุบาล ปรับปรุงแหลง่ เรยี นรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรบั ปรุงหอ้ งนำ้ ชาย หอ้ งนำ้ หญิง ปรบั พน้ื บรเิ วณโดม บาทหลวงมนตรี เพยี รรงุ่ เรือง เปน็ ผ้ลู งนามแทนผู้รบั ใบอนญุ าต บาทหลวงประเสรฐิ หินฝนทอง ผจู้ ัดการ บาทหลวงสุรเดช กิจเจริญ เป็นผูอ้ ำนวยการในปีการศึกษา 2559 โรงเรยี นมีการพัฒนาโดยการสร้างโดมเอนกประสงค์ขนึ้ บรเิ วณหนา้ เสาธงปรังปรุงห้องเรยี น คอมพวิ เตอรเ์ ดิมและจัดทำห้องคอมพวิ เตอร์ใหมเ่ พ่ิมอีก 1 หอ้ ง เพ่มิ คอมพิวเตอร์จำนวน 40 เครอ่ื ง บาทหลวงมนตรี เพียรรุ่งเรือง เป็นผู้ลงนามแทนผรู้ บั ใบอนุญาต บาทหลวงสรุ เดช กจิ เจริญ เปน็ ผจู้ ดั การและผู้อำนวยการในปีการศึกษา 2560 โรงเรียนมีการพฒั นาสร้างสระว่ายนำ้ บริเวณด้านหลังของอาคารอนุบาล และสร้างโดมเอนกประสงคด์ า้ นหนา้ อาคารอนบุ าล บาทหลวงมนตรี เพียรรงุ่ เรืองเป็นผลู้ งนามแทนผู้รบั ใบอนุญาต บาทหลวงสรุ เดช กจิ เจริญ เปน็ ผู้จัดการ/ ผูอ้ ำนวยการ ในปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นไดม้ กี ารพฒั นาโดยการสรา้ งหอ้ ง อาบนำ้ – หอ้ งส้วมทบ่ี ริเวณสระวา่ ยน้ำ รวมทั้งปรับปรุงหลงั คาบรเิ วณอาคารเดชงั ป์ยาวตลอด แนว เพอื่ ใชบ้ ริเวณด้านลา่ งอาคารในการจัดกิจกรรมและเป็นทีพ่ ักผ่อนสำหรบั เด็กในชว่ งพัก บาทหลวงมนตรี เพยี รรงุ่ เรืองเป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต บาทหลวงสุรเดช กจิ เจริญ เป็นผ้จู ัดการ/ ผูอ้ ำนวยการ ในปีการศกึ ษา 2562 มีการจัดสรา้ งอาคารเอนกประสงค์อีก 1 หลงั บรเิ วณดา้ นขา้ งทางเข้าประตูโรงเรียน ซ่ีงใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และ

กจิ กรรมอืน่ ๆได้อยา่ งเหมาะสม รวมถงึ พัฒนาเทปนู ลานจอดรถสำหรบั ผ้ปู กครอง สร้างโรง จอดรถสำหรับครูเพิ่ม พ.ศ. 2563 บาดหลวง ดร. ธวชั สงิ หส์ า ดำรงตำแหนง่ ผู้ลงนามแผทนผรู้ บั ใบอนุญาต ผจู้ ัดการและ ผูอ้ ำนวยการตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2563 ทำเนยี บผบู้ ริหารโรงเรียนพระวรสาร ผู้รับใบอนุญาต พ.ศ. 2495 – 2498 บาทหลวงทองดี กฤษเจรญิ พ.ศ. 2498 – 2505 บาทหลวงเรอร์เนเมอรน์ ิเอร์ พ.ศ. 2505 – 2508 บาทหลวงฮว้ั เซยี้ ง กจิ บญุ ชู ( ปัจจุบันคอื พระคารด์ ินลั มีชยั กจิ บุญชู ) พ.ศ. 2508 – 2512 บาทหลวงรอแบรต์ บีโยต์ พ.ศ. 2512 – 2524 บาทหลวงอนั ตรวน เดชังป์ พ.ศ. 2524 – 2530 บาทหลวงธวชั พนั ธมุ จนิ ดา พ.ศ. 2530 – 2533 บาทหลวงบุญเสรมิ เนื่องพลี พ.ศ. 2533 – 2537 บาทหลวงศรีปราชญ์ ผวิ เกลีย้ ง พ.ศ. 2537 – 2542 บาทหลวงสุรชัย กจิ สวัสด์ิ พ.ศ. 2542 – 2545 บาทหลวงเดชา อาภรณร์ ัตน์ พ.ศ. 2545 – 2550 บาทหลวงสุระพงษ์ ไมม้ งคล พ.ศ. 2550 – 2555 บาทหลวงพทิ ักษ์ ศลิ าโคตร พ.ศ. 2556 -2558 บาทหลวงศริ ิชาญ เอยี งผาสุข พ.ศ. 2559 – 2562 บาทหลวงมนตรี เพยี รรงุ่ เรือง พ.ศ. 2563 บาทหลวงธวัช สิงหส์ า ผจู้ ดั การ พ.ศ. 2495 – 2498 บาทหลวงทองดี กฤษเจรญิ พ.ศ. 2498 – 2505 นายเชิด ทองดี พ.ศ. 2505 – 2508 บาทหลวงฮว้ั เซีย้ ง กจิ บญุ ชู พ.ศ. 2508 – 2533 นายบุญส่ง สงิ ห์สา พ.ศ. 2533 – 2537 บาทหลวงศรปี ราชญ์ ผิวเกลีย้ ง พ.ศ. 2537 – 2542 บาทหลวงสุรชัย กจิ สวัสดิ์ พ.ศ. 2542 – 2545 บาทหลวงเดชา อาภรณร์ ัตน์ พ.ศ. 2545 – 2550 บาทหลวงสุระพงษ์ ไมม้ งคล พ.ศ. 2550 - 2555 บาทหลวงพทิ ักษ์ ศิลาโคตร

พ.ศ. 2556 - 2557 บาทหลวงศิริชาญ เอยี งผาสกุ พ.ศ. 2558 -2559 บาทหลวงประเสริฐ หนิ ฝนทอง พ.ศ. 2560 – 2562 บาทหลวงสรุ เดช กิจเจริญ พ.ศ. 2563 บาดหลวงธวัช สงิ ห์สา ครูใหญ่ / ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2495 – 2498 นายวนั ทา จติ ตารัตน์ พ.ศ. 2598 – 2505 นายเชดิ ทองด/ี นายสมหมาย นม่ิ ทอง ( รกั ษาการแทน ) พ.ศ. 2505 – 2542 นายทวีป สงิ ห์สา / บาทหลวงเดชา อาภรณร์ ตั น์ พ.ศ. 2543 – 2547 ซสิ เตอร์จันทร์ตรา วัฒนานกุ ูลพงศ์ พ.ศ. 2547 – 2548 ซสิ เตอรน์ ิภา เรอื งวฒุ ิชนะพชื พ.ศ. 2549 – 2551 ซิสเตอร์เบญญาภา ไทยแก้วรอด พ.ศ. 2552 - 2554 ซสิ เตอรไ์ พรศรี มะลวิ ัลย์ พ.ศ. 2555 - 2556 ซิสเตอร์สมพร กตัญญู พ.ศ. 2557 ซสิ เตอร์จิตราพร ณ ขอนแก่น พ.ศ. 2558 – 2562 บาทหลวงสุรเดช กจิ เจรญิ พ.ศ. 2563 บาดหลวงธวัช สงิ ห์สา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook