รายงานวิจัยในชนั้ เรียน เรื่อง การพฒั นาแอปพลิเคชันเพอ่ื การเรยี นรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ เพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาชน้ั ปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) จัดทำโดย นางสาวสิรนิ ทิพย์ ความสุข รหสั นักศกึ ษา 60181550144 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ รายงานนีเ้ ปน็ ส่วนหนึ่งของการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 / 2564 คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลำปาง
ชอ่ื เรือ่ งวิจยั การพัฒนาแอปพลเิ คชนั เพื่อการเรยี นรู้ เร่ือง ข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาช้ันปที ี่ 5 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) ชอ่ื ผ้วู จิ ัย นางสาวสิรินทพิ ย์ ความสุข ระยะเวลาทที่ ำวจิ ัย ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ความเป็นมาและสาเหตุของปัญหา ในโลกและยุคสมัยปัจจุบันได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ละประเทศมีการ แข่งขันสูง ในทางด้านกิจการงานต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การศึกษา เทคโนโลยี เป็นต้น ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่อยู่ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น เพื่อให้สังคมก้าวทนั ยุคสมัย สังคมไทยจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนระบบด้านการศกึ ษา เพื่อเป็นการพัฒนา คุณภาพชีวิต สร้างเสริมคุณลักษณะ นิสัย ปลูกฝังให้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้ ศึกษาค้นคว้าความรู้ได้จากสื่อสิ่งอำนวย ความสะดวกทางด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ก่อให้เกิดความคิดท่ีริเริ่มสรา้ งสรรค์ ซึ่งเป็นรากฐานของการทำงานของประชากรในอนาคต ที่เป็นคนยุคใหม่ ก้าวทันโลกแห่งความเจริญในปัจจุบัน และอนาคต สามารถปรับตัว ให้อยู่รอด ก้าวทนั ก้าวหนา้ ก้าวนำการเปลยี่ นแปลงทางสังคมได้อย่างมีคุณภาพ และยัง่ ยืน การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)ป.5 พบว่า มีการใช้สื่อการ สอนท่ไี ม่มีความนา่ สนใจ ผู้เรยี นจึงสนใจสิง่ รอบขา้ งทำใหไ้ ม่มีสมาธิในการเรียน ผเู้ รยี นบางคนไม่สามารถ ทำแบบฝึกหัด ทำใบกิจกรรม และทำข้อสอบได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจึงเป็นสาเหตุให้ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนไม่ถึงเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไว้ ดังนั้นในกิจกรรมการเรียนการสอนจึงควรให้ผู้เรียนได้ลงมือ เรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ของตนเองได้อย่างเต็มความสามารถ ซึ่งจะ ชว่ ยให้ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรียนดขี นึ้ การเรยี นการสอนโดยใช้ระบบจัดการเรยี นการสอนผ่าน เครือข่ายนั่นจะช่วยให้ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้ด้วยตนเองผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเพ่ือ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหด้ ียงิ่ ขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาและพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ สำหรับชั้นประถมศึกษาชั้นปีท่ี 5 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) และเพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนส่งเสริมการ จดั การเรียนการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศผสานรว่ มกบั แบบเรยี น
แนวทางการแก้ปัญหา จากการที่ผู้วิจัยได้การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)ป.5 จึง พบว่า มีการใช้สื่อการสอนที่ไม่มีความน่าสนใจ ผู้เรียนจึงสนใจสิ่งรอบข้างทำให้ไม่มีสมาธิในการเรียน ผู้เรียนบางคนไม่สามารถทำแบบฝึกหัด ทำใบกิจกรรม และทำข้อสอบได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจึงเป็น สาเหตุให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ถงึ เกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไว้ ดังนั้นผู้วิจยั จงึ ได้นำเทคนิควิธีการ สอนและทฤษฎีการเรียนร้มู าใช้ ดงั นี้ 1. ทฤษฎี Constructionism เป็นทฤษฎีการเรยี นรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนเป็นผูส้ ร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง พัฒนาขึ้นโดย Professor Seymour Papertแห่ง M.I.T. (Massachusetts Institute of Technology) สหรฐั อเมริกา โดยพฒั นามาจากทฤษฎี Constructivism ของ Piage ทฤษฎี Constructionism น้จี งึ เกีย่ วข้องกบั การสรา้ ง 2 ประการ กลา่ วคอื 1.เมื่อเด็กสร้างสรรค์บางสิ่งบางอย่างออกมาเท่ากับว่าเด็กได้สร้างความรู้ขึ้นมาภายในตนเอง ด้วย 2.ความรู้ที่เด็กได้สร้างขึ้นภายในตนเองนี้จะช่วยให้เด็กนำไปสร้างความรู้ใหม่ หรือสร้างสรรค์ ส่งิ ประดิษฐอ์ ืน่ ๆ ท่ีความสลบั ซับซ้อนกนั มากขนึ้ ทำใหเ้ กิดความรูเ้ พ่ิมพูนขนึ้ ตามไปดว้ ย 1. แนวคิดสำคัญของทฤษฎี (Constructionism 2. เริม่ ทผี่ เู้ รียนต้องอยากจะรู้ อยากจะเรยี น จึงจะเป็นตวั เร่งใหเ้ ขาขบั เคลอื่ น (ownership) 3. ใช้ความผิดพลาดเป็นบทเรียนเป็นแรงจูงใจ (internalmotivation) ให้เกิดการสร้างสรรค์ ความรู้ 4. การเรียนรเู้ ป็นทมี (team learning) จะดีกว่าการเรยี นรคู้ นเดยี ว 5. เป็นการเรยี นรูว้ ธิ กี ารเรียนรู้ (Learning to learn) ไม่ใชก่ ารสอน หลักการของทฤษฎี Constructionism มหี ลกั การสำคัญดังนี้ (สชุ นิ เพช็ รักษ์, 2548) 1. หลักการที่ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง หลักการเรียนรูต้ ามทฤษฎี Constructionism คือ การให้ผู้เรียนลงมือสร้างสิ่งของหรือประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมภายนอกที่มีความหมาย ซึ่งจะรวมถึงปฏิกิริยาระหว่างความรู้ในตัวของผู้เรียนเองกับ ประสบการณแ์ ละสิ่งแวดล้อมภายนอกสามารถเชอ่ื มโยงและสร้างเปน็ องคค์ วามรู้ใหม่ 2. หลักการที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ หลักการตามทฤษฎีConstructionism ครูต้องจัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนด้วยตนเอง โดยมีทางเลือกที่หลากหลายและเรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถเชือ่ มโยงความรรู้ ะหว่างความรู้ใหม่กับ ความรู้เกา่ ได้ ส่วนครูทำหนา้ ทเ่ี ป็นผ้ชู ว่ ยและคอยอำนวยความสะดวก
3. หลักการเรียนรู้จากประสบการณแ์ ละสิง่ แวดล้อม หลักการนีเ้ น้นให้เหน็ ความสำคัญของการ เรียนรู้ร่วมกัน ทำให้ผู้เรียนเห็นว่าคนเป็นแหล่งความรู้อีกแหล่งหนึ่งที่สำคัญ การสอนตามทฤษฎี Constructionism เป็นการจัดประสบการณ์เพื่อเตรียมคนออกไปเผชิญโลก ถ้าผู้เรียนเห็นว่าคนเป็น แหลง่ ความร้สู ำคัญและสามารถแลกเปล่ยี นความรู้กนั ได้ เม่อื จบการศึกษาออกไปก็จะปรบั ตัวและทำงาน ร่วมกับผูอ้ นื่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 4. หลักการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ หลักการนี้เน้นการใช้เทคโนโลยีแสวงหาความรู้จาก แหล่งความรตู้ า่ งๆ ดว้ ยตนเอง เปน็ ผลใหเ้ กดิ พฤติกรรมทฝ่ี ังแนน่ เม่ือผูเ้ รียน เรียนรวู้ า่ จะเรียนรู้ได้อย่างไร (Learning how to Learn) 5. หลกั การของทฤษฎี Constructionism เปน็ การเรยี นรู้ที่เน้นใหผ้ ู้เรยี นลงมือปฏิบัติหรือสร้าง สง่ิ ทมี่ คี วามหมายกบั ตนเอง ดงั นน้ั เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ต้องมลี ักษณะเอื้อตอ่ การใหผ้ ู้เรียนนำมาสรา้ งเป็นชิ้นงาน ได้สำเร็จ ตอบสนองความคิดและจินตนาการของผู้เรียน กล่าวโดยสรุปก็คือ เครื่องมือทุกชนิดที่ สามารถทำให้ผู้เรียนสร้างงานหรือลงมือปฏิบัติด้วยตนเองได้เป็นเครื่องมือที่สอดคล้องตามหลักการ ทฤษฎี Constructionism 2.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผู้วิจัยเน้นการสอนที่เน้นผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเองจึงเลือกใช้วิธีการสอนที่หลากหลายเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เช่น วิธีสอน แบบศกึ ษาด้วยตนเอง เปน็ การสอนที่ชว่ ยให้ผู้เรยี นไดศ้ ึกษาหาความรู้ด้วยตนเองท่ีเปิดโอกาสให้ ผู้เรียน ไดศ้ ึกษาหาความรดู้ ว้ ยตนเองทน่ี อกเหนอื จากหนงั สอื เรยี น เพื่อให้นักเรียนได้มโี อกาสแลกเปลย่ี น ความรู้ ความคดิ เหน็ จากผ้สู อนและผู้เรียนในห้อง เพอ่ื พฒั นาให้ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ การจัดการศกึ ษาท่ียึดหลัก ว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด โดย กระบวนการจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในระดับการอุดมศึกษาตามแนวทางเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ซึ่งมุ่งพัฒนาความรู้ และทกั ษะทางวิชาชพี ทักษะชวี ิตและทักษะสังคม 3.แอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ผู้วิจัยจึงใช้ทฤษฎีทฤษฎี Constructionism มาใช้ในบทเรียนเพื่อสร้างกระบวนการการเรียนรู้ที่หลากหลายและช่วยกระตุ้นการ เรยี นรู้ ความสนใจของผูเ้ รียนโดยส่ือการเรียนรู้จะมอี งคป์ ระกอบดังนี้ 1. คำแนะนำการใช้งาน 2. คำอธบิ ายรายวิชา 3. ตวั ชี้วดั 4. บทเรียน 5. แบบทดสอบหลงั เรียน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพ่อื เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรียนและหลงั เรยี นของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 5 ทเ่ี รยี นด้วยแอปพลิเคชันเพอื่ การเรยี นรู้ เร่อื ง ขอ้ มลู สารสนเทศ 2.เพื่อหาคุณภาพของแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 5 วิธีดำเนินการวิจัย กลมุ่ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 โรงเรียน อนุบาลแมเ่ มาะ(ชมุ ชน1) จำนวน 30 คน ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งน้ีเป็นเนื้อหาในรายเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) หน่วยการเรยี นรู้ที่3 ข้อมูลสารสนเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เร่อื ง ขอ้ มูลสารสนเทศ ขอบเขตด้านเวลา เวลาทใี่ ชใ้ นการดำเนนิ การศึกษาวิจัยในครง้ั น้ี นำไปใชจ้ ริงกับกล่มุ ตวั อยา่ งทำการศึกษา ในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ชว่ งวนั ท่ี 6 กนั ยายน 2564 – 10 กนั ยายน 2564 เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั 1.แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเทคโนโลยี(วิทยาการ คำนวณ) เรื่อง ข้อมลู สารสนเทศ ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 1 แผน 2.แอปพลิเคชันเพ่อื การเรยี นรู้ เร่อื ง ขอ้ มลู สารสนเทศ 3.แบบทดสอบหลงั เรียน เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 1 แผน แอปพลเิ คชนั เพ่อื การเรียนรู้ แอปพลิเคชนั เพ่ือการเรยี นรู้ประกอบดว้ ย 1.คำแนะนำการใช้งานสำหรับผู้เรียนทีบ่ อกถึงวิธกี ารใชง้ านในส่วนตา่ ง ๆ ของแอป พลเิ คชันเพื่อการเรยี นรู้ 2.หนา้ ตา่ งของการเข้าสู่เมนบู ทเรียนสำหรบั ผู้เรียนโดยจะแตกแยกออกไปเป็น และ เส้นทางการเรยี นรู้หรือเน้อื หาบทเรยี นทผ่ี ู้เรียนจะตอ้ งเรียน 3.แบบทดสอบหลังเรยี นเพ่ือวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผทู้ ่ีเข้ามาเรยี น
4.แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมนั้น จะเชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บไซต์หรือเอกสารประกอบการ เรยี นการสอนที่ผูส้ อนไดก้ ำหนดไว้ว่าจะให้ผเู้ รียนศกึ ษาเพ่ิมเติม 5.แหล่งอา้ งอิงขอ้ มูลต่าง ๆ ภายในแอปพลิเคชนั เพ่อื การเรียนรู้ โดยหากผเู้ รยี นหรือ ผู้สอนที่สนใจศกึ ษาต่อไปกส็ ามารถท่จี ะเรียนรู้หรือไปหาแหล่งทม่ี าของข้อมลู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรู้ เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นข้อสอบ แบบปรนยั จำนวน 20 ข้อ 20 คะแนน การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ที่ใช้ในการวิจยั ในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู ผศู้ ึกษาได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยอาศัย เครือ่ งมือ 3 ประเภท ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดงั นี้ 1.แอปพลิเคชันเพือ่ การเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปี ท่ี 5 จำนวน 1 เรื่อง ใช้ประกอบกับแผนการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 1 แผน ใช้เกบ็ ข้อมูลระหว่าง การดำเนินกิจกรรม ตั้งแต่ตน้ จนจบกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนด้วยแอปพลิเคชัน เพอื่ การเรียนรู้ 2.แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ใช้ทดสอบความรู้ของกลุ่มเป้าหมาย ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแอปพลิเค ชันเพื่อการเรียนรู้เสร็จแล้ว ซึ่งใช้แบบทดสอบ จำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน โดยเก็บข้อมูลตาม ขนั้ ตอน ดังนี้ 1)ก่อนเร่ิมกิจกรรมการเรยี นการสอนให้นักเรยี นทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียน (Pretest) 2) เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมทั้งหมดแล้วให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นหลงั เรียน (Posttest) 3) นำคะแนนจากการทำแบบทดสอบมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกอ่ นเรียนและหลงั เรียน 3.แบบประเมินความพงึ พอใจ 1) เม่อื เสร็จส้นิ กิจกรรมทั้งหมดแลว้ ให้นักเรียนทำแบบประเมินความพึงพอใจ ท่ีมตี ่อแอปพลิเคชนั เพ่ือการเรยี นรู้ เรื่อง ขอ้ มูลสารสนเทศ 2) นำคะแนนจากการทำแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อแอป พลิเคชนั เพ่อื การเรยี นรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ มาวเิ คราะหห์ าค่าเฉลี่ยของแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
5.4การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิติท่ีใช้ในการวิจยั 1.หาค่าสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของ คะแนนที่ ได้จากแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 2.การทดสอบคา่ เฉลยี่ ของกลุ่มตัวอยา่ ง T – test ผลการวจิ ัย 1.ผลการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อการเรยี นรู้ เร่อื ง ขอ้ มลู สารสนเทศ เพ่อื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชมุ ชน 1) 1.1 ผลการประเมินคุณภาพของแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 โดย ผู้เชยี่ วชาญนำเสนอดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพของพัฒนาแอปพลิเคชันเพ่ือการเรยี นรู้ เร่ือง ขอ้ มูลสารสนเทศ เพื่อเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/5 โดยผเู้ ชยี่ วชาญ ที่ รายการประเมิน N=3 1. ดา้ นเน้อื หา ���̅��� S.D. แปลความ 1.เนอ้ื หาเหมาะสมกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.66 0.57 มากทส่ี ดุ 2.ความถูกต้องเน้ือหา 5.00 .00 มากทส่ี ดุ 3. ความเหมาะสมในการจัดเรียงลำดับเน้อื หา 5.00 .00 มากทีส่ ุด 4. เน้ือหาเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย 4.66 0.57 มากทส่ี ุด 5. ความสมบูรณ์ของเนื้อหา 4.33 0.57 มาก รวมเฉล่ยี 4.73 0.34 มากท่ีสดุ 2. ดา้ นการออกแบบ 1. การออกแบบกราฟกิ หน้าจอมคี วามสวยงาม 4.66 0.57 มากทส่ี ดุ 2. ภาพประกอบสอดคล้องกับเน้ือหา 4.00 1.00 มาก 3. ความเหมาะสมขององค์ประกอบในจอ 4.66 0.57 มากที่สุด 4. ความเหมาะสมของรูปแบบตัวอักษร ขนาด 4.66 0.57 มากที่สุด ตวั อกั ษร และสตี ัวอกั ษร 5. แอปพลเิ คชันนา่ สนใจและดงึ ดดู ต่อการเรียน 5.00 0.00 มาก รวมเฉล่ีย 4.59 0.54 มากท่สี ุด
ท่ี รายการประเมิน ���̅��� N=3 3. ดา้ นการวดั และประเมินผล S.D. แปลความ 1. แบบทดสอบสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.33 0.57 มาก 0.00 มาก 2. มกี ารกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนชดั เจน 4.00 0.57 มาก 3. แบบประเมินความทักษะการแก้ปัญหามีความ 4.33 เหมาะสมกบั ผ้เู รียน 0.57 มากท่สี ดุ 4. แบบฝกึ หัดส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา 4.66 0.00 มากที่สดุ 5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ตรงตามแผนการ 5.00 0.34 มาก จัดการเรียนรู้ 0.40 มากที่สุด รวมเฉล่ยี 4.46 รวมเฉลย่ี ทุกรายการ 4.59 จากตารางท่ี 1 พบว่าผลการประเมนิ คุณภาพของแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เร่ือง แนวคิดเชิง คำนวณเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ของมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ โดย ภาพรวมสอดคล้องในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มี ความเหมาะสมสูงสุดคือด้านเนื้อหา อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 4.73 รองลงมาคือด้านการ ออกแบบ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 4.59 และด้านการวัดและประเมินผล อยู่ในระดับมาก มีค่า เทา่ กบั 4.46 2.จากการศึกษาและนำแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ไปใช้กับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 5/5 นำเสนอดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน ที่เรียนด้วย แอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เทียบกับหลัง เรียน คะแนนสอบ จำนวน ค่าเฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบน ผลตา่ ง t-test นักเรยี น (���̅���) มาตรฐาน คะแนน(������) (������. ������) (������) ก่อนเรยี น 30 13.23 1.81 3.66 7.98 หลงั เรยี น 30 16.9 1.42 t(.05,29) = 1.6991 *มนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05
จากตารางที่ 2 พบว่า ค่าวิกฤต t จากการเปิดตารางค่าวิกฤต t (Critical Values of t) df = 29 ที่ระดับ .05 เท่ากับ 1.6991 และค่า t ที่คำนวณได้คือ 7.98 มีค่ามากกว่าค่า t วิกฤตของ t (ตาราง) สรุปได้ว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5/5ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรยี น อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 สรุปและสะท้อนผลความคิดเชงิ วิชาชพี จากวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ครั้งนี้มี วัตถุประสงค์1)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ 2)เพื่อหาคุณภาพ ของแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี5/5 โรงเรียนอนุบาลแมเ่ มาะ (ชุมชน 1) จำนวน 30 คน ซ่งึ ทำการวิจัยภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 เครอ่ื งมือท่ใี ช้มี คือ 1) แอปพลเิ คชนั เพื่อการเรยี นรู้ เร่ือง ข้อมลู สารสนเทศ ใช้ประกอบแผนการเรียนรู้ 1 แผน 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนโดยการ เก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัย ได้ทำการเก็บข้อมูลเองและสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยให้นักเรียน ศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเองในแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ และทำแบบทดสอบ หลังเรียนผา่ น Google from เรื่อง ข้อมลู สารสนเทศ จากการศกึ ษาและนำ แอปพลิเคชันเพื่อการเรยี นรู้ เร่ือง ขอ้ มูลสารสนเทศ ไปใช้ปรากฎผล ดงั นี้ 1.ผลของการสร้างแอปพลิเคชนั เพือ่ การเรียนรู้ เร่อื ง ข้อมลู สารสนเทศ พบว่า แอปพลิเคชันเพื่อ การเรยี นรู้ เร่อื ง ขอ้ มูลสารสนเทศ ความเหมาะสมสอดคล้องขององค์ประกอบตา่ งๆ เทา่ กบั 5.00 ซ่ึงอยู่ ในระดับคุณภาพ มากที่สุด เนื่องจากแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ ผู้จัดทำได้มีการจัดเรียงเนื้อหาอย่าง เปน็ ลำดับขน้ั ตอนตามลำดบั ความยากง่าย มกี ารกำหนดสถานการณ์ปัญหา ภารกิจ ฐานความช่วยเหลือ และเมนูบทเรียนซึ่งให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นต่อการเรียนและเกิดทักษะการแก้ปัญหา จึงส่งผลให้ ผู้เรียนมีทักษะการแก้ปญั หาหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรียน และได้มีการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญให้แอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ซ่ึง สอดคล้องกับ งานวิจัยของ พมิ พป์ วีณ์ สุวรรณโณ ไดศ้ กึ ษา เรอ่ื ง การพฒั นาแอปพลเิ คชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชาการวจิ ัยทางการศึกษาบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ สำหรับนักศึกษาชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 2)ประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันเพื่อการ เรียนรู้ กลุ่ม ตัวอย่างคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จำนวน 30 คน พบว่า แอปพลิเคชันเพื่อการ
เรียนรู้ รายวิชาการวิจัยทางการศึกษา บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยภาพรวมมีคุณภาพอยู่ใน ระดับดี (\\bar{x}= 3.92, S.D. = 0.19) 2.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 ท่ีเรียนผ่านแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 13.23 แบบทดสอบหลังเรียนเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.9 เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นจึงเห็นวา่ นกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียน ทง้ั น้เี ปน็ เพราะแอปพลิเคชัน เพอ่ื การเรยี นรู้ เรือ่ ง ข้อมลู สารสนเทศ ท่ีผา่ นการตรวจสอบความถูกต้องทุกข้นั ตอนโดยผู้เชี่ยวชาญ และ ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้เป็นเพราะแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ ทเ่ี ป็นสื่อการเรียนการสอนที่สามารถชว่ ยกระตุน้ ความสนใจในการเรียนทำให้ผเู้ รยี นเข้าใจใน เนื้อหาในรายวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณป.5)มากยิ่งขึน้ ซึ่งสอดคล้องกบั งานวิจัยของ เกตุแก้ว ยิ่ง ยืนยง (2562) ได้ศึกษา เรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และโครงสร้างของ เซลลเ์ พอ่ื ส่งเสริมทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 กลุ่มตวั อย่างท่ีใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวังม่วง ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีจับสลาก พบว่า ผู้เรียนมีทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ คะแนนหลังเรยี น สูงกว่ากอ่ นเรยี น มคี า่ เฉลย่ี เทา่ กบั 7.50/17.40
ภาคผนวก - แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เร่อื ง ข้อมลู สารสนเทศ จำนวน 20 ข้อ - แบบประเมินความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบต่าง ๆ ของแอปพลิเคชันเพื่อการ เรยี นรู้ เรื่อง ขอ้ มูลสารสนเทศ สำหรบั ผู้เช่ยี วชาญ - ผลการประเมินคุณภาพ ของแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรยี นและหลังเรยี นของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปี ท่ี 5/5 โดยผเู้ ช่ยี วชาญ - ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชัน เพือ่ การเรยี นรู้ เรอื่ ง ขอ้ มูลสารสนเทศ ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5/5 เทียบกับหลัง เรยี น จำนวน 30 คน - ร่องรอยหลักฐานการประเมินสื่อแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ สำหรบั ผูเ้ ชีย่ วชาญ - ภาพตัวอย่างแอปพลเิ คชันเพอ่ื การเรียนรู้ เรือ่ ง ข้อมลู สารสนเทศสำหรบั ผู้เช่ียวชาญ - ภาพประกอบกิจกรรม - ผลงานนกั เรียน
แบบทดสอบหลังเรียน เรอื่ ง ขอ้ มูลสารสนเทศ จำนวน 20 ข้อ 1.สิง่ ทเ่ี รานำมาใชใ้ นการคำนวณหมายถงึ ข้อใด ก. ข้อมลู ข. ขอ้ มลู ตวั เลข ค. ข้อมูลภาพ ง. ข้อมูลเสียง 2.ข้อใดไมใ่ ชข่ ้อมูลตัวอักษร ก. ชือ่ - นามสกลุ ข. ประวตั ิโรงเรยี น ค. บา้ นเลขท่ี ง. คะแนนสอบวิชาต่าง ๆ 3.ข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต หนังสือ วทิ ยุ และโทรทัศน์ จัดเป็นแหลง่ ข้อมลู ประเภทใด ก. แหลง่ ข้อมูลปฐมบท ข. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ค. แหล่งข้อมูลทุติยภมู ิ ง. ข้อมูลทางตรง 4.ขอ้ ใดไมใ่ ชข่ ้อมลู ตัวเลข ก. คะแนนสอบวิชาตา่ ง ๆ ข. จำนวนเงนิ ค. ราคาสินค้า ง. เลขทบี่ ตั รประชาชน 5.ขน้ั ตอนแรกของการรวบรวมขอ้ มูลคอื ขอ้ ใด ก. วางแผนในการสืบค้น ข. กำหนดวัตถปุ ระสงค์และความตอ้ งการ ค. พจิ ารณาแหลง่ ขอ้ มลู ง. วิเคราะห์ความนา่ เช่อื ถือ
6.ข้อใดคือลักษณะของขอ้ มูลทไี่ ม่ดี ก. ข้อมลู มีความถูกต้องและทนั สมัย ข. ข้อมูลท่ีไม่มแี หล่งอ้างอิงทเี่ ชือ่ ถือได้ ค. ข้อมลู ตรงกับความตอ้ งการของผู้ใช้ ง. ข้อมลู มีความเรียบร้อยสมบรู ณ์ 7.ข้อใดคอื คณุ สมบตั ิของข้อมูลภาพ ก. เป็นข้อมูลทเ่ี ปน็ ภาพในลักษณะรปู แบบต่างๆที่เรามองเห็น อาจจะเป็นภาพนิ่ง หรือภาพเคลอ่ื นไหวก็ได้ ข. เปน็ ขอ้ มูลทีเ่ กดิ จากการไดย้ นิ ค.เป็นข้อมูลทป่ี ระกอบไปด้วยตัวอกั ษรภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ ง. เปน็ ข้อมูลที่เราสามารถนำมาใชค้ ำนวณไดห้ รือนำมาประมวลผลได้ 8.เว็บไซตท์ ใี่ ช้สำหรับค้นหาข้อมลู เรยี กว่าอะไร ก. Search Everything ข. Search Event ค. Search Engine ง. Search Angle 9.การคน้ หาข้อมลู โดยใชค้ ียเ์ วิร์ด การค้นหาข้อมลู ตามหมวดหมู่ และการคน้ หาข้อมลู จากแหลง่ อา้ งอิง เป็นการคน้ หาขอ้ มลู โดยผ่านอะไร ก. อนิ เทอร์เน็ต ข. หนงั สอื ค. สารานุกรม ง. วารสาร 10.ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมลู ที่ได้มาจากอินเทอร์เน็ต ก. บอกวตั ถปุ ระสงค์ในการสรา้ งหรอื เผยแพร่ ข. มีช่องทางใหผ้ อู้ ่านสามารถแสดงความ ค. ไมส่ ามารถเชื่อมโยง (Link) ไปเว็บไซต์อ่นื ง. มีการระบุวันเวลาในการเผยแพรข่ ้อมูลบนเวบ็ ไซต์
11.ข้อมูล (Data) หมายถึงข้อใด ก. ข้อควรรเู้ ก่ยี วกับข้อมลู ต่าง ๆ ข. ขอ้ สรุปแห่งองค์ความรู้ ค. ข้อสันนิษฐานในการสบื คน้ ข้อมูล ง. ข้อเทจ็ จรงิ ท่เี ก่ียวข้องกบั ส่ิงต่าง ๆ ทเ่ี กิดข้นึ จากการสังเกต จดบนั ทึก หรอื การสมั ภาษณ์ 12.ข้อใดตอ่ ไปนีถ้ ือว่าเป็นข้อมูลอกั ขระ ก. จำนวนเงิน ข. ทะเบียนรถ ค. ราคาสินค้า ง. กลนิ่ ดอกไม้ 13.ข้อใดไม่ใชค่ ุณสมบัตขิ องข้อมลู สารสนเทศทด่ี ี ก. มีความน่าเชือ่ ถือ ข. มคี วามชัดเจน ค. มีความทันสมัย ง. มภี าษาท่ีไพเราะ 14.ขอ้ ใดเป็นประโยชนท์ ่ีได้จากขอ้ มูล ก. ทำใหเ้ ก่งขึ้น ข. ทำให้ทราบข้อมลู ทแ่ี ทจ้ ริง ค. ทำให้ตัดสินใจผิดพลาด ง. เกดิ ความสนกุ และผ่อนคลาย 15.จากภาพ เด็กผหู้ ญิงด้านซ้ายมือจะได้รบั ข้อมูลชนิดใด ก. ขอ้ มลู ภาพ ข. ขอ้ มูลตวั เลข ค. ขอ้ มูลเสยี ง ง. ข้อมูลตัวอกั ษร
16.ขอ้ ใดต่อไปน้ีคือลกั ษณะข้อมลู ทด่ี ี ก. ขอ้ มลู ท่ีทนั สมยั แต่ไมเ่ ป็นความจรงิ ข. ขอ้ มูลท่ีมคี วามถูกต้องเช่ือถือได้ ค. ข้อมูลทส่ี มบรู ณ์แต่ไม่มีแหล่งอา้ งองิ ง. ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ผูท้ ่รี ู้ไมจ่ ริง 17.การรวบรวมค่าแรงพนักงาน จัดอยูใ่ นการประมวลผลตามข้อใด ก. การคำนวณ ข. การหาคา่ ของผลงาน ค. การประมวลผล ง. การประเมนิ ผล 18.การสบื คน้ ข้อมูลผา่ นอนิ เทอร์เน็ตโดยใช้เวบ็ ไซต์ www.google.com สามารถคน้ หาไดห้ ลายวธิ ี ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. การคน้ หาข้อมลู โดยใช้คียเ์ วิร์ด ข. การคน้ หาข้อมลู ตามหมวดหมู่ ค.การค้นหาข้อมลู จากแหล่งอา้ งองิ ง. การคน้ หาข้อมลู จากสารบัญ 19.ขอ้ ใดคือการตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถือของแหลง่ ข้อมลู จากอินเทอรเ์ นต็ ก. ไมม่ ีการระบุช่ือผู้เขยี นบทความหรือผู้ใหข้ ้อมลู บนเวบ็ ไซต์ ข. มีการอา้ งองิ หรือระบแุ หลง่ ที่มาของข้อมลู ของเน้ือหาท่ีปรากฏบนเวบ็ ไซต์ ค. ไมส่ ามารถเชื่อมโยง (Link) ไปเว็บไซต์อ่นื ที่อา้ งถึงได้ ง. เน้อื หาบนเว็บไซต์ขัดต่อกฎหมาย ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม 20.ข้อใดคือข้อมูลตัวเลข ก. คะแนนสอบวิชาตา่ ง ๆ ข. ปา้ ยทะเบยี นรถ ค. เลขที่บัตรประชาชน ง. บ้านเลขที่
แบบประเมินความเหมาะสมสอดคล้องในองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของแอปพลิเคชนั เพ่อื การเรยี นรู้ เร่ือง ข้อมลู สารสนเทศ สำหรบั ผ้เู ช่ยี วชาญ คำช้แี จง : ใหท้ า่ นทำเครือ่ งหมาย ✓ ลงในช่องทีต่ รงกับระดบั ความคิดเห็นของทา่ นและเขยี นข้อเสนอแนะ เกณฑก์ ารประเมิน : 5 หมายถึง มคี วามสอดคลอ้ ง/เชอ่ื มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมากทสี่ ุด 4 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เช่อื มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมาก 3 หมายถึง มคี วามสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เช่ือมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อยทส่ี ดุ รายการประเมนิ ระดับความเหมาะสม 54321 1. ดา้ นเน้ือหา 1.1 เน้อื หาสอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.2 เน้อื หาถูกตอ้ ง ครบถ้วน สมบูรณ์ 1.3 เนอื้ หาเหมาะสมกบั บริบทของผเู้ รียน 1.4 ปรมิ าณเน้ือหามีความเหมาะสมกับผู้เรียน 1.5 มกี ารจดั ลำดับขั้นการนำเสนอเน้ือหา 1.6 การนำเสนอเน้อื หามีความชดั เจน 2. ดา้ นออกแบบ 2.1 ความสวยงามและน่าสนใจ 2.2 ความคิดสร้างสรรค์ 2.3 รปู แบบตวั อักษรมคี วามเหมาะสม 2.4 ภาพประกอบสอดคลอ้ งกับเน้ือหา 2.5 การเช่อื มโยงเน้ือหาในส่วนตา่ ง ๆ มีความสะดวก 3. ดา้ นการวดั และการประเมนิ ผล 3.1 แบบทดสอบสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.2 จำนวนแบบทดสอบมีความเหมาะสม 3.3 ความยากง่ายของแบบทดสอบ 3.4 คำถามของแบบทดสอบมีความชดั เจน 3.5 ระยะเวลาในการทำแบบทดสอบ ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงชอ่ื ....................................................................ผู้เชย่ี วชาญ () วนั ที.่ ......../........................../.....................
ผลการประเมินคุณภาพ ของแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 โดย ผ้เู ช่ียวชาญ ตารางที่ 3 แสดงผลการคุณภาพ ของแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 โดย ผูเ้ ช่ยี วชาญ รายการประเมนิ ขอ้ ท่ี ความคดิ เหน็ ของผู้เชย่ี วชาญ X̅ S.D. 12 3 รวม ด้านเนอ้ื หา 1 54 5 14 4.66 0.57 2 55 5 15 5 .00 3 55 5 15 5 .00 4 54 5 14 4.66 0.57 5 54 4 13 4.33 0.57 รวมดา้ นเน้อื หา 71 4.73 0.34 ด้านการออกแบบ 1 45 5 14 4.66 0.57735 2 54 3 12 4 1 3 55 4 14 4.66 0.57735 4 55 4 14 4.66 0.57735 5 55 5 15 5 0 รวมดา้ นดา้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ 69 4.59 0.54 ด้านการวัดและประเมนิ ผล 1 54 4 13 4.33 0.57735 2 44 4 12 4 0 3 54 4 13 4.33 0.57735 4 55 4 14 4.66 0.57735 5 55 5 15 5 0 ดา้ นการวัดและประเมินผล 67 4.46 0.34 รวมเฉล่ยี 4.59 0.40
ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันเพื่อ การเรยี นรู้ เรือ่ ง ขอ้ มูลสารสนเทศ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5/5 เทยี บกับหลังเรียน จำนวน 30 คน ตางรางที่ 4 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน ที่เรียนด้วยแอป พลเิ คชนั เพื่อการเรียนรู้ เรอื่ ง ขอ้ มูลสารสนเทศ ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/5 เทียบกับหลงั เรียน จำนวน 30 คน นักเรียนคนท่ี แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ผลตา่ งของ ผลตา่ งแตล่ ะตวั ก่อนเรยี น หลงั เรียน คะแนน ยกกำลงั สอง (20 คะแนน) (20 คะแนน) (D) (������2) 1 12 16 4 8 2 10 18 8 16 3 10 17 7 14 4 14 17 3 6 5 12 15 3 6 6 11 18 7 14 7 15 18 3 6 8 15 17 2 4 9 14 16 2 4 10 14 16 2 4 11 15 16 1 2 12 15 18 3 6 13 14 18 4 8 14 12 17 5 10 15 15 19 4 8 16 13 15 2 4 17 12 14 2 4 18 12 16 4 8 19 15 17 2 4 20 14 19 5 10 21 15 18 3 6 22 15 18 3 6
23 14 17 3 6 24 15 17 2 4 25 10 19 9 18 26 10 16 6 12 27 16 19 3 6 28 12 14 2 4 29 13 17 4 8 30 13 15 2 4 รวม 397 507 110 220 ���̅��� 13.23 16.9 3.66 7.33 S.D. 1.81 1.42 1.98 3.97 จากการท่ีผู้วิจัยได้วิเคราะหผ์ ลต่างของทักษะการแก้ปัญหาก่อนและหลังเรยี นด้วยแอปพลิเคชัน เพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 จะแสดงกระบวนการ คิดค่า t – test ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 โดยวิธีการทดสอบที่กลุม่ ตัวอยา่ งโดยใช้สถติ ิ t – test สตู ร t = ∑ ������ √������ ∑ ������2−(∑ ������)2 ������−1 แทนคา่ ∑ ������ = 110 ∑ ������2 = 220 ������ = 30 Df = ������-1 = 30-1 = 29 จากสตู ร t = ∑ ������ √������ ∑ ������2−(∑ ������)2 ������−1 t= 110 √30(220)−(110)2 30−1
t= 110 √6,600−2912,100 t= 110 √189.655172 t = 110 13.77 t = 7.98
รอ่ งรอยหลักฐานการประเมินสื่อแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ สำหรบั ผูเ้ ช่ยี วชาญ
รอ่ งรอยหลักฐานการประเมินส่อื แอปพลิเคชันเพื่อการเรยี นรู้ เร่อื ง ข้อมลู สารสนเทศ สำหรับผู้เชี่ยวชาญ (ต่อ)
ภาพตวั อย่างแอปพลเิ คชนั เพื่อการเรยี นรู้ เร่อื ง ข้อมูลสารสนเทศ สำหรบั ผู้เช่ยี วชาญ
ภาพประกอบกจิ กรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: